SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2559 ถูกเริ่มร่างเมื่อปี 2558 และยังคงแก้ใขต่อเนื่องมาถึงปี 2559 ดังนั้น พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2558 ก็คือฉบับเดียวกัน
กับพ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2559 นั่นเอง
เนื้อหาสาคัญของ พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2559 นาเสนอมีดังนี้
การประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) วันที่ 28 เม.ย. จะมีการพิจารณา ร่าง พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ …) พ.ศ… วาระที่ 1 ขั้น
รับหลักการ ซึ่งเป็นร่าง พ.ร.บ.ที่ปรับปรุงเนื้อหาบางส่วนที่อยู่เดิมในพ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
ทั้งนี้ในร่าง พ.ร.บ.ฉบับนี้ระบุถึงเหตุผลที่ต้องมีการแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฉบับปัจจุบันว่า “พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มี
บทบัญญัติบางประการที่ไม่เหมาะสมต่อการป้องกันและปราบปรามการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน…….ซึ่งมีรูปแบบการกระทาความผิดที่มีความ
ซับซ้อนมากขึ้นตามพัฒนาการทางเทคโนโลยี ซึ่งเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว”
สาหรับเนื้อหาของร่าง พ.ร.บ.ดังกล่าวมีสาระสาคัญดังนี้
มาตรา 4
“ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่น โดยไม่เปิดโอกาสให้ผู้รับข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์สามารถบอกเลิกหรือแจ้งความ
ประสงค์เพื่อปฏิเสธการตอบรับได้ อันเป็นการก่อให้เกิดความเดือดร้อนราคาญแก่ผู้รับ ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 200,000 บาท”
มาตรา 5
กาหนดว่า ถ้าผู้ใดกระทาผิดใน 5 ประการ ได้แก่
1.การเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกัน
2.นามาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทาขึ้นเป็นการเฉพาะไปเปิดเผยโดยมิชอบ
3.ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สาหรับตน
4.ดักรับไว้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะ และ
5.ส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่น โดยปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว
ทั้งหมดต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ 1-7 ปี และปรับตั้งแต่ 20,000 บาทถึง 140,000 บาท ที่สาคัญ ถ้าการกระทาความผิดดังกล่าวเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายต่อ
ข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือ
โครงสร้างพื้นฐานอันเป็นประโยชน์สาธารณะ ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ 1-10 ปี และปรับตั้งแต่ 20,000 บาทถึง 200,000 บาท
ส่วนเรื่องการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสร้างความเสียหายให้กับบุคคล ร่างกฎหมายฉบับนี้ก็ได้มีกระบวนการจัดการกับผู้กระทาความผิดเข้มข้นมากขึ้นด้วย
โดนบัญญัติในมาตรา 10 ว่า “ผู้นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็นภาพของผู้อื่นและภาพนั้นเป็นภาพที่เกิดจาก
การสร้างขึ้น ตัดต่อ เติม หรือดัดแปลงด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด โดยประการที่น่าจะทาให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความ
อับอาย ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 3 ปี และปรับไม่เกิน 200,000 บาท”
มาตรา 10 ดังกล่าวเป็นการแก้ไขเพื่อเพิ่มบทลงโทษให้มากขึ้นโดยให้ผู้กระทาผิดต้องรับทั้งโทษจาคุกและโทษปรับ จากเดิมที่ พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 กาหนดการกระทาความผิดในลักษณะที่ว่านั้นด้วยการต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
ขณะเดียวกัน ในร่างกฎหมายที่ ครม.เสนอให้ สนช.พิจารณา ยังได้บัญญัติมาตรการทางศาลเพื่อช่วยเหลือผู้เสียหายด้วย โดยมาตรา 11 ระบุว่า “ในคดีซึ่งมีคาพิพากษาว่า
จาเลยมีความผิด ศาลอาจสั่ง
(1) ให้ยึดและทาลายข้อมูล
(2) ให้โฆษณาคาพิพากษาทั้งหมดหรือแต่บางส่วนในสื่อที่ใช้ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ หรือหนังสือพิมพ์ ตามที่ศาลเห็นสมควร โดยให้จาเลย
เป็นผู้ชาระค่าโฆษณา”
เช่นเดียวกับ มาตรา 20 ที่ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ที่ได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแต่งตั้ง ยื่นคาร้องพร้อมแสดงหลักฐานต่อ
ศาลขอให้มีคาสั่งระงับการเผยแพร่หรือลบข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นออกจากระบบคอมพิวเตอร์ได้ ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ในที่นี้มีด้วยกัน 4 ประเภท ดังนี้
(1) ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นความผิดตาม พ.ร.บ.นี้
(2) ข้อมูลที่อาจกระทบกระเทือนต่อความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรที่กาหนดไว้ในภาคสองลักษณะ 1 หรือลักษณะ 1/1 ตามประมวลกฎหมายอาญา
(3) ข้อที่เป็นความผิดอาญาต่อกฎหมายอื่นซึ่งเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายนั้นได้ร้องขอ และข้อมูลนั้นมีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
(4) ข้อมูลที่ไม่เป็นความผิดต่อกฎหมายอื่นแต่มีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรืออันดีของประชาชน ซึ่งคณะกรรมการกลั่นกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่รัฐมนตรีมีมติ
เป็นเอกฉันท์
Cr : http://nirundon.com/4me
Cr : https://ilaw.or.th/node/4092
Cr : https://ilaw.or.th/node/4092

More Related Content

Viewers also liked

Minyak ikan salmon omega 3
Minyak ikan salmon omega 3Minyak ikan salmon omega 3
Minyak ikan salmon omega 3onnisaputri31
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)Kornkaruna Lawanyakul
 
The Online Persona: How an Online Reputation can be Harmful
The Online Persona: How an Online Reputation can be HarmfulThe Online Persona: How an Online Reputation can be Harmful
The Online Persona: How an Online Reputation can be HarmfulE Weir
 
30 tutorial hijab pashmina paris dua warna dua kerudung terbaru 2016
30 tutorial hijab pashmina paris dua warna  dua kerudung terbaru 201630 tutorial hijab pashmina paris dua warna  dua kerudung terbaru 2016
30 tutorial hijab pashmina paris dua warna dua kerudung terbaru 2016Rigging slinger
 

Viewers also liked (11)

4B_CEM_2016
4B_CEM_20164B_CEM_2016
4B_CEM_2016
 
staff workshop
staff workshopstaff workshop
staff workshop
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
Minyak ikan salmon omega 3
Minyak ikan salmon omega 3Minyak ikan salmon omega 3
Minyak ikan salmon omega 3
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
Flujograma
FlujogramaFlujograma
Flujograma
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
 
The Online Persona: How an Online Reputation can be Harmful
The Online Persona: How an Online Reputation can be HarmfulThe Online Persona: How an Online Reputation can be Harmful
The Online Persona: How an Online Reputation can be Harmful
 
30 tutorial hijab pashmina paris dua warna dua kerudung terbaru 2016
30 tutorial hijab pashmina paris dua warna  dua kerudung terbaru 201630 tutorial hijab pashmina paris dua warna  dua kerudung terbaru 2016
30 tutorial hijab pashmina paris dua warna dua kerudung terbaru 2016
 
Assignment 1
Assignment 1Assignment 1
Assignment 1
 
El barroco
El barrocoEl barroco
El barroco
 

More from Kornkaruna Lawanyakul

ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ Kornkaruna Lawanyakul
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์Kornkaruna Lawanyakul
 
7 สามัญ อังกฤษ เฉลย
7 สามัญ อังกฤษ เฉลย7 สามัญ อังกฤษ เฉลย
7 สามัญ อังกฤษ เฉลยKornkaruna Lawanyakul
 
7 สามัญ อังกฤษ
7 สามัญ อังกฤษ7 สามัญ อังกฤษ
7 สามัญ อังกฤษKornkaruna Lawanyakul
 
7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทย7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทยKornkaruna Lawanyakul
 
7 สามัญ ชีววิทยา (1)
7 สามัญ ชีววิทยา (1)7 สามัญ ชีววิทยา (1)
7 สามัญ ชีววิทยา (1)Kornkaruna Lawanyakul
 
7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย
7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย
7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลยKornkaruna Lawanyakul
 
7 สามัญ คณิต เฉลย
7 สามัญ คณิต เฉลย7 สามัญ คณิต เฉลย
7 สามัญ คณิต เฉลยKornkaruna Lawanyakul
 
พระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติพระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติKornkaruna Lawanyakul
 
ใบงานสำรวจตนเอง M666
ใบงานสำรวจตนเอง M666ใบงานสำรวจตนเอง M666
ใบงานสำรวจตนเอง M666Kornkaruna Lawanyakul
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6Kornkaruna Lawanyakul
 

More from Kornkaruna Lawanyakul (17)

ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2559 project1
2559 project1 2559 project1
2559 project1
 
1
11
1
 
1
11
1
 
7 สามัญ อังกฤษ เฉลย
7 สามัญ อังกฤษ เฉลย7 สามัญ อังกฤษ เฉลย
7 สามัญ อังกฤษ เฉลย
 
7 สามัญ อังกฤษ
7 สามัญ อังกฤษ7 สามัญ อังกฤษ
7 สามัญ อังกฤษ
 
7 สามัญ สังคม
7 สามัญ สังคม7 สามัญ สังคม
7 สามัญ สังคม
 
7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทย7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทย
 
7 สามัญ ชีววิทยา (1)
7 สามัญ ชีววิทยา (1)7 สามัญ ชีววิทยา (1)
7 สามัญ ชีววิทยา (1)
 
7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย
7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย
7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย
 
7 สามัญ คณิต เฉลย
7 สามัญ คณิต เฉลย7 สามัญ คณิต เฉลย
7 สามัญ คณิต เฉลย
 
7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต
 
พระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติพระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติ
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
ใบงานสำรวจตนเอง M666
ใบงานสำรวจตนเอง M666ใบงานสำรวจตนเอง M666
ใบงานสำรวจตนเอง M666
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 

  • 1. พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2559 ถูกเริ่มร่างเมื่อปี 2558 และยังคงแก้ใขต่อเนื่องมาถึงปี 2559 ดังนั้น พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2558 ก็คือฉบับเดียวกัน กับพ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2559 นั่นเอง เนื้อหาสาคัญของ พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2559 นาเสนอมีดังนี้ การประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) วันที่ 28 เม.ย. จะมีการพิจารณา ร่าง พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ …) พ.ศ… วาระที่ 1 ขั้น รับหลักการ ซึ่งเป็นร่าง พ.ร.บ.ที่ปรับปรุงเนื้อหาบางส่วนที่อยู่เดิมในพ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ทั้งนี้ในร่าง พ.ร.บ.ฉบับนี้ระบุถึงเหตุผลที่ต้องมีการแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฉบับปัจจุบันว่า “พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มี บทบัญญัติบางประการที่ไม่เหมาะสมต่อการป้องกันและปราบปรามการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน…….ซึ่งมีรูปแบบการกระทาความผิดที่มีความ ซับซ้อนมากขึ้นตามพัฒนาการทางเทคโนโลยี ซึ่งเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว” สาหรับเนื้อหาของร่าง พ.ร.บ.ดังกล่าวมีสาระสาคัญดังนี้ มาตรา 4 “ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่น โดยไม่เปิดโอกาสให้ผู้รับข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์สามารถบอกเลิกหรือแจ้งความ ประสงค์เพื่อปฏิเสธการตอบรับได้ อันเป็นการก่อให้เกิดความเดือดร้อนราคาญแก่ผู้รับ ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 200,000 บาท” มาตรา 5 กาหนดว่า ถ้าผู้ใดกระทาผิดใน 5 ประการ ได้แก่ 1.การเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกัน 2.นามาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทาขึ้นเป็นการเฉพาะไปเปิดเผยโดยมิชอบ 3.ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สาหรับตน 4.ดักรับไว้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะ และ 5.ส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่น โดยปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว ทั้งหมดต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ 1-7 ปี และปรับตั้งแต่ 20,000 บาทถึง 140,000 บาท ที่สาคัญ ถ้าการกระทาความผิดดังกล่าวเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายต่อ ข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือ โครงสร้างพื้นฐานอันเป็นประโยชน์สาธารณะ ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ 1-10 ปี และปรับตั้งแต่ 20,000 บาทถึง 200,000 บาท ส่วนเรื่องการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสร้างความเสียหายให้กับบุคคล ร่างกฎหมายฉบับนี้ก็ได้มีกระบวนการจัดการกับผู้กระทาความผิดเข้มข้นมากขึ้นด้วย โดนบัญญัติในมาตรา 10 ว่า “ผู้นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็นภาพของผู้อื่นและภาพนั้นเป็นภาพที่เกิดจาก การสร้างขึ้น ตัดต่อ เติม หรือดัดแปลงด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด โดยประการที่น่าจะทาให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความ อับอาย ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 3 ปี และปรับไม่เกิน 200,000 บาท”
  • 2. มาตรา 10 ดังกล่าวเป็นการแก้ไขเพื่อเพิ่มบทลงโทษให้มากขึ้นโดยให้ผู้กระทาผิดต้องรับทั้งโทษจาคุกและโทษปรับ จากเดิมที่ พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 กาหนดการกระทาความผิดในลักษณะที่ว่านั้นด้วยการต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ขณะเดียวกัน ในร่างกฎหมายที่ ครม.เสนอให้ สนช.พิจารณา ยังได้บัญญัติมาตรการทางศาลเพื่อช่วยเหลือผู้เสียหายด้วย โดยมาตรา 11 ระบุว่า “ในคดีซึ่งมีคาพิพากษาว่า จาเลยมีความผิด ศาลอาจสั่ง (1) ให้ยึดและทาลายข้อมูล (2) ให้โฆษณาคาพิพากษาทั้งหมดหรือแต่บางส่วนในสื่อที่ใช้ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ หรือหนังสือพิมพ์ ตามที่ศาลเห็นสมควร โดยให้จาเลย เป็นผู้ชาระค่าโฆษณา” เช่นเดียวกับ มาตรา 20 ที่ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ที่ได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแต่งตั้ง ยื่นคาร้องพร้อมแสดงหลักฐานต่อ ศาลขอให้มีคาสั่งระงับการเผยแพร่หรือลบข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นออกจากระบบคอมพิวเตอร์ได้ ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ในที่นี้มีด้วยกัน 4 ประเภท ดังนี้ (1) ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นความผิดตาม พ.ร.บ.นี้ (2) ข้อมูลที่อาจกระทบกระเทือนต่อความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรที่กาหนดไว้ในภาคสองลักษณะ 1 หรือลักษณะ 1/1 ตามประมวลกฎหมายอาญา (3) ข้อที่เป็นความผิดอาญาต่อกฎหมายอื่นซึ่งเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายนั้นได้ร้องขอ และข้อมูลนั้นมีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน (4) ข้อมูลที่ไม่เป็นความผิดต่อกฎหมายอื่นแต่มีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรืออันดีของประชาชน ซึ่งคณะกรรมการกลั่นกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่รัฐมนตรีมีมติ เป็นเอกฉันท์ Cr : http://nirundon.com/4me