SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
ลงทุนรถไฟความเร็วสู ง: พลิกโฉมระบบขนส่ งไทย?
บทนํา
ร่ างพระราชบัญญัติกูเ้ งิ น 2 ล้านล้านบาท เพื่อลงทุ นในระบบโครงสร้ างพื้นฐานในการพัฒนาระบบ
คมนาคมขนส่งภายในประเทศถือเป็ นการลงทุ นครั้งใหญ่ ครั้ งหนึ่ งในประวัติศาสตร์ ไทย ทั้งนี้ โครงการขนาด
ใหญ่หรื อ mega projects ต่าง ๆ รวมการลงทุนในระบบรถไฟความเร็ วสูงไว้ดวย ซึ่ งทําให้นักวิชาการด้านการ
้
ขนส่งและโลจิสติกส์ออกมาตั้งคําถามใหญ่ ๆ กับโครงการดังกล่าวของรัฐบาลว่า: ประเทศไทยพร้ อมและควรมี
รถไฟความเร็วสู งแล้ วหรือ และโครงการที่ใช้ เงินมหาศาลดังกล่าวจะมีความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจเพียงใด
รายงานฉบับนี้จะนําเสนอประเด็นดังกล่าว โดยเริ่ มจากการทําความเข้าใจว่าระบบรถไฟความเร็ วสูงคือ
อะไร และโครงการก่อสร้างรถไฟความเร็ วสูงในประเทศไทยมีแผนการอย่างไร อะไรเป็ นเหตุจูงใจให้ไทยต้องมี
รถไฟความเร็ ว สู ง และสุ ด ท้าย ผลกระทบหลัก ด้านความคุ ้มค่ าทางเศรษฐกิ จและผลกระทบต่ องบประมาณ
แผ่นดินจะเป็ นอย่างไร
1. รถไฟความเร็วสู งคืออะไร
รถไฟความเร็ วสู ง ตามนิ ยามของ International Union of Railways หรื อ UIC หมายถึง ระบบรถไฟซึ่ งมีขบวน
รถไฟและโครงสร้ างพื้น ฐานที่ สามารถทําให้การเดิน รถในสภาวะปกติมีความเร็ ว สูงกว่า 250 กม./ชม. บน
เส้น ทางที่ก่อสร้ างใหม่ หรื อความเร็ ว ที่ มากกว่า 200 กม./ชม. เมื่อรถวิ่งบนเส้นทางที่ มีอยู่ในปั จจุ บน ทั้งนี้
ั
ประเทศแรกที่มีการพัฒนารถไฟความเร็ วสูงคือ ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเรี ยกรถไฟดังกล่าวว่า รถไฟหัวกระสุน (Bullet
Train-Shinkansen) ซึ่ งเปิ ดให้บริ การครั้ งแรกในเส้นทางกรุ งโตเกียว-นครโอซาก้า ใน ค.ศ. 1964 มีความเร็ ว
สูงสุ ดที่ 210 กม./ชม. จากนั้นฝรั่งเศสได้พฒนารถไฟความเร็ วสูงเรี ยกว่า TGV ใน ค.ศ. 1981 เป็ นครั้ งแรกใน
ั
ยุโรป ก่อนที่อีกหลายประเทศจะนํารถไฟความเร็ วสูงมาใช้ ได้แก่ อิตาลี เยอรมนี สเปน เบลเยียม อังกฤษ ทําให้
การเดินทางในยุโรปเชื่อมโยงถึงกันได้สะดวกรวดเร็ วยิงขึ้น
่

1
2. โครงการลงทุนในระบบรถไฟความเร็วสู งของไทย
สําหรับไทย โครงการรถไฟความเร็ วสู ง จะเป็ นการขยายโอกาสจากกรุ งเทพฯ ไปยังจังหวัดต่าง ๆ โดยแบ่ ง
ออกเป็ น 4 เส้นทาง คือ กรุ งเทพฯ-เชี ยงใหม่ , กรุ งเทพฯ-หนองคาย, กรุ งเทพฯ-ระยอง, กรุ งเทพฯ-หัวหิน ตาม
ภาพรวมใหญ่ แต่เมื่อสร้างจริ ง เส้นทาง กรุ งเทพฯ-หนองคายจะสร้างถึงแค่ นครราชสี มา ก่อน เพื่อให้เหมาะสม
กับงบประมาณ 7 แสนล้านบาท จากนั้นจึงค่อยขยายต่อไปถึงหนองคาย ซึ่งอาจใช้วิธีการหาผูร่วมทุน เพราะหาก
้
สร้างตามแผนทั้งหมดจะต้องใช้งบประมาณ 1.3 - 1.4 ล้านล้านบาท โดยแต่ละสายมีรายละเอียดและวงเงิน ดังนี้
• สายเหนือ: กทม.-พิษณุโลก-เชียงใหม่ (745 กม.) วงเงิน 387,821 ล้านบาท
• สายตะวันออกเฉียงเหนือ: กทม.-นครราชสี มา-หนองคาย (615 กม.) วงเงินเริ่ มต้น 140,855 ล้าน
บาท (ถึงแค่นครราชสีมา) แต่ ต่อมาได้มีการวางแผนขยายเส้นทางไปถึงหนองคายเพื่อให้เชื่ อมต่อ
กับลาว ทําให้งบประมาณเพิมขึ้นกว่า 100,000 ล้านบาท
่
• สายตะวันออก: กทม.-พัทยา-ระยอง (221 กม.) วงเงินเริ่ มต้น 100,631 ล้านบาท
• สายตะวันตก: กทม.-หัวหิ น-ปาดังเบซาร์ (225+757 กม.) วงเงินเริ่ มต้น 123,798 ล้านบาท (ถึงแค่หว
ั
หิ น)

2
2.1 รถไฟความเร็วสู งมีความจําเป็ นหรือไม่ ? หรือแค่ทําระบบรถไฟรางคู่กเ็ พียงพอแล้ว
ในประเด็นดังกล่าว รมว.กระทรวงคมนาคม นายชัชชาติ สิทธิพนธ์ กล่าวว่า
ั
"การสร้างรถไฟความเร็ วสูงนั้นไม่ได้มองแค่วนนี้ พรุ่ งนี้ แต่มองไปถึงอนาคต และที่ ตองมาสร้ างพร้อม
ั
้
กับรถไฟรางคู่ก็เพราะหากปล่อยเวลาให้ผานไป ต้นทุ นก็จะขึ้นไปอีก 2-3 เท่า รวมทั้งโอกาสที่เสี ยไป ก็ถือเป็ น
่
เรื่ องที่ตองมาถกเถียงกัน แต่ จากตัวเลขที่ ศึกษามา โดยมีจีน -ญี่ปุ่นมาช่ว ยศึกษา มัน ก็ไปได้ เพราะเราทําเพื่อ
้
อนาคต"
ทั้งนี้ ลักษณะของรถไฟความเร็ วสูงจะไม่สามารถจอดได้บ่อย เพราะจะเสียความเป็ นความเร็ วสูงไป แต่ก็จะสร้าง
ขนานไปกับรถไฟรางคู่ อย่างเช่นสายเชียงใหม่ก็มองไว้ว่าจะมี 10-12 สถานี ตามรายจังหวัด ซึ่ งรถไฟรางคู่ก็จะ
ขนผูโดยสารมาขึ้นรถไฟความเร็ วสู งได้ เพราะรถไฟรางคู่จะจอดถี่กว่า บางสถานี ของรถไฟความเร็ วสูงก็อาจ
้
ไม่ได้ลงหัวเมืองพอดี อาจไกลออกไปจากเมือง โดยที่ญี่ปุ่นก็มีความคิดลักษณะนี้ เพราะหากรอให้เมืองโตก่อน
เราไม่รู้ว่าเมื่อไรเมืองจะโต จึงต้องเอารถไฟความเร็ วสูงเป็ นตัวนํา แล้วไปสร้างเมือง เป็ นการกําหนดทิศทางของ
เมืองได้
ในขณะที่ นัก วิชาการเกี ยรติ คุณ ที ดีอาร์ ไอและอดี ตรั ฐมนตรี ว่าการกระทรวงการคลัง นายฉลองภพ สุ สังกร์
กาญจน์ วิเคราะห์ว่า บทเรี ยนจากการใช้เงิน 3 หมื่นกว่าล้าน สร้างแอร์พอร์ทลิ้งค์ ซึ่งทุกคนยอมรับว่าไม่คุม หาก
้
รัฐบาลคิดอยากจะสร้าง แต่ไม่ได้มองลึกลงไปว่าสร้างแล้วจะเกิดอะไรขึ้น จะเสี่ยงต่อการสูญเปล่าจากการลงทุน
ดังนั้นรัฐบาลต้องให้ความสําคัญกับการวางระบบ ไม่ใช่ลงทุนนําเข้าระบบรางเพียงอย่างเดียว การพัฒนาระบบ
ให้ได้มาตรฐานสากล เป็ นเรื่ องสําคัญ ขณะเดียวกัน การเชื่อมเพื่อใช้ตวเดียวของไทยยังทําไม่ได้ เพราะไม่มีการ
ั๋
วางระบบในภาพรวม ก่อนลงทุน ทําให้โครงการลงทุนถูกแยกเป็ นเอกเทศ การเจรจากับภาคเอกชนในภายหลัง
ทําได้ลาบาก ไม่ได้มีการคิดก่อนว่าจะแบ่งรายได้กนอย่างไร
ํ
ั
ทั้งนี้ สําหรับโครงการที่ ยงไม่มีศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ มี 9 โครงการซึ่ งมีมูลค่ ารวม 373,615 ล้าน
ั
บาท ได้แก่

3
1. โครงการรถไฟความเร็ วสูง สายกรุ งเทพฯ-ปาดังเบซาร์
2. โครงการรถไฟความเร็ วสูงเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Airport Rail Link) ต่ อจากสนามบิ นสุ วรรณ
ภูมิ-ชลบุรี-พัทยา-ระยอง
3. โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ สายปากนํ้าโพ-เด่นชัย
4. โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ สายชุมทางขอนแก่น-หนองคาย
5. โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ สายชุ่มทางถนนจิระ-อุบลราชธานี
6. โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ สายหัวหิน-ประจวบคีรีขนธ์
ั
7. โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ สายชุมพร-สุราษฎร์ธานี
8. โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ สายสุราษฎร์ธานี - ปาดังเบซาร์
9. โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ สายชุมทางบ้านภาชี-นครหลวง
ส่วนกลุ่มที่อยู่ระหว่างกําลังศึกษาความเป็ นไปได้ 2 โครงการ คือ โครงการรถไฟความเร็ วสูง สายกรุ งเทพฯเชียงใหม่ กับ โครงการรถไฟความเร็ วสู ง สายกรุ งเทพฯ-หนองคาย ซึ่ งมีมูลค่ ารวม 558,271 ล้านบาท ซึ่ งแสดง
ให้เห็นว่า โครงการรถไฟความเร็ วสูงต่าง ๆ ยังไม่มีความพร้อมและยังไม่มีความชัดเจนในเรื่ องความคุ มค่าทาง
้
เศรษฐกิจในอนาคตอย่างแท้จริ ง
3. เหตุจูงใจในการลงทุนในระบบรถไฟความเร็วสู งในประเทศไทย
3.1 การเข้ าร่ วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community 2015
นายฉลองภพ ได้กล่าวอีกว่า ข้อได้เปรี ยบของประเทศไทยด้านภูมิศาสตร์ ในฐานะศูนย์กลางของประเทศแถบลุ่ม
แม่น้ าโขง การเชื่อมระหว่างประเทศในกลุ่มนี้ จะช่ วยเสริ มความเป็ นศูนย์กลางทางเศรษฐกิ จของประเทศไทย
ํ
การเชื่อมต่อทางรถไฟจึงเป็ นแนวทางที่หลายประเทศเห็นตรงกัน เนื่องจากการขนส่งสิ นค้าทางรถไฟมีตนทุนที่
้
ถูกกว่าการขนส่ งทางถนน อีกทั้งไม่ก่อให้เกิดมลพิษเมื่อเทียบกับการขนส่งด้วยเส้นทางอื่น
ในอดีต มีการศึกษาการเชื่อมต่อทางรถไฟในประเทศภูมิภาค แต่การศึกษาส่ วนใหญ่ไม่เอื้อประโยชน์กบประเทศ
ั
ไทยในฐานะศูนย์กลางของระบบขนส่ ง

4
ประเทศจีนจะมีความต้องการเชื่อมต่อเส้นทางรถไฟจากจี นตอนใต้มายังประเทศอาเซียนทางใต้ หรื อ ไทย แต่
เส้นทางที่ได้ศึกษาไว้เกือบทั้งหมดจะต้องอ้อมไปทางประเทศเวียดนาม หรื อผ่านเข้าไปในประเทศลาว ซึ่ งยังไม่
มีระบบรถไฟรองรับ แม้จีนพร้อมลงทุนรถไฟจากคุนหมิงมายังเวียงจันทน์ เพื่อให้เป็ นเส้นทางขนส่งสิ นค้า แต่ที่
ผ่านมาการเจรจาระหว่างประเทศยังไม่สาเร็ จ
ํ
หากประเทศไทยต้องการเชื่อมต่อเส้นทางรถไฟกับเพื่อนบ้าน สิ่ งที่ต้องศึกษาคือ ผลประโยชน์ ที่จะเกิดขึ้นและ
การวางรู ปแบบในการเชื่อ มต่ อให้ มีความชั ดเจน เนื่อ งจากรัฐบาลต้ องการคือรถไฟความเร็วสู ง แต่ ขณะนี้มี
การศึกษาเรื่องนีน้อยมาก
้
3.2 การเชื่อมโยงระบบขนส่ งมวลชนและการพัฒนาในชนบท
ดังที่ทุกฝ่ ายเห็นตรงกันว่า ”การเชื่อมต่อทางรถไฟจึงเป็ นแนวทางที่หลายประเทศเห็นตรงกัน เนื่องจากการขนส่ง
สิ นค้าทางรถไฟมีต ้นทุ นที่ ถูกกว่าการขนส่ งทางถนน อีกทั้งไม่ก่อให้เกิ ดมลพิษเมื่อเที ย บกับการขนส่ งด้ว ย
เส้นทางอื่น” โครงการนี้ ไม่เพียงแต่พฒนาการคมนาคมขนส่ งให้มีประสิ ทธิภาพมากขึ้ น ลดอุบติเหตุ ลดปั ญหา
ั
ั
มลพิษ แต่ยงเสริ มสร้างการเชื่อมโยง ดังนี้
ั
• “ระบบขนส่งมวลชนทางราง” : ระบบรถไฟฟ้ าขนส่ งมวลชนในเขตกรุ งเทพและปริ มณฑล 10 สายทาง
• “Modal Shift” : เปลี่ยนการขนส่ งจากทางถนน สู่ระบบราง
• เชื่อมต่อประเทศเพื่อนบ้าน : ระเบียงเศรษฐกิจ (Economic Corridors)
• พัฒนาประตูการค้า: ท่าเรื อ & ท่าอากาศยาน
• พัฒนาโครงข่ายขนส่ งภายในประเทศ (ภูมิภาค) : รถไฟ ถนน มอเตอร์เวย์ ลํานํ้าและชายฝั่ง

5
ประเด็น สํ าคัญ คื อ ลําดับเริ่ มการพัฒนาแต่ ละโครงการย่อยเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภ าพหรื อไม่ หากแต่ ละ
โครงการมีกาหนดเวลาที่ ไม่สอดประสานกัน อาจจะไม่ทาให้เกิดการเชื่อมต่อที่แท้จริ ง ที่ร้ายกว่านั้นคือ หาก
ํ
ํ
สุดท้ายแล้วเศรษฐกิจ งบประมาณ หรื อผูดาเนิ นงานโครงการ ไม่เป็ นไปตามที่วางแผนไว้ เช่น ทํารางแล้ว แต่
้ ํ
ระบบท่าอากาศยานยังไม่ได้จดการรองรับ การเชื่อมต่อก็อาจจะไม่สมบูรณ์
ั
เพราะฉะนั้นสรุ ปได้ว่าปั จจัยที่ควรคํานึ ง ได้แก่
• การกําหนดสถานี หลักมีการกระจายตัวที่ดีพอหรื อไม่ และแต่ละสถานี ที่รถไฟความเร็ วสูงไปถึงนั้น มี
การจัดการระบบการเชื่อมต่อระดับท้องถิ่นที่ดีหรื อไม่ เพื่อให้เกิดความทัวถึงที่แท้จริ ง
่
• นอกจากโครงสร้างทางคมนาคมที่ทวถึงแล้ว ปัจจัยพื้นฐานต่อการพัฒนาศักยภาพเศรษฐกิจในชุมชนมี
่ั
มากน้อยเพียงใด มีการส่ งเสริ มแรงงาน การศึกษา สาธารณสุข ที่ดีหรื อไม่ มิฉะนั้นแทนที่ความเจริ ญจะ
ขยายจากเมืองมาชนบท(dispersion) จะกลายเป็ นว่ารถไฟนําพาแรงงานให้ยายถิ่นสู่เมืองมากขึ้น และทํา
้
ให้เมืองยิงหนาแน่น(agglomeration)
่

6
3.3 ผลประโยชน์ ต่อเศรษฐกิจทางอ้อม
• ฝ่ ายสนับสนุ น กล่าวว่า รถไฟความเร็ ว สู งจะทําหน้าที่ ส่งเสริ มการท่ องเที่ ยว และการขยายตัว ของ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดต่าง ๆ รวมทั้งประโยชน์อื่น ๆ เช่นการกระจายสินค้าของบริ ษทไปรษณี ย ์
ั
ไทย
• อย่างไรก็ตาม การวิเคราะห์ถึงผลประโยชน์ร่วมที่รวมผลทางอ้อมที่เกิดกับภาคเศรษฐกิ จอื่นนั้น ควรทํา
กับการลงทุนในทุกกรณี เพราะผลทางอ้อมมิได้เกิดขึ้ นกับรถไฟความเร็ วสูงเพียงเท่านั้น ตัวอย่างเช่น
หากใช้เงินจํานวนเดียวกันไปลงทุนในระบบรถไฟทางคู่ ต้นทุ นการขนส่ งสิ นค้าที่ ลดลงย่อมก่ อให้เกิด
ประโยชน์ในวงกว้างต่อภาคธุ รกิ จ อื่นเช่ นกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อภาคการส่ งออกซึ่ งเป็ นเครื่ องจักร
สําคัญของเศรษฐกิจไทยมาตลอด และเกี่ยวโยงกับหลายภาคการผลิตมากกว่าการท่องเที่ยว ประโยชน์
ทางอ้อมจึงน่ าจะสูงกว่ารถไฟความเร็ วสูงด้วยซํ้าไป
4. ข้ อกังวลต่อโครงการรถไฟความเร็วสู ง
4.1 กู้นอกระบบงบประมาณ ซึ่งเป็ นการให้อานาจตัดสิ นใจกับฝ่ ายบริ หาร ฝ่ ายนิ ติบญญัติมีโอกาสให้ความ
ํ
ั
เห็นชอบตาม พ.ร.บ. เพียงครั้งเดียว ปกติ รัฐสภามีสิทธิ์กลันกรองทุกปี จุดอ่อนนี้ชี้ให้ เห็นว่ า พ.ร.บ. ไม่
่
เป็ นประชาธิปไตยร้ อยเปอร์ เซ็นต์
ดร.สมชัย จิตสุ ชน ผูอานวยการวิจยของทีดีอาร์ไอ ระบุว่า พ.ร.บ.กูเ้ งิน 2 ล้านล้านบาท มีลกษณะเป็ นการ “กู้
้ํ
ั
ั
นอกระบบงบประมาณ” แต่ให้อานาจรั ฐสภาในการการกลันกรองและให้ความเห็นชอบ ไม่เหมือนเงินกู้
ํ
่
อื่น ๆ ที่ ไม่ผ่านการพิจ ารณาของสภาฯ เช่ น โครงการจํานําข้าวที่ กู้ยืมมาดําเนิ น การ เป็ นต้น และยังมี
รายละเอียดบัญชีแนบท้าย พ.ร.บ. 2-3 หน้า ซึ่ งมีสภาพบังคับได้ตามกฎหมายและให้อานาจรัฐสภาแก้ไข
ํ
ปรับปรุ งได้ แนวทางดังกล่าวนั้น ถือเป็ นการแสดงความจริ งใจระดับหนึ่ งของรั ฐบาล ว่าจะใช้เงินกูน้ ี อย่าง
้
ระมัดระวัง แต่ การให้อานาจฝ่ ายบริ หารในการกําหนดรายละเอียดเป็ นเวลาถึง 7 ปี หมายความว่า จะ
ํ
ครอบคลุมเลยถึงอายุรัฐสภาชุดนี้ หรื อข้ามช่วงอายุปกติของรัฐสภา ดังนั้น เมื่อมีรัฐสภาชุดใหม่เข้ามา แต่จะ
ไม่มีสิทธิมีเสียงใน พ.ร.บ. นี้เลย “การออกแบบแบบนี้ ถือว่าเป็ นการก้าวล่วงอํานาจของสภาชุดต่อไปในการ
กลันกรองและให้ความเห็นชอบ เนื่ องจากสภาที่ได้รับเลือกเข้ามาใหม่ซ่ึงเป็ นตัวแทนของประชาชนในพื้นที่
่
7
จะไม่มีสิทธิ์มีเสี ยงเลยในการพิจารณาทบทวนโครงการภายใต้ พ.ร.บ. นี้ อันนี้ คือสิ่ งที่ เรามองว่ายังไม่เป็ น
ประชาธิปไตยร้อยเปอร์เซ็นต์จากการ ถ่วงดุลอํานาจฝ่ ายนิติกบฝ่ ายบริ หารที่ไม่มีดุลยภาพ” ดร.สมชัยกล่าว
ั
• โครงการไม่ผานการศึกษาความเป็ นไปได้โดยเฉพาะรถไฟความเร็ วสูง เมื่อเทียบกับการลงทุนรถไฟราง
่
คู่ ที่ช่วยลดต้นทุนโลจิสติกส์ และสร้างความสามารถในการแข่งขันดีกว่า
• ผลกระทบต่อรายจ่ายภาครัฐในอนาคตในเรื่ องที่สาคัญอื่น ด้านสังคม การพัฒนาคน และนวัตกรรม อาจ
ํ
กระทบต่อ คุณภาพ กําลังคนและแรงงาน ความเหลื่อมลํ้า
o TDRI ห่ วงรถไฟความเร็ วสูงทําหนี้ สาธารณะพุ่งเกิน 100%
o TDRI ห่วงเงินกู้ 2 ล้านล้าน เสี่ยงกระทบการคลังสูง
4.2 การลงทุน VS การบริการทางสั งคม
ดร.สมชัยยํ้าว่า เรื่องการลงทุ นรถไฟความเร็วสู ง ต้ องการให้ ระบุชัดเจนว่ าไม่ เป็ นการบริการทางสั งคม เพราะ
ผูใช้บริ การไม่ใช่ผมีรายได้น้อย จึ งไม่ควรใช้เงิ นของรั ฐมาอุดหนุ นจนทําให้ขาดทุ นต่ อเนื่ องยาวนาน สาเหตุที่
้
ู้
เป็ นกังวลเรื่ องนี้ เพราะว่า ในคณะกรรมาธิการฯ ที่แปรญัตติพดกันว่ารถไฟความเร็ วสูงขาดทุนก็ไม่เป็ นไร แต่ถา
ู
้
ขาดทุนจะดูแลอย่างไร ก็พูดกันอีกว่าให้ผ่านไปก่อนแล้วค่อยออกแบบที่หลัง เพราะฉะนั้น การศึกษาความ
เป็ นไปได้ของโครงการมีความสําคัญมากต่ อโครงการลงทุ น 2 ล้านล้านบาท เพราะจะตอบคําถามเรื่ องความ
คุมค่าหรื อไม่คุมค่าที่หลายฝ่ ายมีความเป็ นห่ วง ดังนั้น ดร.สมชัยจึงเสนอว่า โครงการลงทุนทุกโครงการต้องผ่าน
้
้
การศึกษาความเป็ นไปได้โดยหน่ วยงานที่เป็ นกลางและมีผตรวจสอบอิสระตรวจสอบผลการศึกษาอีกขั้นหนึ่ ง
ู้
โดยการศึกษาความเป็ นได้ตองเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที่รัดกุมขึ้ นทั้งในส่ วนของ การลงทุ นโครงสร้ างพื้นฐาน
้
และการให้บริ การ เช่น ราคา ความถี่ของการให้บริ การ รวมถึงรายละเอียดตัวแปรที่เกี่ยวข้องอื่น เช่น อัตราคิดลด
(discount rate) เป็ นต้น

8
จากการศึกษาความคุมค่าของการสร้างเส้นทางรถไฟความเร็ วสูง คือ สายกรุ งเทพ-เชียงใหม่ ความเร็ ว 200 กม./
้
ชม. ใช้เวลา 3 ชัวโมง ภายใน 5 ปี ต้องมีคนใช้เส้นทางนี้เฉลี่ยวันละ 2 หมื่นคนถึงจะคุ มค่ า แต่จะต้องวิ่งถี่พอ ไม่
้
่
ต้องรอนาน หรื ออย่างน้อยชัวโมงละ 2 ขบวน ความได้เปรี ยบจะเพิ่มมากขึ้น
่
สําหรับรถไฟความเร็ วสูง สายกรุงเทพฯ-หนองคายซึ่ ง วิงผ่านแค่ 7 จังหวัดภาคอีสานนั้น รัฐบาลประมาณว่าจะมี
่
ผูโดยสารถึง 41,000 คนต่อวัน ในขณะที่มลนิ ธิสถาบันอนาคตไทยศึกษา(TFF) ไปค้นตัวเลขมาเทียบให้เห็นเลย
้
ู
ว่า ทุ กวันนี้ จํานวนผูโ ดยสารสู งสุ ด ที่ โ ดยสารเครื่ องบิ นไป 8 จังหวัด ภาคอีสานยังมีอยู่แค่ 4,957 คนต่ อวัน
้
แม้กระทังผูใช้บริ การสถานี ขนส่ งหมอชิตที่เดินทางไปถึง 20 จังหวัดภาคอีสานเอง (ไม่ใช่แค่ 7 จังหวัด) ทุกวันนี้
่ ้
ก็ยงมีผโดยสารแค่ 49,500 คน เท่านั้น อย่าว่าแต่ ต่อให้มีผโดยสารมากเท่าที่รัฐบาลประมาณจริ ง ก็แปลว่ารถไฟ
ั ู้
ู้
จะต้องวิ่งถึงวันละ 41 เที่ยว หรื อแทบทุกครึ่ งชัวโมง พูดง่ายๆ ก็คือ จะต้องมีรถไฟวิ่งไปหนองคายถี่พอๆ กับรถตู้
่
ไปธรรมศาสตร์รังสิต
ข้อกังวลส่ ว นใหญ่ต กอยู่ที่ร ถไฟความเร็ วสู ง เนื่ องจากโครงการลงทุ น ดังกล่าวโดยเฉพาะในส่ ว นของรถไฟ
ความเร็ วสูง ยังไม่ตอบโจทย์ในด้านการลดต้นทุนการขนส่งหรื อความคุมค่าทางเศรษฐกิจ-การ เงินเท่าที่ควร ทาง
้
ทีดีอาร์ไอได้เสนอแนะแนวทางป้ องกันปั ญหาคอรัปชัน 3 ข้อ คือ
่
 ควรมีการศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ (Feasibility Study) อย่างมีคุณภาพและน่าเชื่อถือ
 ควรมีการสร้างธรรมาภิบาลในโครงการลงทุน สร้างการมีส่วนร่ วมของประชาชน สร้ างความโปร่ งใส
ในการลงทุนผ่านการเปิ ดเผยข้อมูลทั้งในการจัดจ้างโดยภาครัฐ และการร่ วมทุนกับภาคเอกชน และ
 ควรมีการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เพื่อเพิ่มความรั ดกุมในการลงทุ นมากขึ้ น
ขณะเดียวกันเห็น ว่าทุก ฝ่ ายจะต้องมีส่ว นร่ วมอย่างแข็งขันในการต่อต้าน คอร์ รัปชัน ทั้งภาคธุร กิ จ
่
สื่อมวลชน นักวิชาการและภาคประชาสังคม เพื่อช่วยป้ องกันปัญหาคอร์รัปชันตั้งแต่เริ่ มต้นโครงการ
่

9
ประเด็นถกเถียงในรายการ:
1. ในการดําเนิ น นโยบายสาธารณะ รั ฐจําเป็ นต้องคํานึ งถึง 2 เป้ าหมายหลัก คื อ 1) ผลประโยชน์แ ก่
สาธารณะ และ 2) ความคุมค่าทางเศรษฐกิจ โครงการรถไฟความเร็ วสูงดังกล่าวสามารถบรรลุเป้ าหมาย
้
หลักทั้งสองหรื อไม่ อย่างไร
2. การบริ หารจัดการโครงการขนาดใหญ่หรื อ Mega projects มักเกิ ดปั ญหาคอร์ รัปชันและปั ญหาด้าน
่
ประสิ ทธิภาพ รัฐบาลควรมีมาตรการและแนวทางในการป้ องกันข้อกังวลดังกล่าวอย่างไร
3. จากการศึก ษาของนัก วิชาการ เห็ น ว่า ควรลงทุ น ในรถไฟรางคู่ก่ อน เนื่ องจากมีผลประโยชน์ทาง
เศรษฐกิ จ ที่ เห็ น ได้ชัด เจน ตรงจุ ดนี้ รั ฐบาลจะสร้างความเชื่ อมัน ได้อย่างไรว่า การลงทุ น ในรถไฟ
่
ความเร็ ว สู งจะนํามาซึ่ งผลประโยชน์ต่าง ๆ เนื่ องจากโครงการส่ วนใหญ่ย งไม่ได้รับการศึกษาความ
ั
เป็ นไปได้
4. รัฐบาลควรอธิบายและให้เหตุผลต่อประชาชนอย่างไรในการกูเ้ งินนอกงบประมาณและเรื่ องการศึกษา
ความเป็ นไปได้ของโครงการขนาดใหญ่ในร่ าง พ.ร.บ. ดังกล่าว
5. ท่านคิดว่ารัฐบาลในปัจจุบนควรมีสิทธิในการ ‘สร้างหนี้’ ที่คิดว่าเป็ นการลงทุนพัฒนาประเทศในระยะ
ั
ยาวให้กบรัฐบาลและลูกหลานในอนาคตหรื อไม่ ไทยเราควรมีหน่วยงานหรื อระบบอะไรในการควบคุม
ั
กระบวนการกูและลงทุนในระยะยาวหรื อไม่ อย่างไร
้
6. ท่านคิ ด ว่าผลตอบแทนที่ จ ะได้จากลงทุ น ครั้งนี้ จะ ‘คุมทุ น’ หรื อไม่ เงิ นกู้และดอกเบี้ยมีมูลค่ ารวม
้
เท่าไหร่ และต้องใช้ระยะเวลานานเพียงใดที่จะต้องจ่ายคืน

10

More Related Content

Viewers also liked (9)

Hoja de vida
Hoja de vidaHoja de vida
Hoja de vida
 
Giveyourmessgae1204
Giveyourmessgae1204Giveyourmessgae1204
Giveyourmessgae1204
 
Hoja de vid1
Hoja de vid1Hoja de vid1
Hoja de vid1
 
Curriculum Vitae resumen
Curriculum Vitae resumenCurriculum Vitae resumen
Curriculum Vitae resumen
 
Hoja de vida unach marcia aldaz
Hoja de vida unach marcia aldazHoja de vida unach marcia aldaz
Hoja de vida unach marcia aldaz
 
a curriculum vitae Dr. Antonio Vásquez Hidalgo
a curriculum vitae Dr. Antonio Vásquez Hidalgoa curriculum vitae Dr. Antonio Vásquez Hidalgo
a curriculum vitae Dr. Antonio Vásquez Hidalgo
 
Curriculum Vitae
Curriculum VitaeCurriculum Vitae
Curriculum Vitae
 
Curriculum vitae.doc
Curriculum vitae.docCurriculum vitae.doc
Curriculum vitae.doc
 
Curriculum vitae 2013 personal
Curriculum vitae 2013 personalCurriculum vitae 2013 personal
Curriculum vitae 2013 personal
 

Similar to High speed-train Final concept

Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 18
Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 18Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 18
Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 18National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
รถไฟทางคู่ขนาดทางมาตรฐาน (Standard Gauge) ช่วงโคราช-หนองคาย
รถไฟทางคู่ขนาดทางมาตรฐาน (Standard Gauge) ช่วงโคราช-หนองคายรถไฟทางคู่ขนาดทางมาตรฐาน (Standard Gauge) ช่วงโคราช-หนองคาย
รถไฟทางคู่ขนาดทางมาตรฐาน (Standard Gauge) ช่วงโคราช-หนองคายluipmuk
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBts bus
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBts busตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBts bus
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBts busNattakorn Sunkdon
 
"Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่ประจำสถานี บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (ม...
"Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่ประจำสถานี บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (ม..."Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่ประจำสถานี บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (ม...
"Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่ประจำสถานี บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (ม...noodeejideenoodeejid
 
อัตราค่าโดยสารที่ต่ำสุดเมื่อเดินทางจากต้นทางไปยังจุดหมายปลายทางด้วยรถไฟฟ้าบีท...
อัตราค่าโดยสารที่ต่ำสุดเมื่อเดินทางจากต้นทางไปยังจุดหมายปลายทางด้วยรถไฟฟ้าบีท...อัตราค่าโดยสารที่ต่ำสุดเมื่อเดินทางจากต้นทางไปยังจุดหมายปลายทางด้วยรถไฟฟ้าบีท...
อัตราค่าโดยสารที่ต่ำสุดเมื่อเดินทางจากต้นทางไปยังจุดหมายปลายทางด้วยรถไฟฟ้าบีท...Pream Kung
 

Similar to High speed-train Final concept (7)

Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 18
Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 18Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 18
Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 18
 
รถไฟทางคู่ขนาดทางมาตรฐาน (Standard Gauge) ช่วงโคราช-หนองคาย
รถไฟทางคู่ขนาดทางมาตรฐาน (Standard Gauge) ช่วงโคราช-หนองคายรถไฟทางคู่ขนาดทางมาตรฐาน (Standard Gauge) ช่วงโคราช-หนองคาย
รถไฟทางคู่ขนาดทางมาตรฐาน (Standard Gauge) ช่วงโคราช-หนองคาย
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBts bus
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBts busตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBts bus
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBts bus
 
868 file1
868 file1868 file1
868 file1
 
"Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่ประจำสถานี บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (ม...
"Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่ประจำสถานี บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (ม..."Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่ประจำสถานี บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (ม...
"Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่ประจำสถานี บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (ม...
 
อัตราค่าโดยสารที่ต่ำสุดเมื่อเดินทางจากต้นทางไปยังจุดหมายปลายทางด้วยรถไฟฟ้าบีท...
อัตราค่าโดยสารที่ต่ำสุดเมื่อเดินทางจากต้นทางไปยังจุดหมายปลายทางด้วยรถไฟฟ้าบีท...อัตราค่าโดยสารที่ต่ำสุดเมื่อเดินทางจากต้นทางไปยังจุดหมายปลายทางด้วยรถไฟฟ้าบีท...
อัตราค่าโดยสารที่ต่ำสุดเมื่อเดินทางจากต้นทางไปยังจุดหมายปลายทางด้วยรถไฟฟ้าบีท...
 
Thailand's Eastern Economic Corridor (ECC)
Thailand's Eastern Economic Corridor (ECC)Thailand's Eastern Economic Corridor (ECC)
Thailand's Eastern Economic Corridor (ECC)
 

High speed-train Final concept

  • 1. ลงทุนรถไฟความเร็วสู ง: พลิกโฉมระบบขนส่ งไทย? บทนํา ร่ างพระราชบัญญัติกูเ้ งิ น 2 ล้านล้านบาท เพื่อลงทุ นในระบบโครงสร้ างพื้นฐานในการพัฒนาระบบ คมนาคมขนส่งภายในประเทศถือเป็ นการลงทุ นครั้งใหญ่ ครั้ งหนึ่ งในประวัติศาสตร์ ไทย ทั้งนี้ โครงการขนาด ใหญ่หรื อ mega projects ต่าง ๆ รวมการลงทุนในระบบรถไฟความเร็ วสูงไว้ดวย ซึ่ งทําให้นักวิชาการด้านการ ้ ขนส่งและโลจิสติกส์ออกมาตั้งคําถามใหญ่ ๆ กับโครงการดังกล่าวของรัฐบาลว่า: ประเทศไทยพร้ อมและควรมี รถไฟความเร็วสู งแล้ วหรือ และโครงการที่ใช้ เงินมหาศาลดังกล่าวจะมีความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจเพียงใด รายงานฉบับนี้จะนําเสนอประเด็นดังกล่าว โดยเริ่ มจากการทําความเข้าใจว่าระบบรถไฟความเร็ วสูงคือ อะไร และโครงการก่อสร้างรถไฟความเร็ วสูงในประเทศไทยมีแผนการอย่างไร อะไรเป็ นเหตุจูงใจให้ไทยต้องมี รถไฟความเร็ ว สู ง และสุ ด ท้าย ผลกระทบหลัก ด้านความคุ ้มค่ าทางเศรษฐกิ จและผลกระทบต่ องบประมาณ แผ่นดินจะเป็ นอย่างไร 1. รถไฟความเร็วสู งคืออะไร รถไฟความเร็ วสู ง ตามนิ ยามของ International Union of Railways หรื อ UIC หมายถึง ระบบรถไฟซึ่ งมีขบวน รถไฟและโครงสร้ างพื้น ฐานที่ สามารถทําให้การเดิน รถในสภาวะปกติมีความเร็ ว สูงกว่า 250 กม./ชม. บน เส้น ทางที่ก่อสร้ างใหม่ หรื อความเร็ ว ที่ มากกว่า 200 กม./ชม. เมื่อรถวิ่งบนเส้นทางที่ มีอยู่ในปั จจุ บน ทั้งนี้ ั ประเทศแรกที่มีการพัฒนารถไฟความเร็ วสูงคือ ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเรี ยกรถไฟดังกล่าวว่า รถไฟหัวกระสุน (Bullet Train-Shinkansen) ซึ่ งเปิ ดให้บริ การครั้ งแรกในเส้นทางกรุ งโตเกียว-นครโอซาก้า ใน ค.ศ. 1964 มีความเร็ ว สูงสุ ดที่ 210 กม./ชม. จากนั้นฝรั่งเศสได้พฒนารถไฟความเร็ วสูงเรี ยกว่า TGV ใน ค.ศ. 1981 เป็ นครั้ งแรกใน ั ยุโรป ก่อนที่อีกหลายประเทศจะนํารถไฟความเร็ วสูงมาใช้ ได้แก่ อิตาลี เยอรมนี สเปน เบลเยียม อังกฤษ ทําให้ การเดินทางในยุโรปเชื่อมโยงถึงกันได้สะดวกรวดเร็ วยิงขึ้น ่ 1
  • 2. 2. โครงการลงทุนในระบบรถไฟความเร็วสู งของไทย สําหรับไทย โครงการรถไฟความเร็ วสู ง จะเป็ นการขยายโอกาสจากกรุ งเทพฯ ไปยังจังหวัดต่าง ๆ โดยแบ่ ง ออกเป็ น 4 เส้นทาง คือ กรุ งเทพฯ-เชี ยงใหม่ , กรุ งเทพฯ-หนองคาย, กรุ งเทพฯ-ระยอง, กรุ งเทพฯ-หัวหิน ตาม ภาพรวมใหญ่ แต่เมื่อสร้างจริ ง เส้นทาง กรุ งเทพฯ-หนองคายจะสร้างถึงแค่ นครราชสี มา ก่อน เพื่อให้เหมาะสม กับงบประมาณ 7 แสนล้านบาท จากนั้นจึงค่อยขยายต่อไปถึงหนองคาย ซึ่งอาจใช้วิธีการหาผูร่วมทุน เพราะหาก ้ สร้างตามแผนทั้งหมดจะต้องใช้งบประมาณ 1.3 - 1.4 ล้านล้านบาท โดยแต่ละสายมีรายละเอียดและวงเงิน ดังนี้ • สายเหนือ: กทม.-พิษณุโลก-เชียงใหม่ (745 กม.) วงเงิน 387,821 ล้านบาท • สายตะวันออกเฉียงเหนือ: กทม.-นครราชสี มา-หนองคาย (615 กม.) วงเงินเริ่ มต้น 140,855 ล้าน บาท (ถึงแค่นครราชสีมา) แต่ ต่อมาได้มีการวางแผนขยายเส้นทางไปถึงหนองคายเพื่อให้เชื่ อมต่อ กับลาว ทําให้งบประมาณเพิมขึ้นกว่า 100,000 ล้านบาท ่ • สายตะวันออก: กทม.-พัทยา-ระยอง (221 กม.) วงเงินเริ่ มต้น 100,631 ล้านบาท • สายตะวันตก: กทม.-หัวหิ น-ปาดังเบซาร์ (225+757 กม.) วงเงินเริ่ มต้น 123,798 ล้านบาท (ถึงแค่หว ั หิ น) 2
  • 3. 2.1 รถไฟความเร็วสู งมีความจําเป็ นหรือไม่ ? หรือแค่ทําระบบรถไฟรางคู่กเ็ พียงพอแล้ว ในประเด็นดังกล่าว รมว.กระทรวงคมนาคม นายชัชชาติ สิทธิพนธ์ กล่าวว่า ั "การสร้างรถไฟความเร็ วสูงนั้นไม่ได้มองแค่วนนี้ พรุ่ งนี้ แต่มองไปถึงอนาคต และที่ ตองมาสร้ างพร้อม ั ้ กับรถไฟรางคู่ก็เพราะหากปล่อยเวลาให้ผานไป ต้นทุ นก็จะขึ้นไปอีก 2-3 เท่า รวมทั้งโอกาสที่เสี ยไป ก็ถือเป็ น ่ เรื่ องที่ตองมาถกเถียงกัน แต่ จากตัวเลขที่ ศึกษามา โดยมีจีน -ญี่ปุ่นมาช่ว ยศึกษา มัน ก็ไปได้ เพราะเราทําเพื่อ ้ อนาคต" ทั้งนี้ ลักษณะของรถไฟความเร็ วสูงจะไม่สามารถจอดได้บ่อย เพราะจะเสียความเป็ นความเร็ วสูงไป แต่ก็จะสร้าง ขนานไปกับรถไฟรางคู่ อย่างเช่นสายเชียงใหม่ก็มองไว้ว่าจะมี 10-12 สถานี ตามรายจังหวัด ซึ่ งรถไฟรางคู่ก็จะ ขนผูโดยสารมาขึ้นรถไฟความเร็ วสู งได้ เพราะรถไฟรางคู่จะจอดถี่กว่า บางสถานี ของรถไฟความเร็ วสูงก็อาจ ้ ไม่ได้ลงหัวเมืองพอดี อาจไกลออกไปจากเมือง โดยที่ญี่ปุ่นก็มีความคิดลักษณะนี้ เพราะหากรอให้เมืองโตก่อน เราไม่รู้ว่าเมื่อไรเมืองจะโต จึงต้องเอารถไฟความเร็ วสูงเป็ นตัวนํา แล้วไปสร้างเมือง เป็ นการกําหนดทิศทางของ เมืองได้ ในขณะที่ นัก วิชาการเกี ยรติ คุณ ที ดีอาร์ ไอและอดี ตรั ฐมนตรี ว่าการกระทรวงการคลัง นายฉลองภพ สุ สังกร์ กาญจน์ วิเคราะห์ว่า บทเรี ยนจากการใช้เงิน 3 หมื่นกว่าล้าน สร้างแอร์พอร์ทลิ้งค์ ซึ่งทุกคนยอมรับว่าไม่คุม หาก ้ รัฐบาลคิดอยากจะสร้าง แต่ไม่ได้มองลึกลงไปว่าสร้างแล้วจะเกิดอะไรขึ้น จะเสี่ยงต่อการสูญเปล่าจากการลงทุน ดังนั้นรัฐบาลต้องให้ความสําคัญกับการวางระบบ ไม่ใช่ลงทุนนําเข้าระบบรางเพียงอย่างเดียว การพัฒนาระบบ ให้ได้มาตรฐานสากล เป็ นเรื่ องสําคัญ ขณะเดียวกัน การเชื่อมเพื่อใช้ตวเดียวของไทยยังทําไม่ได้ เพราะไม่มีการ ั๋ วางระบบในภาพรวม ก่อนลงทุน ทําให้โครงการลงทุนถูกแยกเป็ นเอกเทศ การเจรจากับภาคเอกชนในภายหลัง ทําได้ลาบาก ไม่ได้มีการคิดก่อนว่าจะแบ่งรายได้กนอย่างไร ํ ั ทั้งนี้ สําหรับโครงการที่ ยงไม่มีศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ มี 9 โครงการซึ่ งมีมูลค่ ารวม 373,615 ล้าน ั บาท ได้แก่ 3
  • 4. 1. โครงการรถไฟความเร็ วสูง สายกรุ งเทพฯ-ปาดังเบซาร์ 2. โครงการรถไฟความเร็ วสูงเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Airport Rail Link) ต่ อจากสนามบิ นสุ วรรณ ภูมิ-ชลบุรี-พัทยา-ระยอง 3. โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ สายปากนํ้าโพ-เด่นชัย 4. โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ สายชุมทางขอนแก่น-หนองคาย 5. โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ สายชุ่มทางถนนจิระ-อุบลราชธานี 6. โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ สายหัวหิน-ประจวบคีรีขนธ์ ั 7. โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ สายชุมพร-สุราษฎร์ธานี 8. โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ สายสุราษฎร์ธานี - ปาดังเบซาร์ 9. โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ สายชุมทางบ้านภาชี-นครหลวง ส่วนกลุ่มที่อยู่ระหว่างกําลังศึกษาความเป็ นไปได้ 2 โครงการ คือ โครงการรถไฟความเร็ วสูง สายกรุ งเทพฯเชียงใหม่ กับ โครงการรถไฟความเร็ วสู ง สายกรุ งเทพฯ-หนองคาย ซึ่ งมีมูลค่ ารวม 558,271 ล้านบาท ซึ่ งแสดง ให้เห็นว่า โครงการรถไฟความเร็ วสูงต่าง ๆ ยังไม่มีความพร้อมและยังไม่มีความชัดเจนในเรื่ องความคุ มค่าทาง ้ เศรษฐกิจในอนาคตอย่างแท้จริ ง 3. เหตุจูงใจในการลงทุนในระบบรถไฟความเร็วสู งในประเทศไทย 3.1 การเข้ าร่ วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community 2015 นายฉลองภพ ได้กล่าวอีกว่า ข้อได้เปรี ยบของประเทศไทยด้านภูมิศาสตร์ ในฐานะศูนย์กลางของประเทศแถบลุ่ม แม่น้ าโขง การเชื่อมระหว่างประเทศในกลุ่มนี้ จะช่ วยเสริ มความเป็ นศูนย์กลางทางเศรษฐกิ จของประเทศไทย ํ การเชื่อมต่อทางรถไฟจึงเป็ นแนวทางที่หลายประเทศเห็นตรงกัน เนื่องจากการขนส่งสิ นค้าทางรถไฟมีตนทุนที่ ้ ถูกกว่าการขนส่ งทางถนน อีกทั้งไม่ก่อให้เกิดมลพิษเมื่อเทียบกับการขนส่งด้วยเส้นทางอื่น ในอดีต มีการศึกษาการเชื่อมต่อทางรถไฟในประเทศภูมิภาค แต่การศึกษาส่ วนใหญ่ไม่เอื้อประโยชน์กบประเทศ ั ไทยในฐานะศูนย์กลางของระบบขนส่ ง 4
  • 5. ประเทศจีนจะมีความต้องการเชื่อมต่อเส้นทางรถไฟจากจี นตอนใต้มายังประเทศอาเซียนทางใต้ หรื อ ไทย แต่ เส้นทางที่ได้ศึกษาไว้เกือบทั้งหมดจะต้องอ้อมไปทางประเทศเวียดนาม หรื อผ่านเข้าไปในประเทศลาว ซึ่ งยังไม่ มีระบบรถไฟรองรับ แม้จีนพร้อมลงทุนรถไฟจากคุนหมิงมายังเวียงจันทน์ เพื่อให้เป็ นเส้นทางขนส่งสิ นค้า แต่ที่ ผ่านมาการเจรจาระหว่างประเทศยังไม่สาเร็ จ ํ หากประเทศไทยต้องการเชื่อมต่อเส้นทางรถไฟกับเพื่อนบ้าน สิ่ งที่ต้องศึกษาคือ ผลประโยชน์ ที่จะเกิดขึ้นและ การวางรู ปแบบในการเชื่อ มต่ อให้ มีความชั ดเจน เนื่อ งจากรัฐบาลต้ องการคือรถไฟความเร็วสู ง แต่ ขณะนี้มี การศึกษาเรื่องนีน้อยมาก ้ 3.2 การเชื่อมโยงระบบขนส่ งมวลชนและการพัฒนาในชนบท ดังที่ทุกฝ่ ายเห็นตรงกันว่า ”การเชื่อมต่อทางรถไฟจึงเป็ นแนวทางที่หลายประเทศเห็นตรงกัน เนื่องจากการขนส่ง สิ นค้าทางรถไฟมีต ้นทุ นที่ ถูกกว่าการขนส่ งทางถนน อีกทั้งไม่ก่อให้เกิ ดมลพิษเมื่อเที ย บกับการขนส่ งด้ว ย เส้นทางอื่น” โครงการนี้ ไม่เพียงแต่พฒนาการคมนาคมขนส่ งให้มีประสิ ทธิภาพมากขึ้ น ลดอุบติเหตุ ลดปั ญหา ั ั มลพิษ แต่ยงเสริ มสร้างการเชื่อมโยง ดังนี้ ั • “ระบบขนส่งมวลชนทางราง” : ระบบรถไฟฟ้ าขนส่ งมวลชนในเขตกรุ งเทพและปริ มณฑล 10 สายทาง • “Modal Shift” : เปลี่ยนการขนส่ งจากทางถนน สู่ระบบราง • เชื่อมต่อประเทศเพื่อนบ้าน : ระเบียงเศรษฐกิจ (Economic Corridors) • พัฒนาประตูการค้า: ท่าเรื อ & ท่าอากาศยาน • พัฒนาโครงข่ายขนส่ งภายในประเทศ (ภูมิภาค) : รถไฟ ถนน มอเตอร์เวย์ ลํานํ้าและชายฝั่ง 5
  • 6. ประเด็น สํ าคัญ คื อ ลําดับเริ่ มการพัฒนาแต่ ละโครงการย่อยเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภ าพหรื อไม่ หากแต่ ละ โครงการมีกาหนดเวลาที่ ไม่สอดประสานกัน อาจจะไม่ทาให้เกิดการเชื่อมต่อที่แท้จริ ง ที่ร้ายกว่านั้นคือ หาก ํ ํ สุดท้ายแล้วเศรษฐกิจ งบประมาณ หรื อผูดาเนิ นงานโครงการ ไม่เป็ นไปตามที่วางแผนไว้ เช่น ทํารางแล้ว แต่ ้ ํ ระบบท่าอากาศยานยังไม่ได้จดการรองรับ การเชื่อมต่อก็อาจจะไม่สมบูรณ์ ั เพราะฉะนั้นสรุ ปได้ว่าปั จจัยที่ควรคํานึ ง ได้แก่ • การกําหนดสถานี หลักมีการกระจายตัวที่ดีพอหรื อไม่ และแต่ละสถานี ที่รถไฟความเร็ วสูงไปถึงนั้น มี การจัดการระบบการเชื่อมต่อระดับท้องถิ่นที่ดีหรื อไม่ เพื่อให้เกิดความทัวถึงที่แท้จริ ง ่ • นอกจากโครงสร้างทางคมนาคมที่ทวถึงแล้ว ปัจจัยพื้นฐานต่อการพัฒนาศักยภาพเศรษฐกิจในชุมชนมี ่ั มากน้อยเพียงใด มีการส่ งเสริ มแรงงาน การศึกษา สาธารณสุข ที่ดีหรื อไม่ มิฉะนั้นแทนที่ความเจริ ญจะ ขยายจากเมืองมาชนบท(dispersion) จะกลายเป็ นว่ารถไฟนําพาแรงงานให้ยายถิ่นสู่เมืองมากขึ้น และทํา ้ ให้เมืองยิงหนาแน่น(agglomeration) ่ 6
  • 7. 3.3 ผลประโยชน์ ต่อเศรษฐกิจทางอ้อม • ฝ่ ายสนับสนุ น กล่าวว่า รถไฟความเร็ ว สู งจะทําหน้าที่ ส่งเสริ มการท่ องเที่ ยว และการขยายตัว ของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดต่าง ๆ รวมทั้งประโยชน์อื่น ๆ เช่นการกระจายสินค้าของบริ ษทไปรษณี ย ์ ั ไทย • อย่างไรก็ตาม การวิเคราะห์ถึงผลประโยชน์ร่วมที่รวมผลทางอ้อมที่เกิดกับภาคเศรษฐกิ จอื่นนั้น ควรทํา กับการลงทุนในทุกกรณี เพราะผลทางอ้อมมิได้เกิดขึ้ นกับรถไฟความเร็ วสูงเพียงเท่านั้น ตัวอย่างเช่น หากใช้เงินจํานวนเดียวกันไปลงทุนในระบบรถไฟทางคู่ ต้นทุ นการขนส่ งสิ นค้าที่ ลดลงย่อมก่ อให้เกิด ประโยชน์ในวงกว้างต่อภาคธุ รกิ จ อื่นเช่ นกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อภาคการส่ งออกซึ่ งเป็ นเครื่ องจักร สําคัญของเศรษฐกิจไทยมาตลอด และเกี่ยวโยงกับหลายภาคการผลิตมากกว่าการท่องเที่ยว ประโยชน์ ทางอ้อมจึงน่ าจะสูงกว่ารถไฟความเร็ วสูงด้วยซํ้าไป 4. ข้ อกังวลต่อโครงการรถไฟความเร็วสู ง 4.1 กู้นอกระบบงบประมาณ ซึ่งเป็ นการให้อานาจตัดสิ นใจกับฝ่ ายบริ หาร ฝ่ ายนิ ติบญญัติมีโอกาสให้ความ ํ ั เห็นชอบตาม พ.ร.บ. เพียงครั้งเดียว ปกติ รัฐสภามีสิทธิ์กลันกรองทุกปี จุดอ่อนนี้ชี้ให้ เห็นว่ า พ.ร.บ. ไม่ ่ เป็ นประชาธิปไตยร้ อยเปอร์ เซ็นต์ ดร.สมชัย จิตสุ ชน ผูอานวยการวิจยของทีดีอาร์ไอ ระบุว่า พ.ร.บ.กูเ้ งิน 2 ล้านล้านบาท มีลกษณะเป็ นการ “กู้ ้ํ ั ั นอกระบบงบประมาณ” แต่ให้อานาจรั ฐสภาในการการกลันกรองและให้ความเห็นชอบ ไม่เหมือนเงินกู้ ํ ่ อื่น ๆ ที่ ไม่ผ่านการพิจ ารณาของสภาฯ เช่ น โครงการจํานําข้าวที่ กู้ยืมมาดําเนิ น การ เป็ นต้น และยังมี รายละเอียดบัญชีแนบท้าย พ.ร.บ. 2-3 หน้า ซึ่ งมีสภาพบังคับได้ตามกฎหมายและให้อานาจรัฐสภาแก้ไข ํ ปรับปรุ งได้ แนวทางดังกล่าวนั้น ถือเป็ นการแสดงความจริ งใจระดับหนึ่ งของรั ฐบาล ว่าจะใช้เงินกูน้ ี อย่าง ้ ระมัดระวัง แต่ การให้อานาจฝ่ ายบริ หารในการกําหนดรายละเอียดเป็ นเวลาถึง 7 ปี หมายความว่า จะ ํ ครอบคลุมเลยถึงอายุรัฐสภาชุดนี้ หรื อข้ามช่วงอายุปกติของรัฐสภา ดังนั้น เมื่อมีรัฐสภาชุดใหม่เข้ามา แต่จะ ไม่มีสิทธิมีเสียงใน พ.ร.บ. นี้เลย “การออกแบบแบบนี้ ถือว่าเป็ นการก้าวล่วงอํานาจของสภาชุดต่อไปในการ กลันกรองและให้ความเห็นชอบ เนื่ องจากสภาที่ได้รับเลือกเข้ามาใหม่ซ่ึงเป็ นตัวแทนของประชาชนในพื้นที่ ่ 7
  • 8. จะไม่มีสิทธิ์มีเสี ยงเลยในการพิจารณาทบทวนโครงการภายใต้ พ.ร.บ. นี้ อันนี้ คือสิ่ งที่ เรามองว่ายังไม่เป็ น ประชาธิปไตยร้อยเปอร์เซ็นต์จากการ ถ่วงดุลอํานาจฝ่ ายนิติกบฝ่ ายบริ หารที่ไม่มีดุลยภาพ” ดร.สมชัยกล่าว ั • โครงการไม่ผานการศึกษาความเป็ นไปได้โดยเฉพาะรถไฟความเร็ วสูง เมื่อเทียบกับการลงทุนรถไฟราง ่ คู่ ที่ช่วยลดต้นทุนโลจิสติกส์ และสร้างความสามารถในการแข่งขันดีกว่า • ผลกระทบต่อรายจ่ายภาครัฐในอนาคตในเรื่ องที่สาคัญอื่น ด้านสังคม การพัฒนาคน และนวัตกรรม อาจ ํ กระทบต่อ คุณภาพ กําลังคนและแรงงาน ความเหลื่อมลํ้า o TDRI ห่ วงรถไฟความเร็ วสูงทําหนี้ สาธารณะพุ่งเกิน 100% o TDRI ห่วงเงินกู้ 2 ล้านล้าน เสี่ยงกระทบการคลังสูง 4.2 การลงทุน VS การบริการทางสั งคม ดร.สมชัยยํ้าว่า เรื่องการลงทุ นรถไฟความเร็วสู ง ต้ องการให้ ระบุชัดเจนว่ าไม่ เป็ นการบริการทางสั งคม เพราะ ผูใช้บริ การไม่ใช่ผมีรายได้น้อย จึ งไม่ควรใช้เงิ นของรั ฐมาอุดหนุ นจนทําให้ขาดทุ นต่ อเนื่ องยาวนาน สาเหตุที่ ้ ู้ เป็ นกังวลเรื่ องนี้ เพราะว่า ในคณะกรรมาธิการฯ ที่แปรญัตติพดกันว่ารถไฟความเร็ วสูงขาดทุนก็ไม่เป็ นไร แต่ถา ู ้ ขาดทุนจะดูแลอย่างไร ก็พูดกันอีกว่าให้ผ่านไปก่อนแล้วค่อยออกแบบที่หลัง เพราะฉะนั้น การศึกษาความ เป็ นไปได้ของโครงการมีความสําคัญมากต่ อโครงการลงทุ น 2 ล้านล้านบาท เพราะจะตอบคําถามเรื่ องความ คุมค่าหรื อไม่คุมค่าที่หลายฝ่ ายมีความเป็ นห่ วง ดังนั้น ดร.สมชัยจึงเสนอว่า โครงการลงทุนทุกโครงการต้องผ่าน ้ ้ การศึกษาความเป็ นไปได้โดยหน่ วยงานที่เป็ นกลางและมีผตรวจสอบอิสระตรวจสอบผลการศึกษาอีกขั้นหนึ่ ง ู้ โดยการศึกษาความเป็ นได้ตองเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที่รัดกุมขึ้ นทั้งในส่ วนของ การลงทุ นโครงสร้ างพื้นฐาน ้ และการให้บริ การ เช่น ราคา ความถี่ของการให้บริ การ รวมถึงรายละเอียดตัวแปรที่เกี่ยวข้องอื่น เช่น อัตราคิดลด (discount rate) เป็ นต้น 8
  • 9. จากการศึกษาความคุมค่าของการสร้างเส้นทางรถไฟความเร็ วสูง คือ สายกรุ งเทพ-เชียงใหม่ ความเร็ ว 200 กม./ ้ ชม. ใช้เวลา 3 ชัวโมง ภายใน 5 ปี ต้องมีคนใช้เส้นทางนี้เฉลี่ยวันละ 2 หมื่นคนถึงจะคุ มค่ า แต่จะต้องวิ่งถี่พอ ไม่ ้ ่ ต้องรอนาน หรื ออย่างน้อยชัวโมงละ 2 ขบวน ความได้เปรี ยบจะเพิ่มมากขึ้น ่ สําหรับรถไฟความเร็ วสูง สายกรุงเทพฯ-หนองคายซึ่ ง วิงผ่านแค่ 7 จังหวัดภาคอีสานนั้น รัฐบาลประมาณว่าจะมี ่ ผูโดยสารถึง 41,000 คนต่อวัน ในขณะที่มลนิ ธิสถาบันอนาคตไทยศึกษา(TFF) ไปค้นตัวเลขมาเทียบให้เห็นเลย ้ ู ว่า ทุ กวันนี้ จํานวนผูโ ดยสารสู งสุ ด ที่ โ ดยสารเครื่ องบิ นไป 8 จังหวัด ภาคอีสานยังมีอยู่แค่ 4,957 คนต่ อวัน ้ แม้กระทังผูใช้บริ การสถานี ขนส่ งหมอชิตที่เดินทางไปถึง 20 จังหวัดภาคอีสานเอง (ไม่ใช่แค่ 7 จังหวัด) ทุกวันนี้ ่ ้ ก็ยงมีผโดยสารแค่ 49,500 คน เท่านั้น อย่าว่าแต่ ต่อให้มีผโดยสารมากเท่าที่รัฐบาลประมาณจริ ง ก็แปลว่ารถไฟ ั ู้ ู้ จะต้องวิ่งถึงวันละ 41 เที่ยว หรื อแทบทุกครึ่ งชัวโมง พูดง่ายๆ ก็คือ จะต้องมีรถไฟวิ่งไปหนองคายถี่พอๆ กับรถตู้ ่ ไปธรรมศาสตร์รังสิต ข้อกังวลส่ ว นใหญ่ต กอยู่ที่ร ถไฟความเร็ วสู ง เนื่ องจากโครงการลงทุ น ดังกล่าวโดยเฉพาะในส่ ว นของรถไฟ ความเร็ วสูง ยังไม่ตอบโจทย์ในด้านการลดต้นทุนการขนส่งหรื อความคุมค่าทางเศรษฐกิจ-การ เงินเท่าที่ควร ทาง ้ ทีดีอาร์ไอได้เสนอแนะแนวทางป้ องกันปั ญหาคอรัปชัน 3 ข้อ คือ ่  ควรมีการศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ (Feasibility Study) อย่างมีคุณภาพและน่าเชื่อถือ  ควรมีการสร้างธรรมาภิบาลในโครงการลงทุน สร้างการมีส่วนร่ วมของประชาชน สร้ างความโปร่ งใส ในการลงทุนผ่านการเปิ ดเผยข้อมูลทั้งในการจัดจ้างโดยภาครัฐ และการร่ วมทุนกับภาคเอกชน และ  ควรมีการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เพื่อเพิ่มความรั ดกุมในการลงทุ นมากขึ้ น ขณะเดียวกันเห็น ว่าทุก ฝ่ ายจะต้องมีส่ว นร่ วมอย่างแข็งขันในการต่อต้าน คอร์ รัปชัน ทั้งภาคธุร กิ จ ่ สื่อมวลชน นักวิชาการและภาคประชาสังคม เพื่อช่วยป้ องกันปัญหาคอร์รัปชันตั้งแต่เริ่ มต้นโครงการ ่ 9
  • 10. ประเด็นถกเถียงในรายการ: 1. ในการดําเนิ น นโยบายสาธารณะ รั ฐจําเป็ นต้องคํานึ งถึง 2 เป้ าหมายหลัก คื อ 1) ผลประโยชน์แ ก่ สาธารณะ และ 2) ความคุมค่าทางเศรษฐกิจ โครงการรถไฟความเร็ วสูงดังกล่าวสามารถบรรลุเป้ าหมาย ้ หลักทั้งสองหรื อไม่ อย่างไร 2. การบริ หารจัดการโครงการขนาดใหญ่หรื อ Mega projects มักเกิ ดปั ญหาคอร์ รัปชันและปั ญหาด้าน ่ ประสิ ทธิภาพ รัฐบาลควรมีมาตรการและแนวทางในการป้ องกันข้อกังวลดังกล่าวอย่างไร 3. จากการศึก ษาของนัก วิชาการ เห็ น ว่า ควรลงทุ น ในรถไฟรางคู่ก่ อน เนื่ องจากมีผลประโยชน์ทาง เศรษฐกิ จ ที่ เห็ น ได้ชัด เจน ตรงจุ ดนี้ รั ฐบาลจะสร้างความเชื่ อมัน ได้อย่างไรว่า การลงทุ น ในรถไฟ ่ ความเร็ ว สู งจะนํามาซึ่ งผลประโยชน์ต่าง ๆ เนื่ องจากโครงการส่ วนใหญ่ย งไม่ได้รับการศึกษาความ ั เป็ นไปได้ 4. รัฐบาลควรอธิบายและให้เหตุผลต่อประชาชนอย่างไรในการกูเ้ งินนอกงบประมาณและเรื่ องการศึกษา ความเป็ นไปได้ของโครงการขนาดใหญ่ในร่ าง พ.ร.บ. ดังกล่าว 5. ท่านคิดว่ารัฐบาลในปัจจุบนควรมีสิทธิในการ ‘สร้างหนี้’ ที่คิดว่าเป็ นการลงทุนพัฒนาประเทศในระยะ ั ยาวให้กบรัฐบาลและลูกหลานในอนาคตหรื อไม่ ไทยเราควรมีหน่วยงานหรื อระบบอะไรในการควบคุม ั กระบวนการกูและลงทุนในระยะยาวหรื อไม่ อย่างไร ้ 6. ท่านคิ ด ว่าผลตอบแทนที่ จ ะได้จากลงทุ น ครั้งนี้ จะ ‘คุมทุ น’ หรื อไม่ เงิ นกู้และดอกเบี้ยมีมูลค่ ารวม ้ เท่าไหร่ และต้องใช้ระยะเวลานานเพียงใดที่จะต้องจ่ายคืน 10