SlideShare a Scribd company logo
1 of 100
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โดย
นายกวิน ปัญญาวงค์ เลขที่22
นายรัตนธร เพ็ชถม เลขที่27
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จ.เชียงใหม่
9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
เกี่ยวกับโครงงาน
วัตถุประสงค์
หลักการและทฤษฎี
ที่มาและความสาคัญ
ขอบเขตโครงงาน
วิธีดาเนินการ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ แหล่งอ้างอิง
เกี่ยวกับโครงงาน
• ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
• ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
9 provinces in northern Thailand
• ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
• ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นายกวิน ปัญญาวงค์
2. นายรัตนธร เพ็ชถม
• ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
• ระยะเวลาดาเนินงาน พฤศจิกายน 2557 - กุมภาพันธ์ 2558
ที่มาและความสาคัญ
เมืองไทยมีความเป็นมาอันยาวนานมากกว่า 700 ปี ด้วยประวัติศาสตร์ และทรัพย์สิน
ทางความรู้อันมีค่ามากมายที่เราต่างสืบทอดต่อๆกันมาจากบรรพบุรุษ เอกสารเล่มนี้จะพาท่าน
ไปสู่การไขความรู้และทาความรู้จักกับส่วนหนึ่งของเมืองไทยในถิ่นล้านนา
ทั้ง 9 จังหวัดในภาคเหนือของไทยนั้นมีประวัติศาสตร์อันยาวนานควบคู่มากับ
ประวัติศาสตร์ชาติไทยมาโดยตลอด เรียกได้ว่ามีความเก่าแก่ที่มากล้น ทุกจังหวัดที่จะได้กล่าวถึงนี้
ล้วนแล้วแต่เคยเป็นนครรัฐอันเป็นอิสระมาก่อน ทาให้มีเรื่องราวที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองในแต่ละ
จังหวัด บอกเล่าเรื่องราวออกมาผ่านประวัติศาสตร์อันยาวนาน
วัตถุประสงค์
1. นาเสนอข้อมูล เรื่องราว และประวัติของแต่ละจังหวัดทั้ง 9 จังหวัด
2. ข้อมูลการแบ่งเขตการปกครอง การบริหารส่วนท้องถิ่น
3. ชี้ชวนให้เกิดการท่องเที่ยวภายในจังหวัดต่างๆด้วยสถานที่ และแหล่งท่องเที่ยว
มากมาย
ขอบเขตโครงงาน
1. จ.ลาพูน
- ประวัติ
- การแบ่งการปกครอง
- แหล่งท่องเที่ยว
2. จ.แพร่
- ประวัติ
- การแบ่งการปกครอง
- แหล่งท่องเที่ยว
3. จ.พะเยา
- ประวัติ
- การแบ่งการปกครอง
- แหล่งท่องเที่ยว
ขอบเขตโครงงาน
4. จ.อุตรดิตถ์
- ประวัติ
- การแบ่งการปกครอง
- แหล่งท่องเที่ยว
5. จ.เชียงใหม่
- ประวัติ
- การแบ่งการปกครอง
- แหล่งท่องเที่ยว
6. จ.แม่ฮ่องสอน
- ประวัติ
- การแบ่งการปกครอง
- แหล่งท่องเที่ยว
ขอบเขตโครงงาน
7. จ.น่าน
- ประวัติ
- การแบ่งการปกครอง
- แหล่งท่องเที่ยว
8. จ.ลาปาง
- ประวัติ
- การแบ่งการปกครอง
- แหล่งท่องเที่ยว
9. จ.เชียงราย
- ประวัติ
- การแบ่งการปกครอง
- แหล่งท่องเที่ยว
หลักการและทฤษฎี
จังหวัดทั้ง 9 จังหวัด ครั้งหนึ่งเคยเป็นนครรัฐปกครองตนเอง มีความ
ยิ่งใหญ่รุ่งโรจน์เป็นของตนเอง จนกระทั่งได้รวมตัวกันเป็นอาณาจักรล้านนาและเป็น
ส่วนหนึ่งของสยามประเทศ
ในอดีตจังหวัดแต่ละจังจึงมีเรื่องราวความเป็นมาแตกต่างกันออกไปถึงแม้จะอยู่
ในภูมิภาคเดียวกันและถึงแม้จะเคยเป็นส่วนของอาณาจักรล้านนาเหมือนกันก็ตาม แต่
แต่ละจังหวัดก็มีประวัติศาสตร์ที่แตกต่างกัน มีแหล่งท่องเที่ยวที่แตกต่างกัน
วิธีดาเนินการ
แนวทางการดาเนินงาน
ใช้การค้นหาทางสื่ออินเทอร์เน็ตเป็นตัวช่วย โดยหาข้อมูลจากเว็บไซต์ที่
เชื่อถือได้
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
- เครื่องคอมพิวเตอร์
- อินเทอร์เน็ต
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. เป็ นแหล่งศึกษาค้นคว้าข้อมูลของคนอื่นต่อๆไป
2. ปลุกจิตสานึกรักบ้านเกิดของตนเอง
แหล่งอ้างอิง
• file:///C:/Users/Administrator/Downloads/Chiang-Rai.html
• file:///C:/Users/Administrator/Downloads/Nan.html
• file:///C:/Users/Administrator/Downloads/Lampang%20.ht
ml
• file:///C:/Users/Administrator/Downloads/Mae-Hong-
Son.html
• file:///C:/Users/Administrator/Downloads/Chiang-Mai.html
• file:///C:/Users/Administrator/Downloads/Phrae.html
• file:///C:/Users/Administrator/Downloads/Lamphun.html
• file:///C:/Users/Administrator/Downloads/Phayao.html
• file:///C:/Users/Administrator/Downloads/Uttaradit.html
จ.ลาพูน
ประวัติ
จังหวัดลาพูน เดิมชื่อเมืองหริภุญไชย เป็นเมืองโบราณเก่าแก่ที่สุดในจังหวัดภาคเหนือมี
อายุประมาณ 1,339 ปี ตามพงศวดารโยนกเล่าสืบต่อกันมาถึงการสร้างเมืองหริภุญไชย โดยฤาษี
วาสุเทพ เป็นผู้เกณฑ์พวกเม็งค์บุตรหรือเชื้อชาติมอญมาสร้างเมืองนี้ขึ้นในพื้นที่ระหว่างแม่น้าสอง
สายคือ แม่น้ากวงและแม่น้าปิง เมื่อมาสร้างเสร็จได้ส่งฑูตไปเชิญราชธิดากษัตริย์ เมืองละโว้พระ
นาม “จามเทวี” มาเป็นปฐมกษัตริย์ปกครองเมืองหริภุญไชยสืบราชวงศ์กษัตริย์ ต่อมาหลายพระองค์
จนกระทั่งถึงสมัยพระยายิบา จึงได้เสียการปกครองให้แก่พ่อขุนเม็งรายมหาราชผู้รวบรวมแว่นแคว้น
ทางเหนือเข้าเป็นอาณาจักรล้านนา เมืองลาพูน ถึงแม้ว่าจะตกอยู่ในการปกครองของอาณาจักรล้านนา
แต่ก็ได้ถ่ายทอดมรดกทางศิลปและวัฒนธรรมให้ผู้ที่เข้ามาปกครองเมืองลาพูน จึงยังคงความสาคัญ
ในทางศิลปะและวัฒนธรรมของอาณาจักรล้านนา จนกระทั่งสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมือง
ลาพูนได้เข้ามาอยู่ในอาณาจักรไทย มีผู้ครองนครสืบต่อกันมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมา
ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เมื่อเจ้าผู้ครองนครองค์สุดท้าย คือ พลตรีเจ้าจักรคา
ขจรศักดิ์และเมื่อเจ้าจักรคาขจรศักดิ์ถึงแก่พิราลัย เมืองลาพูนจึงเปลี่ยนแปลงเป็นจังหวัดลาพูน มีผู้ว่า
ราชการจังหวัดเป็นผู้ปกครองสืบต่อกันมาจนกระทั่งปัจจุบัน
จ.ลาพูน
จังหวัดลาพูนแบ่งการปกครองแบ่งออกเป็ น 8 อาเภอ 51 ตาบล 520
หมู่บ้าน
1. อาเภอเมืองลาพูน
2. อาเภอแม่ทา
3. อาเภอบ้านโฮ่ง
4. อาเภอลี้
5. อาเภอทุ่งหัวช้าง
6. อาเภอป่าซาง
7. อาเภอบ้านธิ
8. อาเภอเวียงหนองล่อง
จ.ลาพูน
ประเพณีสรงน้าพระธาตุหริภุญชัย
เป็นประเพณีเก่าแก่ มีขึ้นในวันเพ็ญเดือนหก หรือที่ชาวลาพูนเรียกว่า วันแปดเป็งของทุกปี โดยมีพิธีสรง
น้าและงานสมโภชพระธาตุหริภุญชัย พระบาทสมเด็จพระเจาอยู่หัว ได้โปรดเกล้าฯ พระราชทานน้าสรง
พระธาตุเป็นประจาทุกปี นอกจากชาวลาพูนแล้ว ยังมีชาวจังหวัดใกล้เคียง และนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย
และชาวต่างประเทศ เข้าชมงานนี้อย่างหนาแน่น
งานเทศกาลลาไย
เป็นงานใหญ่ประจาปีของชาวจังหวัดลาพูน ซึ่งจะจัดในช่วงเดือนสิงหาคมของทุกปี ภายในงานจะมีขบวน
แห่รถลาไยที่ประดับตกแต่งอย่างสวยงาม การประกวดธิดาลาไย และการออกร้านค้า ประกวดผลิตผล
ทางการเกษตร และจาหน่ายสินค้าพื้นเมือง
งานฤดูหนาวและกาชาดจังหวัดลาพูน
จัดขึ้นในช่วงปลายเดือนพฤศจิกายนของทุกปี ณ สนามกีฬากลางจังหวัด ภายในงานมีนิทรรศการของ
ส่วนราชการ การแสดงมหรสพ การจาหน่ายผลผลิตทางการเกษตร
งานของดีศรีหริภุญชัย
เป็นงานแสดงและจาหน่ายสินค้าผลิตผลทางการเกษตร และเกษตรแปรรูปนานาชนิด ซึ่งเกษตรกรและ
กลุ่มแม่บ้านของจังหวัดเป็นผู้ผลิต ในงานมีขบวนแห่ของกลุ่มแม่บ้าน การแสดงทางศิลปวัฒนธรรม การ
ประกวดเรือนชนบท การออกร้านขายสินค้าหัตถกรรมในราคาย่อมเยา
จ.ลาพูน
แหล่งท่องเที่ยว
อุทยานแห่งชาติแม่ปิง เดิมชื่อว่าอุทยานแห่งชาติแม่หาดแม่ก้อ ได้ประกาศจัดตั้งเป็น
อุทยานแห่งชาติ เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2524 ครับ มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 1,003
ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมอยู่ในท้องที่ อาเภอดอยเต่า จังหวัด เชียงใหม่ อาเภอลี้ จังหวัด
ลาพูน และอาเภอสามเงา จังหวัดตาก ที่ทาการอุทยานแห่งชาติแม่ปิง ตั้งอยู่ในท้อง ที่ตาบล
แม่ลาน อาเภอลี้ จังหวัดลาพูน โดยมีทางแยกจากทางหลวงหมายเลข 106 สายลาพูน-ลี้-
ก้อ ตรง กิโลเมตรที่ 47 เข้าไปตามทางหลวงหมายเลข 1087 เป็นทางลูกรังระยะทาง
ประมาณ 20 กิโลเมตร ก็ถึงที่ทา การอุทยานฯเนื่องจากภายในเขตอุทยานแห่งชาติแม่ปิงมี
พื้นที่บางส่วนเป็นพื้นน้าตามลาน้าปิงยาวประมาณ 100 กิโลเมตร มีสภาพเป็นแก่งเกาะ
หน้าผา หินงอก หินย้อย ตามสองฝั่งแม่น้าเป็นจานวนมาก ดังนั้นการ เดินทางท่องเที่ยวลา
น้าปิงสามารถเริ่มจากอ่างเก็บน้าดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ โดยเรือหางยาวครับแล้วมา ต่อ
แพที่แก่งสร้อย ล่องมาจนถึงเขื่อนภูมิพล อาเภอสามเงา จังหวัดตาก ในทางกลับกันอาจจะ
เช่าเรือหรือ แพจากเขื่อนภูมิพลล่องขึ้นไปก็ได้
จ.แพร่
ประวัติ
จังหวัดแพร่นั้นสร้างขึ้นประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 มีชื่อเรียกกันหลายชื่อคือ " พล
นคร เมืองพล เมืองแพล " ในสมัยขอมเรืองอานาจ ระหว่างปี พ.ศ. 1470-1560 พระ
นางจามเทวีเข้าครอบครองดินแดนตลอดแคว้นล้านนา ได้เปลี่ยนชื่อเป็น " โกศัยนคร
" หรือ " เวียงโกศัย " ซึ่งแปลว่าผ้าแพร นับแต่นั้นมาก็มีผู้ครองนครสืบต่อกันมา จนถึง
ปี พ.ศ. 2445 ในสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ จึงได้เปลี่ยนแปลงการปกครอง
จากเจ้าผู้ครองนครเป็นเทศาภิบาล ในปี พ.ศ. 2440 โดยโปรดเกล้าฯ ให้พระยาไชย
บูรณ์ (นามเดิมทองอยู่ สุวรรณบาตร ) ไปเป็นข้าหลวงกากับการปกครองเมืองแพร่
เป็นคนแรกจังหวัดแพร่อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร 555 กิโลเมตร มีพื้นที่ประมาณ
6,538 ตารางกิโลเมตร มีแม่น้ายมไหลผ่าน ลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาล้อมรอบทั้ง
สี่ ทิศ มีที่ราบอยู่ตอนกลางของจังหวัด
จ.แพร่
การปกครองแบ่งออกเป็น 8 อาเภอ 78 ตาบล 645 หมู่บ้าน
1. อาเภอเมืองแพร่
2. อาเภอร้องกวาง
3. อาเภอลอง
4. อาเภอสูงเม่น
5. อาเภอเด่นชัย
6. อาเภอสอง
7. อาเภอวังชิ้น
8. อาเภอหนองม่วงไข่
จ.แพร่
งานประเพณีนมัสการพระธาตุช่อแฮ
จัดขึ้นระหว่างวันขึ้น 11-15 ค่า เดือนสี่ มีการแห่ผ้าขึ้นไปห่มองค์พระธาตุ มีขบวนแห่
แบบล้านนา โดยผู้ร่วมงานทุกคนจะแต่งกายแบบพื้นเมืองล้านนา มีมหรสพสมโภช
ทุกคืน รุ่งเช้าวันขึ้น 15 ค่า จะมีการทาบุญตักบาตร กลางคืนจะมีการเวียนเทียนรอบ
องค์พระธาตุและพระวิหาร
งานม่อฮ่อมล้อมสะโตก และสงกรานต์จังหวัดแพร่
จัดงานบริเวณสวนสุขภาพเฉลิมพระเกียรติ ร. 9 ระหว่างวันที่ 14-16 เมษายน ของทุก
ปี ในงานจะมีการแต่งกายด้วยชุดม่อฮ่อมล้อมวงกินขันโตก และเล่นสงกรานต์กัน
งานกิ๋นสลาก
คล้ายประเพณีถวายสลากภัตของภาคกลางนั่นเอง โดยชาวบ้านจะจัดเครื่องไทยทาน
เขียนสลากชื่อของตนติดไว้แล้วนาไปรวมกันที่หน้าพระประธาน พระสงฆ์จะจับสลาก
ขึ้นมาให้มรรคทายกประกาศ เจ้าของสลากก็จะนาเครื่องไทยทานของตนไปถวายแด่
พระสงฆ์ โดยงานนี้จะจัดขึ้นตามวัดต่างๆ ช่วงเดือน 10 ของทุกปี
จ.แพร่
แหล่งท่องเที่ยว
วัดพระธาตุช่อแฮ พระอารามหลวง
วัดพระธาตุช่อแฮ พระอารามหลวง ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 11 ถนนช่อแฮ ตาบลช่อแฮ อาเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่
บนเนื้อที่ 175 ไร่ บุคคลใดที่มาเที่ยวจังหวัดแพร่แล้วจะต้องมานมัสการพระธาตุช่อแฮ เพื่อเป็นศิริมงคลกับ
ตนเอง จนมีคากล่าวว่า ถ้ามาเที่ยวจังหวัดแพร่ แต่ไม่ได้มานมัสการพระธาตุช่อแฮเหมือนไม่ได้มาจังหวัดแพร่แพร่
การเดินทางมาเที่ยววัดพระธาตุช่อแฮ ถนนสายหลัก คือ ถนนช่อแฮ เริ่มตั้งแต่สี่แยกบ้านทุ่ง อาเภอเมืองแพร่ ซึ่ง
เป็นสี่แยกใจกลางเมืองแพร่ เข้าสู่ถนนช่อแฮ และตรงไปตามถนนช่อแฮ ผ่านโรงพยาบาลแพร่ สนามบินจังหวัด
แพร่ หมู่บ้านเหล่า หมู่บ้านนาจักร หมู่บ้านแต หมู่บ้านมุ้ง สถานที่ตั้งของวัดพระธาตุช่อแฮ พระอารามหลวง อยู่ใน
บริเวณเขตเทศบาลตาบลช่อแฮ ด้วยระยะทาง 9 กิโลเมตร จากตัวเมืองจังหวัดแพร่
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกวัดพระธาตุช่อแฮ ตาบลช่อแฮ อาเภอเมือง
จังหวัดแพร่ เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งแต่วันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2549 โดยได้ประกาศในราช
กิจจานุเบกษา ฉบับทั่วไป เล่ม 123 ตอนที่ 96 ง วันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 (พ.ศ. 2508 พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวทรงใช้มวลสารจากพระธาตุช่อแฮ ทาพระสมเด็จจิตรลดา
จ.แพร่
อาเภอสูงเม่น
วัดพระธาตุสุโทนมงคลคีรี
ห่างจากอาเภอเด่นชัย 3 กิโลเมตร มีศาลาพิพิธภัณฑ์สร้างด้วยไม้สักทองทั้งหลังแบบล้านนา ภายในมีโบราณวัตถุต่างๆ จัด
แสดงไว้ เช่น รูปภาพเจ้านายฝ่ายเหนือและเหตุการณ์ในอดีต พระพุทธรูปต่างๆ เครื่องเขิน เครื่องดนตรีล้านนา อาวุธโบราณ
เป็นต้น
อาเภอเด่นชัย
บ้านเพื่อนฝูง
เป็นบ้านสร้างด้วยไม้สักขนาดใหญ่ ภายในตกแต่งด้วยผลิตภัณฑ์จากไม้ ตั้งอยู่ริมถนนสาย 101 ก่อนถึงอาเภอสูงเม่นประมาณ
5 กิโลเมตร เปิดให้เข้าชมได้ตั้งแต่เวลา 09.00-17.00 น. เก็บค่าเข้าชมคนละ 10 บาท
ตลาดหัวดง
อยู่ห่างจากตัวเมืองไปทางทิศใต้ประมาณ 7 กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 101 เป็นแหล่งรวมผลิตภัณฑ์ที่ทาจากไม้และ
หวาย เช่น เฟอร์นิเจอร์และของใช้ต่างๆ
วัดพระหลวง
อยู่ที่ตาบลดอนมูล เลี้ยวซ้ายที่บ้านหัวดงเข้าไป 700 เมตร มีเจดีย์แบบสุโขทัย ชาวบ้านเรียกว่า “ธาตุเนิ้ง” มีความหมายว่า
เอียง เป็นโบราณสถานที่สาคัญแห่งหนึ่ง
อ่างเก็บน้าแม่มาน
อยู่ห่างจากตัวเมือง 20 กิโลเมตร ตามถนนแพร่-สูงเม่น-เด่นชัย เป็นอ่างเก็บน้าขนาดใหญ่ มีทิวทัศน์สวยงามโดยเฉพาะใน
ตอนเช้า เหมาะสาหรับชมพระอาทิตย์ขึ้นจากขอบฟ้าเหนือเขื่อน
จ.แพร่
อาเภอร้องกวาง
ถ้าผานางคอย
อยู่ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 36 กิโลเมตร ตามเส้นทางสายแพร่-ร้องกวาง (ทางหลวงหมายเลข 101) ถึง
กิโลเมตรที่ 58-59 เลี้ยวซ้ายเข้าไปอีก 800 เมตรถึงหน้าถ้าผานางคอย ตัวถ้าเป็นอุโมงค์มีความยาวประมาณ
150 เมตร กว้างประมาณ 10 เมตร ลักษณะของถ้าโค้งงอเป็นข้อศอกไปทางซ้ายและทางขวาเป็น 3 ตอนด้วยกัน
ภายในถ้ามีหินงอกหินย้อยอยู่ทั่วไป ตอนท้ายของถ้ามีก้อนหินลักษณะคล้ายมารดาอุ้มบุตรน้อย ชาวบ้านเรียกว่า
“หินนางคอย” เบื้องหน้าของหินนางคอยมีหินย้อย ลักษณะคล้ายรูปหัวใจ ดูแปลกตาสวยงาม นอกจากนี้ภายใน
ถ้ายังมีพระพุทธรูปอยู่องค์หนึ่ง เป็นที่เคารพสักการะของชาวแพร่
น้าตกห้วยโรง (หรือน้าตกห้วยลง)
อยู่ห่างจากตัวจังหวัดไปทางเหนือ 60 กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 101 (ถนนแพร่-ร้องกวาง) ถึงกิโลเมตร
ที่ 78 เลี้ยวซ้ายอีก 4 กิโลเมตร เป็นน้าตกที่มีความสูง 2 ชั้น สภาพโดยรอบเป็นป่าโปร่งร่มรื่น
น้าตกตาดชาววา
เป็นน้าตกที่ตกจากหน้าผาสูงสวยงามมาก อยู่ในเขตอาเภอร้องกวาง ทางคมนาคมเข้าไปยังลาบากอยู่ และต้องเดิน
เท้าเข้าไปชม อยู่ห่างจากตัวเมือง 35 กิโลเมตร
พระธาตุปูแจ
ตั้งอยู่ในตาบลบ้านเวียง ห่างจากอาเภอร้องกวาง 20 กิโลเมตร มีงานนมัสการพระธาตุ หรืองานขึ้นพระธาตุตรง
กับวันขึ้น 11-15 ค่า เดือน 3 ของทุกปี
จ.แพร่
อาเภอลอง
วัดพระธาตุศรีดอนคา
หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า “วัดห้วยอ้อ” อยู่เลยที่ว่าการอาเภอลองไปเล็กน้อย ห่างจากตัวเมืองแพร่ 45 กิโลเมตร ตาม
ทางหลวงหมายเลข 1023 มีพระธาตุเก่าแก่ขนาดใหญ่สร้างขึ้นราว พ.ศ. 1078 เมื่อคราวพระนางจามเทวีเสด็จมา
จากเมืองละโว้ไปเมืองหริภุญชัย ได้รับการบูรณะหลายครั้ง ปัจจุบันมีฐานเป็นปูน ส่วนบนประดับด้วยแผ่นโลหะสี
ทอง นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งรวบรวมตานานพระพุทธรูป ตลอดจนคัมภีร์ต่างๆ ซึ่งเก็บไว้ในหอไตรของวัด
หมู่บ้านทอผ้าตีนจก
ผ้าตีนจกของอาเภอลองเป็นงานฝีมือที่ประณีตและสวยงาม ทอด้วยผ้าไหมและผ้าฝ้ าย มีแหล่งผลิตอยู่ที่บ้านนาตุ้ม
บ้านหัวทุ่ง บ้านนามน ซึ่งมีการทอผ้าตีนจกกันอย่างแพร่หลาย
สวนหินมหาราช
ขึ้นอยู่กับป่าไม้เขตแพร่ ห่างจากอาเภอลอง 20 กิโลเมตร จากแพร่ไปตามทางหลวงหมายเลข 1023 สวนหิน
มหาราชอยู่ระหว่างหลักกิโลเมตรที่ 19-20 ทางซ้ายมือ เป็นบริเวณกว้างโล่ง มีก้อนหินขนาดใหญ่วางเรียง
ระเกะระกะ มีศาลาพักผ่อน
แก่งหลวงและถ้าเอราวัณ
อยู่ในเขตบ้านแก่งหลวง ตาบลบ้านปิน อาเภอลอง ห่างจากตัวเมืองประมาณ 50 กิโลเมตร มีแก่งน้าที่สวยงาม
นอกจากนี้ยังมีถ้าที่สวยงาม มีหินงอกหินย้อยรูปร่างคล้ายช้างเอราวัณ
จ.แพร่
อาเภอสอง
พระธาตุพระลอ
อยู่ที่ตาบลบ้านกลาง ห่างจากจังหวัดไปทางเหนือราว 45 กิโลเมตร การเดินทางไปตามทางหลวง 101
ประมาณ 24 กิโลเมตร แยกซ้ายเข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 103 อีกราว 18 กิโลเมตร แล้วเลี้ยวขวาสู่
อาเภอสอง จากนั้นเลี้ยวซ้ายอีก 3 กิโลเมตรถึงพระธาตุพระลอ (พระธาตุหินล้ม) เป็นพระธาตุที่มีอายุ
เก่าแก่ประมาณ 400 ปี มีสถูปบรรจุพระอัฐิของพระลอ พระเพื่อน พระแพง และมีการสร้างอนุสาวรีย์ของ
พระลอ พระเพื่อน พระแพง โดยกรมศิลปากรสร้างหันหน้าไปทางแม่น้ากาหลง (แม่น้าสอง) เป็นอนุสรณ์
สถานของนครแมนสรวง และเมืองสรวงที่จูงใจให้น้อมราลึกถึงความรักอมตะของพระลอและพระเพื่อน
พระแพง โดยรอบบริเวณตกแต่งเป็นสวนสาธารณะร่มรื่นสวยงาม
เวียงพระลอ
ตั้งอยู่ที่ตาบลบ้านกลาง อาเภอสอง การเดินทางไปทางเดียวกับพระธาตุพระลอ ใช้เส้นทางสอง-งาว
(ทางหลวงหมายเลข 1154) ตรงหลักกิโลเมตรที่ 54 เลี้ยวขวาตรงทางเข้าโรงเรียนบ้านคุ้ม 2 กิโลเมตร
แล้วเลี้ยวขวาไปอีก 2.5 กิโลเมตรถึงเวียงพระลอ ด้านหลังเป็นฝาย สามารถชมทิวทัศน์ของแม่น้ายมอัน
สวยงามได้
อุทยานแห่งชาติแม่ยม
จ.พะเยา
ประวัติ
ประวัติความเป็นมาที่เก่าแก่ยาวนานไม่น้อยไปกว่าเมืองอื่นๆ ในอาณาจักร
ล้านนา บริเวณที่ตั้งของจังหวัดพะเยาในปัจจุบันอยู่ติดกับกว๊านพะเยา เดิม
เป็นที่ตั้งของเมือง ภูกามยาว หรือ พยาว ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อพุทธศตวรษที่ 16
โดยมีผู้ปกครองคือ พ่อขุนงาเมือง ภายหลังมีการเปลี่ยนแปลงอานาจ และ
ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรล้านนา เมื่อถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์
เมืองพะเยาอยู่ภายใต้การปกครองของจังหวัดเชียงราย ในฐานะ อาเภอ
พะเยา และเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2520 อาเภอพะเยาได้ยกฐานะขึ้น
เป็น จังหวัดพะเยา นับเป็นจังหวัดที่ 72 ของประเทศไทย
จ.พะเยา
การปกครอง 9 อาเภอ 68 ตาบล 790 หมู่บ้าน 2 เทศบาลเมือง 30
เทศบาลตาบล 39องค์การบริหารส่วนตาบล
1. อาเภอเมืองพะเยา
2. อาเภอจุน
3. อาเภอเชียงคา
4. อาเภอเชียงม่วน
5. อาเภอดอกคาใต้
6. อาเภอปง
7. อาเภอแม่ใจ
8. อาเภอภูซาง
9. อาเภอภูกามยาว
จ.พะเยา
งานอนุสาวรีย์ผู้เสียสละ พตท.2324 จัดระหว่างวันที่ 31 มกราคม-8 กุมภาพันธ์ ณ อนุสรณ์ผู้เสียสละ พตท. ใน
อาเภอเชียงคา ในงานจะมีนิทรรศการ การออกร้านของหน่วยราชการ
งานเปิดโลกอุตสาหกรรมอัญมณี และของดีเมืองพะเยา จัดระหว่างวันที่ 1-5 กุมภาพันธ์ ณ ศูนย์อุตสาหกรรมอัญ
มณี ตาบลแม่กา อาเภอเมือง ในงานมีการแสดงการผลิตเครื่องประดับเงิน ทองคา การเจียระไนเพชร
วันดอกคาใต้บาน จัดในอาเภอดอกคาใต้ ระหว่างวันที่ 13-14 กุมภาพันธ์ กิจกรรมจะเป็นการแข่งขันงาน
หัตถกรรม และจาหน่ายของที่ระลึก
งานบวงสรวงพ่อขุนงาเมือง จัดวันที่ 5 มีนาคม ณ ลานอนุสาวรีย์พ่อขุนงาเมือง หน้ากว๊านพะเยา ในงานมีขบวน
แห่เครื่องราชสักการะที่สวยงามยิ่งใหญ่
งานสืบสานตานานไทลื้อ จัดทุกวันเสาร์-อาทิตย์ สัปดาห์ที่ 2 ณ วัดพระธาตุสบแวน อาเภอเชียงคา กิจกรรมจะมี
ขบวนแห่ การสาธิตศิลปวัฒนธรรมไทลื้อ นิทรรศการ
งานประเพณีปู่จากพญานาค (บูชาพระลอ) จัดบริเวณโบราณสถานเวียงลอ บ้านห้วยงิ้ว อาเภอจุน ในงานมี
กิจกรรมพิธีไหว้บรรพบุรุษของเวียงลอ ขบวนแห่และงานแสดงแสงสีเสียง การแสดงทางวัฒนธรรม
งานเทศกาลลิ้นจี่และของดีแม่ใจ จัดในอาเภอแม่ใจ จะมีขบวนแห่ลิ้นจี่ ประกวดและจาหน่าย
งานเทศกาลลิ้นจี่และของดีเมืองพะเยา จัดขึ้นที่กว๊านพะเยา กิจกรรมมีขบวนแห่ลิ้นจี่ ประกวดผลิตผลการเกษตร
งานประเพณีนมัสการพระเจ้าตนหลวงเดือนแปดเป็ง จัดวันที่ 15 พฤษภาคม จัดที่วัดศรีโคมคา อาเภอเมือง ใน
งานมีประเพณีแห่ครัวตาน
งานกาชาดและงานฤดูหนาว จัดประมาณปลายเดือนธันวาคม-ต้นเดือนมกราคม ณ บริเวณสนามข้างสถานีขนส่ง
จังหวัดพะเยา กิจกรรมจะมีการออกร้านของหน่วยงานราชการ การแสดงทางวัฒนธรรมและการประกวดต่าง ๆ
จ.พะเยา
แหล่งท่องเที่ยว
อนุสาวรีย์พ่อขุนงาเมือง
อดีตกษัตริย์ผู้ปกครองเมืองภูกามยาวลาดับที่ 9 ระหว่างปี พ.ศ. 1801 - 1841 เป็นยุคที่เจริญรุ่งเรืองมาก
ประดิษฐานอยู่ที่สวนสาธารณะเทศบาลเมืองพะเยา (สวนสมเด็จย่า 90) หน้ากว๊านพะเยา เป็นพระสหายร่วมน้า
สาบานกับพ่อขุนเม็งรายแห่งเมืองเชียงราย และพ่อขุนรามคาแหงแห่งกรุงสุโขทัย ซึ่งทั้งสามพระองค์ได้กระทา
สัตย์ต่อกัน ณ บริเวณแม่น้าอิง ซึ่งปัจจุบันอยู่บริเวณสถานีประมงน้าจืดพะเยา พ่อขุนงาเมืองเป็นผู้ทรงอิทธิฤทธิ์
กล่าวกันว่าเมื่อพระองค์เสด็จไปทางไหน แดดก็บ่อฮ้อน ฝนก็บ่อฮา จักให้แดดก็แดด จักให้บดก็บด จึงได้พระ
นามว่างาเมือง
เกิดจาการยุบตัวของเปลือกโลกเมื่อประมาณ 70 ล้านปีมาแล้วเป็นแอ่งน้าซึ่งเป็นที่รวบรวมของลาห้วยต่างๆ 18
สาย ต่อมาในปี 2478 กรมประมงได้ตั้งสถานีประมงน้าจืดจังหวัดพะเยาขึ้นบริเวณต้นแม่น้าอิงและสร้างฝายกั้น
น้าทาให้เกิดเป็นบึงขนาดใหญ่ มีความลึกเฉลี่ย 1.5 เมตร คาว่า "บึง" ภาษาพื้นเมือง เรียกว่า "กว๊าน"
กว๊านพะเยาเป็นแหล่งน้าที่สาคัญที่สุดของจังหวัดพะเยา คือเป็นทั้งแหล่งประมงน้าจืด ที่สาคัญที่สุดของ
ภาคเหนือตอนบน และเป็นสถานที่ท่องเที่ยวของจังหวัดพะเยา มีเนื้อที่ประมาณ 12,831 ไร่ เป็นแหล่ง
เพาะพันธุ์ปลาชนิดต่างๆ เช่น ปลากราย ปลาสวาย ปลาเทโพ ปลาจีน ปลาไน รวมทั้งปลานิล อันลือชื่อของ
จังหวัดพะเยา ทัศนียภาพโดยรอบกว๊านพะเยา มีความร่มรื่น สามารถมองเห็นแนวทิวเขาสลับซับซ้อน งดงาม
มาก บริเวณริมกว๊านมีร้านอาหาร และจัดเป็นสวนสาธารณะเหมาะที่จะไปนั่งเล่น พักผ่อนหย่อนใจในยามเย็น
ชมพระอาทิตย์ตกริมกว๊านเป็นภาพที่สวยงามมาก
จ.พะเยา
สถานีประมงน้าจืดพะเยา
ตั้งอยู่ตรงถนนพหลโยธินระหว่างหลักกิโลเมตรที่ 734-735 เป็นสถานีเพาะพันธุ์ปลาน้าจืด
ปลาที่เพาะพันธุ์เพื่อแจกจ่ายแก่เกษตรกรได้แก่ ปลานิล ปลาไน ปลาตะเพียนขาว ปลายี่สก
เทศ ฯลฯ และสามารถเพาะพันธุ์ปลาบึกได้สาเร็จเพื่อนาไปปล่อยในแหล่งน้าต่างๆ สิ่งที่
น่าสนใจก็คือ ห้องจัดแสดงพันธุ์ปลาสวยงามที่หาดูยากไว้หลายชนิด เปิดให้ชมในวันเวลา
ราชการ และยังมีเรือนประทับสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีเมื่อครั้งเสด็จมาทรง
งานที่จังหวัดพะเยาอยู่ในบริเวณเดียวกัน บริเวณรอบตาหนักจะมีดอกไม้เมืองหนาวนานา
พันธุ์ สระน้าพุอันสวยงาม ตั้งอยู่บริเวณสถานีประมงพะเยา
หอวัฒนธรรมนิทัศน์
อยู่ใกล้กับวัดศรีโคมคา จัดเป็นพิพิธภัณฑ์แสดงโบราณวัตถุ เอกสารข้อมูลสาคัญทาง
ประวัติศาสตร์ของจังหวัดพะเยา และเรื่องราวความเป็นมาทั้งด้านวรรณกรรม ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น วัฒนธรรมประเพณี และวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชาวพะเยาโดยใช้รูปแบบ
เทคโนโลยีสมัยใหม่ เปิดให้เข้าชมในวันพุธ-อาทิตย์ เวลา 09.00-16.00 น.
จ.พะเยา
วัดศรีโคมคา
เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี และวัดพัฒนาตัวอย่าง ประชาชนทั่วไปนิยมเรียกว่า "วัด
พระเจ้าตนหลวง" ซึ่งเป็นพระพุทธรูปศิลปเชียงแสนองค์ใหญ่ที่สุดในล้านนาไทย
ขนาดหน้าตักกว้าง 16 เมตร สูง 18 เมตร สร้างขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2034-2067
พระเจ้าตนหลวง หรือ พระเจ้าองค์หลวง มิใช่เป็นแต่เพียงพระพุทธรูปคู่เมืองพะเยา
เท่านั้น แต่ถือเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองอาณาจักรล้านนาไทยด้วย วันวิสาขบูชามี
งานนมัสการพระเจ้าตนหลวงเป็นประจาทุกปีเรียกว่า "งานประเพณีนมัสการพระเจ้า
องค์หลวงเดือนแปดเป็ง"
วัดพระธาตุจอมทอง
ตั้งอยู่บนดอยจอมทอง ห่างจากตัวเมือง 3 กิโลเมตร อยู่ตรงข้ามกับกับวัดศรีโคมคา
มีถนนขึ้นไปถึงเจดีย์พระธาตุจอมทองเป็นปูชนียสถานโบราณคู่เมืองพะเยา บริเวณ
โดยรอบมีป่าไม้ปกคลุม เป็นสวนรุกชาติ มองเห็นตัวเมืองและกว๊านพะเยาได้
โดยรอบ
จ.พะเยา
วัดอนาลโย
ตั้งอยู่บนดอยบุษราคัมห่างจากตัวจังหวัด 20 กิโลเมตร ไปทางทิศเหนือตามทางหลวงหมายเลข 1
(พะเยา-เชียงราย) ประมาณ 7 กิโลเมตร แล้วเลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 1127-1193 อีก 9
กิโลเมตร ทางลาดยางตลอดสาย บริเวณดอยบุษราคัม และม่อนพระนอน ประกอบด้วยพระพุทธรูป
ศิลปสุโขทัยลักษณะงดงามมาก และยังมีพระพุทธรูปปางต่างๆ อีกหลายองค์ อาทิ พระพุทธไสยาสน์
พระพุทธรูปปางลีลา พระพุทธรูปปางนาคปรก สร้างด้วยความประณีตสวยงามแบบศิลปไทย รัตนเจดีย์
เป็นศิลปะแบบอินเดียพุทธคยา เก๋งจีนประดิษฐานเจ้าแม่กวนอิม หอพระแก้วมรกตจาลอง จากยอดเขา
สามารถชมทัศนียภาพของกว๊านพะเยาและเมืองพะเยาได้อย่างสวยงาม ขึ้นได้ 2 ทาง คือ ทางบันไดและ
ทางรถยนต์
วัดศรีอุโมงค์คา
มีพระเจดีย์สมัยเชียงแสนที่อยู่ในสภาพสมบูรณ์มาก เป็นวัดที่ประดิษฐานพระพุทธรูปคู่เมืองพะเยาอีก
องค์หนึ่งนามว่า "หลวงพ่องามเมืองเรืองฤทธิ์" แต่ชาวบ้านเรียกว่า "พระเจ้าล้านตื้อ" ซึ่งถือกันว่าเป็น
พระพุทธรูปที่มีลักษณะงดงามที่สุดแห่งล้านนาไทย และนับเป็นเอกลักษณ์ทางศิลปะของภูกามยาว
โดยเฉพาะ
จ.พะเยา
วัดลี
ตั้งอยู่หลังโรงเรียนเทศบาล 3 มีสถูปที่เป็นแบบสถาปัตยกรรมของภาคเหนือ และโบราณวัตถุสมัย
อาณาจักรพะเยาอีกมากมาย โดยเฉพาะพระพุทธรูปหินทราย ถือเป็นพิพิธภัณฑ์ย่อยๆ ได้อีกแห่งหนึ่ง
ยังมีพุทธศาสนสถานเก่าในเมืองพะเยาที่น่าสนใจอีกหลายแห่ง ได้แก่ ป่าแดงบุนนาค มีตานานเกี่ยวพัน
ครั้งสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จมายังดินแดนแห่งนี้ วัดศรีจอมเรือง มีศิลปะสวยงามแบบไทยผสม
พม่า วัดราชคฤห์ มีเจดีย์เก่าแก่ของเมืองพะเยา และพระพุทธรูปศิลาซึ่งพุทธลักษณะสวยงามแบบ
เดียวกับพระเจ้าล้านตื้อ
หมู่บ้านทาครกและโม่หิน บ้านงิ้ว
ตาบลบ้านสาง ห่างจากตัวเมืองประมาณ 20 กิโลเมตร ใช้เส้นทางเดียวกับทางไปวัดอนาลโย เป็นถนน
รอบกว๊านพะเยา รถยนต์สามารถเข้าถึงได้ทุกฤดูกาล ชาวบ้านมีอาชีพเสริมหลังการทานาคือการ ทาครก
โม่หิน ใบเสมา และลูกนิมิต เป็นต้น โดยทาเป็นอุตสาหกรรมภายในครอบครัว และส่งไปขายในตัวเมือง
พะเยา
หมู่บ้านทาผลิตภัณฑ์จากผักตบชวา
อยู่ที่บ้านสันป่าม่วงใช้เส้นทางเดียวกับทางไปหมู่บ้านทาครกและโม่หิน ห่างกันประมาณ 2 กิโลเมตร
ชาวป่าม่วงได้รวมตัวกันเป็นกลุ่มขึ้นทาเป็นงานอดิเรก ผลิตภัณฑ์ที่ทาจากผักตบชวา ได้แก่ หมวก
กระเป๋ า จานรองแก้ว และของประดับตกแต่งต่างๆ
จ.อุตรดิตถ์
ประวัติ
ประวัติความเป็นมาต้นกาเนิดของจังหวัดอุตรดิตถ์มีแหล่งกาเนิดมาจากท่าน้าที่สาคัญ
3 ท่า คือ ท่าเซา ท่าอิด และท่าโพธิ์ ซึ่งมีความสาคัญและเจริญรุ่งเรืองมาแต่สมัยขอม
ปกครองท่าอิด ตั้งแต่ พ.ศ. 1400 คาว่า อุตรดิตถ์ เดิมเขียน เป็น อุตรดิษฐ์ (อุตร-
ทิศเหนือ, ดิตถ์-ท่าน้า) เป็นคาที่ตั้งขึ้นในภายหลัง โดยพระบาทสมเด็จพระจอม
เกล้าเจ้าอยู่หัวแห่งราชวงศ์จักรีพระราชทานนามไว้เมื่อ พ.ศ. 2395 แปลว่า "ท่าเรือ
ด้านทิศเหนือของสยามประเทศ" ,อดีตอุตรดิตถ์เป็นชุมนุมที่ใหญ่ที่สุดและสาคัญ
ที่สุดในภาคเหนือในสมัยพระเจ้าตากสินมหาราช และ อุตรดิตถ์ก็เคยเป็นเมืองชั้นโท
เทียบเท่ากับเมืองชั้นเอกเช่นพิษณุโลกในสมัยพระปิยมหาราช และ ในอดีตอุตรดิตถ์
เคยเป็นศูนย์กลางของภาคเหนือตอนล่าง แต่ด้วยภูมิประเทศที่ไม่เอื้ออานวยจึงทาให้
พิษณุโลกได้เป็นศูนย์กลางแห่งภาคเหนือตอนล่างแทน
จ.อุตรดิตถ์
การปกครองแบ่งออกเป็ น 9 อาเภอ 67 ตาบล 562 หมู่บ้าน
1. อาเภอเมืองอุตรดิตถ์
2. อาเภอตรอน
3. อาเภอท่าปลา
4. อาเภอน้าปาด
5. อาเภอฟากท่า
6. อาเภอบ้านโคก
7. อาเภอพิชัย
8. อาเภอลับแล
9. อาเภอทองแสนขัน
จ.อุตรดิตถ์
งานพระยาพิชัยดาบหักและงานกาชาด เป็นงานราลึกถึงวีรกรรมของพระยาพิชัยดาบหัก จัดขึ้นระหว่างวันที่ ๗ - ๑๖ เดือนมกราคมของทุกปี ณ บริเวณ
สนามกีฬาพระยาพิชัยดาบหัก ในงานจะมีการออกร้านของเหล่ากาชาดจังหวัด การแสดงศิลปวัฒนธรรม กิจกรรมรื่นเริงต่าง ๆ และพิธีบวงสรวงพระยา
พิชัยดาบหัก
ประเพณีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระพุทธเจ้า ( วันอัฐมี) จัดขึ้นในวันแรม ๘ ค่า เดือน ๖ คือประมาณเดือนพฤษภาคม ณ วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง
อาเภอลับแล ในงานมีการจาลองพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระพุทธเจ้า การน้อมจิตราลึกถึงองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตลอดจนพระธรรมคาสั่ง
สอนของพระองค์ มีการตกแต่งวัดอย่างสวยงาม พร้อมปฏิบัติธรรมและเทศนาธรรม
งานมนัสการหลวงพ่อโตและมหกรรมของดีเมืองพิชัย จัดขึ้นระหว่างวันที่ ๒-๖ เดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี บริเวณวัดพระธาตุ เป็นงานมนัสการหลวงพ่อ
โต พระพุทธรูปปูนปั้นขนาดใหญ่ และชมมหรสพมากมายภายในงาน ติดต่อที่ว่าการอาเภอพิชัย โทร ๐ ๕๕๒๕ ๒๗๔๒-๓
งานมนัสการพระแท่นศิลาอาสน์ พระพุทธบาทยุคล และพระนอนพุทธไสยาสน์ จัดขึ้นในช่วงขึ้น ๘ ค่า ถึง ๑๕ ค่า เดือน ๓ ในเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งเป็นวัน
มาฆบูชาของทุกปี ณ วัดพระแท่นศิลาอาสน์ วัดพระยืนพุทธบาทยุคล และวัดพระนอนพุทธบาทไสยาสน์ ตาบลทุ่งยั้ง อาเภอลับแล มีการจัดงานสมโภช
งานมหรสพ และการออกร้านสินค้าพื้นเมือง ติดต่อเทศบาลตาบลทุ่งยั้ง โทร ๐ ๕๕๔๔ ๒๒๘๔, ๐ ๕๕๕๑ ๓๔๗๑ และอาเภอลับแล โทร ๐ ๕๕๔๔
๒๐๓๙
ประเพณีแห่น้าขึ้นโรง จัดขึ้นในวันที่ ๑๔ เดือนเมษายนของทุกปี บริเวณเชิงดอยม่อนอารักษ์ อาเภอลับแล มีการ กรวดน้ารดน้าให้แก่บรรพบุรุษที่ล่วงลับ
ไปแล้ว ด้วยการนาน้าอบและน้าหอมไปสรงตามศาลเจ้า ซึ่งเป็นที่นับถือในหมู่บ้าน โดยมีขบวนพิธีจากหมู่บ้านต่าง ๆ อัญเชิญน้าศักดิ์สิทธิ์และเครื่อง
สักการะไปรอบเมือง แวะสักการะอนุสาวรีย์พระศรีพนมมาศ สรงน้าพระเถระผู้ใหญ่ในวัดเจดีย์ศรีวิหาร สักการะดวงวิญญาณบริเวณอนุสาวรีย์เจ้าฟ้า
ฮ่ามกุมาร การแสดงถวายหน้า อนุสาวรีย์ และฟ้ อนรา
งานเทศกาลลางสาดหวานและมหกรรมของดีเมืองอุตรดิตถ์ จัดขึ้นประมาณปลายเดือนกันยายนของทุกปี ณ บริเวณสนามกีฬาพระยาพิชัยดาบหัก หน้า
ศาลากลางจังหวัดอุตรดิตถ์ ซึ่งเป็นช่วงที่ลางสาดอันเป็นผลไม้ขึ้นชื่อของจังหวัด และผลไม้อีกหลากหลายชนิดกาลังออกผล ในงานมีการออกร้านผลไม้
นิทรรศการทางวิชาการเกี่ยวกับลางสาด การประกวดลางสาด การประกวดธิดาลางสาด แม่ม่ายเมืองลับแล ขบวนแห่รถผลไม้ การประกวดรถผลไม้ และ
การออกร้านสินค้าของดี จากทุกอาเภอ
งานเทศกาลวันกระเทียม จัดช่วงต้นเดือนมีนาคม บริเวณสนามกีฬาอาเภอน้าปาด มีการออกร้านจาหน่าย ผลิตภัณฑ์จากกระเทียมและส่วนราชการต่าง
ๆ ประกวดธิดากระเทียม ขบวนแห่ การละเล่นท้องถิ่น และมหรสพต่าง ๆ ติดต่ออาเภอน้าปาด โทร ๐ ๕๕๔๘ ๑๐๔๕
จ.อุตรดิตถ์
แหล่งท่องเที่ยว
อนุสาวรีย์พระยาพิชัยดาบหัก
ประดิษฐานอยู่หน้าศาลากลางจังหวัดอุตรดิตถ์ สร้างขึ้นเพื่อเป็นเกียรติประวัติใน
ความกล้าหาญ รักชาติและเสียสละ เมื่อครั้งพระยาพิชัยครองเมืองพิชัยในสมัยธนบุรี
ท่านได้สร้างเกียรติประวัติไว้โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อปี พ.ศ. 2316 พม่ายกทัพมาตี
เมืองพิชัย พระยาพิชัย ได้ยกทัพไปสกัดทัพพม่าจนแตกพ่ายกลับไป การรบในครั้ง
นั้นดาบคู่มือของพระยาพิชัยข้างขวาได้หักไปหนึ่งเล่ม แต่ก็ยังรบได้ชัยชนะต่อทัพ
พม่า ด้วยวีรกรรมดังกล่าว จึงได้สมญานามว่า พระยาพิชัยดาบหักอนุสาวรีย์แห่งนี้
ออกแบบและหล่อโดยกรมศิลปากร ทาพิธีเปิดเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512
ภายในบริเวณมี พิพิธภัณฑ์ดาบเหล็กน้าพี้ ใหญ่ที่สุดในโลกเป็นที่เก็บรักษาดาบเหล็ก
น้าพี้ ใหญ่ที่สุดในโลก มีน้าหนัก 557.8 กิโลกรัม ฝักดาบทาด้วยไม้ประดู่ ฝัง
ลวดลายมุกหุ้มปลอกเงินสลักสลาย และพิพิธภัณฑ์พระยาพิชัยที่ภายในเก็บรวบรวม
ประวัติของพระยาพิชัยดาบหัก รวมทั้งแบบจาลอง สนามรบ และวิถีชีวิตในสมัย
จ.อุตรดิตถ์
อยู่ที่หมู่ 3 บ้านทุ่งยั้ง ตาบลทุ่งยั้ง จากตัวเมืองอุตรดิตถ์ไปตามทางหลวง
หมายเลข 102 ประมาณ 3 กิโลเมตร จะมองเห็นวัดอยู่ทางซ้ายมือ วัดนี้เป็นวัด
เก่าแก่มีตานานเกี่ยวพันกับอีก 2 วัด ที่อยู่ใกล้เคียงกัน คือ วัดพระยืนพุทธ
บาทยุคล และวัดพระแท่นศิลาอาสน์ เกี่ยวกับการเสด็จมาของพระพุทธเจ้า วัด
แห่งนี้เดิมชื่อ วัดมหาธาตุ ประกอบด้วยวิหารแบบล้านนาซึ่งอยู่ด้านหน้า ถัดไป
เป็นพระบรมธาตุทุ่งยั้งบรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า เป็นเจดีย์เก่าแก่
แบบลังกาทรงกลมฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยม 3 ชั้น ฐานล่างมีเจดีย์องค์เล็กๆ เป็น
บริวารอยู่ 4 มุม ฐานชั้นที่ 3 มีซุ้มคูหา 4 ด้าน สันนิษฐานว่าได้บูรณะขึ้นภายหลัง
จ.อุตรดิตถ์
หลวงพ่อเพชรวัดท่าถนน
วัดท่าถนนเดิมชื่อ วัดวังเตาหม้อ ตั้งอยู่บริเวณริมแม่น้าน่าน ถนนเกษมราษฎร์ ตาบล
ท่าอิฐ เป็นที่ประดิษฐานหลวงพ่อเพชร เป็นพระพุทธรูปสัมฤทธิ์สมัยเชียงแสน
นั่งขัดสมาธิเพชร ตามประวัติกล่าวว่า ในปี พ.ศ. 2436 ขณะหลวงพ่อด้วงเจ้าอาวาส
วัดหมอนไม้ เดินทางกลับจากรับนิมนต์ที่วัดสว่างอารมณ์ ตาบลไผ่ล้อม อาเภอลับแล
เมื่อผ่านวัดสะแกที่เป็นวัดร้าง ได้พบเนินดินเป็นจอมปลวกขนาดใหญ่มีเกศ
พระพุทธรูปโผล่ขึ้นมา เมื่อขุดดูพบว่าเป็นพระพุทธรูปสัมฤทธิ์ มีลักษณะงดงามมาก
จึงนามาประดิษฐานไว้ที่วัดท่าถนน มีคนมากราบไหว้บูชาเป็นจานวนมาก ประกอบ
กับเป็นพระพุทธรูปนั่งขัดสมาธิเพชร จึงเรียกกันว่า หลวงพ่อเพชร
วัดใหญ่ท่าเสา
ตั้งอยู่ที่ถนนสาราญรื่น ตาบลท่าเสา อยู่ใกล้กับสถานีรถไฟท่าเสา วัดนี้มีวิหารเก่าแก่
ซึ่งมีบานประตูไม้แกะสลัก 2 บาน ตลอดจนลายไม้ที่วิหารด้านหน้า และมีหอไตร
โบราณที่มีรูปแบบสีสันสวยงาม ซึ่งใช้เป็นที่เก็บพระไตรปิฎก
จ.อุตรดิตถ์
อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว
มีพื้นที่ 149,375 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่ของอาเภอบ้านโคก อาเภอน้าปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ และอาเภอชาติตระการ
จังหวัดพิษณุโลก ได้รับการประกาศเป็นอุทยานฯ เมื่อปี 2537 ลักษณะภูมิประเทศประกอบด้วยภูเขาสูงตามแนว
ชายแดนไทย - ลาว มียอดภูสอยดาวสูงที่สุด 2,102 เมตร จากระดับทะเล สภาพพื้นที่เป็นภูเขาสูงที่ป่าปกคลุม
เป็นป่าดิบเขาสลับทุ่งหญ้าและป่าสน เช่น ป่าสนสามใบ อากาศหนาวเย็นเกือบตลอดทั้งปี มีดอกไม้ป่าพันธุ์ต่างๆ
เช่น ดอกหงอนนาค ดอกไม้ดินต่างๆ ขึ้นอยู่กลางป่าสน ภูสอยดาวสามารถจะมาท่องเที่ยวได้ทั้งปี แต่ถ้าหากอยาก
ดูดอกไม้สีสวยๆ ที่มักจะขึ้นเพื่อรับความชุ่มชื้นในช่วงหน้าฝน ควรจะมาในช่วงปลายฝนต้นหนาว
สถานที่ท่องเที่ยวน่าสนใจภายในอุทยานฯ ได้แก่
น้าตกภูสอยดาว อยู่ใกล้ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว มี 5 ชั้น มีน้าไหลตลอดปี แต่จะมีน้ามากในช่วงหน้าฝน
ลานสน การเดินทางสู่ยอดลานสนต้องขึ้นเขาลาดชันเกือบตลอดเส้นทาง และผ่านเนินต่าง ๆ ที่มีชื่อบอกถึงความ
ยากลาบากในการเดินผ่านแต่ละเนิน เช่น เนินส่งญาติ เนินปราบเซียน เนินป่าก่อ เนินเสือโคร่ง และเนินมรณะ ที่มี
ความสูงชันมากที่สุด แต่เส้นทางที่เดินขึ้นไปนั้นไม่ยุ่งยากเพราะจะเดินไต่เขาขึ้นไปตามสันเขา ไม่มีทางแยกไปไหน
ระยะทางเดินเท้าขึ้นลานสนประมาณ 6.5 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินเท้าประมาณ 5-6 ชั่วโมง บนลานสนจะเป็นทุ่ง
หญ้า มีต้นสนสองใบ สนสามใบ ต้นหงอนนาค ที่มีสีม่วงตัดกับดอกสร้อยสุวรรณาที่มีสีเหลือง ออกดอกให้ดู
สวยงาม และดอกไม้อีกนานาชนิด ที่ขึ้นอวดความสวยงามและสร้างความสดขื่นสดใสให้กับลานสน บนลานสนเป็น
จุดชมพระอาทิตย์ตกที่สวยงามด้วย บนลานสนไม่มีบ้านพักและอาหาร หากต้องการจะขึ้นไปพักค้างแรมต้อง
เตรียมเต็นท์และอาหารไปเอง และหากนักท่องเที่ยวต้องการลูกหาบช่วยขนสัมภาระก็มีบริการ การจะขึ้นบนลาน
สนต้องติดต่อขอเจ้าหน้าที่นาทาง และอุทยานฯ จะอนุญาตให้ขึ้นได้ตั้งแต่เวลา 08.00–13.00 น.
จ.อุตรดิตถ์
น้าตกสายทิพย์ เป็นน้าตกอยู่บนลานสน มี 7 ชั้น ทางไปน้าตกเป็นหุบเขา ค่อนข้างลาดชัน
อุทยานฯ มีบ้านพักบริการนักท่องเที่ยว และสามารถกางเต็นท์ได้บนยอดลานสน สอบถามรายละเอียด
ได้ที่ กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ โทร. 579–5734, 579–7223 หรือที่ อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว
ตาบลห้วยมุ่น อาเภอน้าปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ 53110
การเดินทาง
จากจังหวัดอุตรดิตถ์ ใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 1045 ผ่านเขื่อนสิริกิติ์ สู่อาเภอน้าปาด ระยะทาง 68
กิโลเมตร ต่อจากนั้นใช้เส้นทางหมายเลข 1239 ไปทางบ้านห้วยมุ่นอีกประมาณ 47 กิโลเมตร และจาก
บ้านห้วยมุ่นใช้เส้นทางหมายเลข 1268 อีก 18 กิโลเมตร ก็จะถึงน้าตกภูสอยดาว ซึ่งเป็นจุดเริ่มเดินเท้า
ขึ้นสู่ยอดลานสน สาหรับรถโดยสารประจาทาง จากอุตรดิตถ์จะมีรถโดยสารปรับอากาศออกจากตลาด
อาเภอเมือง (ตลาดต้นโพธิ์) ไปอาเภอน้าปาดทุกชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 06.00–17.00 น. (แต่รถเที่ยวแรก
จะเข้ามาที่สถานีขนส่ง เวลา 05.00 น.) ใช้เวลาประมาณ 2.30 ชั่วโมง จากนั้นลงรถที่หน้าโรงพยาบาล
อาเภอน้าปาด จะมีท่ารถสองแถว ต้องเหมารถไปภูสอยดาวประมาณ 300 บาท ใช้เวลาเดินทางอีก 3
ชั่วโมง สาหรับผู้ที่ต้องการจะเดินทางกลับทางอาเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก ต้องเหมารถไป ราคา
ประมาณ 500 บาท ใช้เวลา 2 ชั่วโมง และต่อรถโดยสารไม่ปรับอากาศที่อาเภอชาติตระการ สายชาติ
ตระการ-นครไทย-พิษณุโลก มีรถบริการระหว่างเวลา 05.00–17.30 น. ช่วงนี้ใช้เวลา 3 ชั่วโมง ค่า
โดยสาร 43 บาท รถโดยสารจากพิษณุโลก กลับกรุงเทพฯ ควรจะไปซื้อตั๋วที่บริษัทในตลาดโดยตรง
มากกว่าที่จะมาที่สถานีขนส่ง เนื่องจากมีโควต้าขายตั๋วน้อย
จ.อุตรดิตถ์
บ่อเหล็กน้าพี้
อยู่ที่หมู่ 1 บ้านน้าพี้ ตาบลน้าพี้ ห่างจากตัวจังหวัด ประมาณ 56 กิโลเมตร ตามเส้นทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข 11 และเข้าทางหลวงจังหวัดหมายเลข 1245 เป็นโบราณสถานซึ่งมีความสาคัญ เนื่องจากเป็น
แหล่งเหล็กกล้า ที่นามาทาพระแสงดาบตั้งแต่สมัยโบราณ เดิมมีอยู่ด้วยกันหลายบ่อ มีบ่อหนึ่งเรียกว่า
บ่อพระแสง ห้ามมิให้ผู้ใดขุดเหล็กจากบ่อนี้ โดยสงวนไว้ใช้ทาพระแสงดาบสาหรับพระมหากษัตริย์
เท่านั้น และ บ่อพระขรรค์ เป็นบ่อที่ในสมัยโบราณมีช่างทาพระขรรค์ถวายพระมหากษัตริย์ ได้นาแร่
เหล็กน้าพี้จากบ่อพระขรรค์ไปถลุงทาพระขรรค์ ภายในบริเวณมี พิพิธภัณฑ์บ่อเหล็กน้าพี้ รวบรวม
หลักฐานต่างๆ เกี่ยวกับประวัติเหล็กน้าพี้ โดยจัดแสดงและจาลองให้เห็นถึงกระบวนการ ขั้นตอนการตี
เหล็กน้าพี้ ตั้งแต่การขุดแร่เหล็กน้าพี้จนตีเป็นดาบที่มีความแกร่งและความคมเป็นเลิศ ดาบน้าพี้จึงเป็น
อาวุธคู่กายของขุนศึกและนักรบไทยในสมัยโบราณตลอดมา พิพิธภัณฑ์แห่งนี้เปิดเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม
2542 เปิดให้เข้าชมฟรีทุกวัน เวลา 08.00 – 17.00 น.
เหล็กน้าพี้ในสมัยโบราณ นิยมนาไปตีเป็นพระแสงราชศัสตราของพระเจ้าแผ่นดิน จึงมีความเขื่อว่าเป็น
เหล็กศักดิ์สิทธิ์ที่สามารถแก้อาถรรพณ์ อยู่ยงคงกระพันและป้องกันภูตผีปีศาจได้เป็นอย่างดี จึงเหมาะ
สาหรับผุ้ที่ต้องเดินทางไปในถิ่นแปลกที่อยุ่เป็นประจา และผู้ที่ต้องพักค้งอ้างแรมในสถานที่ต่างๆอยู่
เสมอ
จ.เชียงใหม่
ประวัติและความเป็ นมา
เมืองเชียงใหม่ มีชื่อปรากฏในตานานว่า "นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่" ซึ่งเป็นราชธานีของ
อาณาจักรล้านนา สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 1839 โดยพญามังรายในอดีตเชียงใหม่มีฐานะเป็น
เมืองหลวงของราชอาณาจักรนครรัฐอิสระ ชื่อว่า อาณาจักรล้านนา ซึ่งปกครองโดยกษัตริย์
ราชวงศ์มังราย ประมาณ 261 ปี (ระหว่าง พ.ศ. 1839-พ.ศ. 2101) แต่ต่อมาในปี พ.ศ.
2101 เชียงใหม่ได้เสียเมืองให้แก่พระเจ้าบุเรงนอง พระมหากษัตริย์พม่า และได้ถูก
ปกครองโดยพม่ามานานกว่าสองร้อยปี จนถึงสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี จึงได้มีการทา
สงครามเพื่อขับไล่พม่าออกจากเมืองเชียงใหม่และเชียงแสนได้สาเร็จ โดยการนาของเจ้ากาวิ
ละและพระยาจ่าบ้านหลังจากนั้น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรง
พระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเจ้ากาวิละ ขึ้นเป็น พระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ โดยให้
ปกครองหัวเมืองฝ่ายเหนือในฐานะประเทศราชของกรุงรัตนโกสินร์ และราชวงศ์ทิพย์จักราธิ
วงศ์ (ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน) ซึ่งเป็นเชื้อสายของพระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ ก็ได้ปกครอง
เมืองเชียงใหม่และหัวเมืองต่าง ๆ สืบต่อมา และเปลี่ยนชื่อเมืองเป็น "รัตนติงสาอภินวบุรี
เชียงใหม่"
จ.เชียงใหม่
จังหวัดเชียงใหม่แบ่งเขตการปกครองออกเป็ น 25 อาเภอ 204 ตาบล 2,066 หมู่บ้าน ซึ่งอาเภอทั้ง 25 อาเภอมีดังนี้
1. อาเภอเมืองเชียงใหม่
2. อาเภอจอมทอง
3. อาเภอแม่แจ่ม
4. อาเภอเชียงดาว
5. อาเภอดอยสะเก็ด
6. อาเภอแม่แตง
7. อาเภอแม่ริม
8. อาเภอสะเมิง
9. อาเภอฝาง
10. อาเภอแม่อาย
11. อาเภอพร้าว
12. อาเภอสันป่าตอง
13. อาเภอสันกาแพง
14. อาเภอสันทราย
15. อาเภอหางดง
16. อาเภอฮอด
17. อาเภอดอยเต่า
18. อาเภออมก๋อย
19. อาเภอสารภี
20. อาเภอเวียงแหง
21. อาเภอไชยปราการ
22. อาเภอแม่วาง
23. อาเภอแม่ออน
24. อาเภอดอยหล่อ
25. อาเภอกัลยาณิวัฒนา
จ.เชียงใหม่
ประเพณีของเชียงใหม่
นับจากอดีต ชีวิตของชาวล้านนาผูกพันอยู่กับพุทธศาสนา ซึ่งจะเห็นได้จากการดาเนินชีวิต และสถาบันทางศาสนา
ในชุมชน รวมทั้งระบบหัววัด ซึ่งมีการรวมกลุ่มของวัดต่าง ๆ ไม่ว่าใกล้หรือไกลกัน และคนในชุมชนหนึ่งชักชวน
คนอีกชุมชนหนึ่งมาทาบุญที่วัดของตน เป็นการเชื่อมความสัมพันธ์กัน
ขณะที่พุทธศาสนามีส่วนสัมพันธ์กับชีวิตของคนเมืองอย่างลึกซึ้ง แต่ความเชื่อดั้งเดิมเรื่องผีปู่ย่าและผีเสื้อเมือง ผี
เจ้าเมืองก็มีปะปนอยู่ จนแยกกันไม่ออก ชาวล้านนาสามารถนาทั้งสองอย่างมาผสมผสานกันได้ อย่างกลมกลืน ใน
งานพิธีและประเพณีต่าง ๆ ซึ่งจะพบได้ในปัจจุบัน
ประเพณีและงานพิธีที่สาคัญในรอบปีของชาวเชียงใหม่มีอยู่มากมาย อาทิ ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีเข้าอินทขีล
ประเพณี ลอยโคมลอยโขมด ประเพณีสรงน้าพระธาตุจอมทอง และพิธีเลี้ยงผีปู่และย่า เป็นต้น
ประเพณีสงกรานต์
ประเพณีสงกรานต์เป็นงานที่ยิ่งใหญ่ของชาวล้านนา เนื่องจากเป็นช่วงเวลาเปลี่ยนศักราชใหม่ และขอสิ่งศักดิ์สิทธิ์
ทั้งหลาย ให้ปัดเป่าทุกข์โศกโรคภัยให้ล่วงไปในปีเก่า พร้อมทั้ง เตรียมร่างกายและจิตใจให้สดใสรับปีใหม่ โดยจะ
เริ่มจัดขึ้น ตั้งแต่วันที่ 13 ถึงวันที่ 18 เม.ย. ของทุกปี แต่ชาวล้านนาถือวันที่ 15 เม.ย. เป็นวันเปลี่ยนศักราชใหม่
ต่างจากภาคกลาง และในระยะเวลา 6 วันนี้จะประกอบพิธีหลายอย่าง
วันที่ 13 เม.ย. ถือเป็นวันสังขารล่อง (วันสิ้นสุดปีเก่า) ส่วนใหญ่ชาวบ้านจะยิงปืน จุดประทัด ก่อนสว่าง เพื่อขับไล่
เสนียดจัญไร แล้วเก็บกวาดบ้านเรือน หิ้งพระ
จ.เชียงใหม่
วันที่ 14 เม.ย. เป็นวันที่เรียกกันว่า "วันเนา" หรือ "วันเน่า" วันนี้ชาวเชียงใหม่จะทาแต่สิ่งที่เป็นสิริมงคล พร้อมทั้ง
ตระเตรียมอาหาร คาวหวาน เครื่องไทยทาน เพื่อทางานบุญในวันสงกรานต์ และไปขนทรายเข้าวัด
วันที่ 15 เรียกว่า "วันพญาวัน" ถือเป็นวันเริ่มศักราชใหม่ ชาวเชียงใหม่จะไปทาบุญตักบาตรที่วัด และถวายอาหาร
พระที่เรียกว่า "ทานขันข้าว" เพื่ออุทิศแก่ผู้ล่วงลับ และสรงน้าพระ หลังจากนั้นจึงนาขันข้าวตอก ดอกไม้ ธูปเทียน
น้าขมิ้น ส้มป่อย หมากพลู เมี่ยง หรืออาจมีเครื่องนุ่งห่ม ไปรดน้าดาหัวผู้ใหญ่
ส่วนวันที่ 16-18 เม.ย. เรียกว่า "วันปากปี ปากเดือน ปากวัน" จะเป็นวันประกอบพิธีกรรมสักการะต่อวิญญาณ
ศักดิ์สิทธิ์ทั่วไป
ประเพณีเข้าอินทขีล
อินทขีล เป็นชื่อของเสาหลักเมืองของชาวเชียงใหม่ เดิมประดิษฐานอยู่ ณ วัดสะดือเมือง หรือวัดอินทขีล กลางเมือง
เชียงใหม่ แต่ปัจจุบันย้ายไปไว้ที่วัดเจดีย์หลวง ในสมัยของพระยากาวิละ และได้บูรณะปฏิสังขรณ์ใหม่เป็นเสาปูน
การจัดงานประเพณีเข้าอินทขีล จัดขึ้นในปลายเดือน 8 ต่อต้นเดือน 9 (พฤษภาคม-มิถุนายน) ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า
วันเดือน 8 เข้า เดือน 9 ออก
เดิมประเพณีนี้เจ้าผู้ครองนครจะจัดขึ้นเพื่อสังเวยเทพยดาอารักษ์ บูชากุมภัณฑ์ และมีพิธีเข้าทรงผีเจ้านาย เพื่อ
สอบถามว่า ฝนฟ้ าจะอุดมสมบูรณ์ และชะตาบ้านเมืองจะดีหรือไม่ หากชะตาของบ้านเมืองไม่ดี ก็จะจัดพิธีสืบ
ชะตาเมืองเพิ่มขึ้นด้วย และปัจจุบันได้เพิ่มการทาพิธีทางพุทธศาสนาเข้ามาอีกอย่างหนึ่ง โดยการแห่พระพุทธรูป
คันธารราษฎร์ (พระเจ้าฝนแสนห่า) รอบเมือง และจะนามาประดิษฐาน ณ วัดเจดีย์หลวง เพื่อให้ชาวเมืองสรงน้า
จากนั้นพระสงฆ์ 9 รูป จะเจริญพระพุทธมนต์บูชาเสาอินทขีล ซึ่งฝังอยู่ใต้ดิน การประกอบพิธีนี้เพื่อมุ่งเสริมสร้าง
ขวัญและกาลังใจของชาวเมืองก่อนที่จะเริ่มต้นฤดูกาลเพาะปลูก
จ.เชียงใหม่
ประเพณีสรงน้าพระธาตุจอมทอง
วัดพระธาตุจอมทองวรวิหาร เป็นศาสนสถานเก่าแก่ที่สาคัญ ตั้งอยู่บนเนินสูงราว 10 เมตร ที่เรียกว่า
"ดอยจอมทอง" และมีเจดีย์ซึ่งเป็นที่ประดิษฐานพระทักษิณโมลีธาตุ (ส่วนที่เป็นพระเศียรด้านขวาของ
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า)
พระบรมสารีริกธาตุจอมทองนั้น ประดิษฐานอยู่ในพระโกศ 5 ชั้น มีจานวน 1 องค์ ขนาดเท่าเมล็ดถั่วเขียว
มีสีขาวนวลและ ออกน้าตาลคล้ายสีดอกพิกุลแห้ง บรรจุไว้ในเจดีย์ ซึ่งจะมีการอัญเชิญออกมาให้
ประชาชนได้สักการะและสรงน้า 2 ครั้ง ในทุกปี คือวันที่พระบรมสารีริกธาตุเข้าพรรษาและออกพรรษา
วันขึ้น 15 ค่า เดือน 9 ของแต่ละปี จะเป็นวันที่พระบรมสารีริกธาตุเข้าพรรษา พระภิกษุจะอัญเชิญพระ
บรมสารีริกธาตุออกจากพระโกศ 5 ชั้น มาประดิษฐานในพระโกศแก้วใส แล้วแห่ไปทาพิธีที่โบสถ์ ใน
ระหว่างทางชาวบ้านจะโยนข้าวตอกดอกไม้ไปยังพระโกศ เพื่อถวายเป็นสักการะ เมื่อทาพิธีเสร็จก็จะแห่
จากโบสถ์ไปยังหอสรงข้างวิหาร หอสรงนี้จะมีรางน้าเป็นรูปตัวนาคสาหรับใช้สรงน้า และเดิมจะใช้น้าแม่
กลาง ผสมด้วยดอกคาฝอย เป็นน้าสาหรับสรง แต่ปัจจุบันใช้น้าสะอาดธรรมดา เสร็จแล้วจึงอัญเชิญเข้า
จาพรรษาในพระโกศ 5 ชั้น ตามเดิม และกลางคืนพระภิกษุจะสวดเจริญพระพุทธมนต์ เป็นอันเสร็จพิธี
วันขึ้น 15 ค่า เดือน 5 ของแต่ละปี จะเป็นวันที่พระบรมสารีริกธาตุออกพรรษา จะมีประเพณีพิธีการ
เช่นเดียวกับวันที่พระบรมสาริกธาตุเข้าพรรษา แต่จะเป็นพิธีเล็กกว่า ชาวบ้านไม่ค่อยมาร่วมสรงน้ามาก
นัก
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย
โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย

More Related Content

More from KawinTheSinestron

ความรู้เรื่อง Blog
ความรู้เรื่อง Blogความรู้เรื่อง Blog
ความรู้เรื่อง BlogKawinTheSinestron
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวKawinTheSinestron
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวKawinTheSinestron
 
ตัวอย่างโครงงานเพื่อการศึกษา
ตัวอย่างโครงงานเพื่อการศึกษาตัวอย่างโครงงานเพื่อการศึกษา
ตัวอย่างโครงงานเพื่อการศึกษาKawinTheSinestron
 
ตัวอย่างโครงงานการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ตัวอย่างโครงงานการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ตัวอย่างโครงงานการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ตัวอย่างโครงงานการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์KawinTheSinestron
 
ตัวอย่างโครงงานการพัฒนาเครื่องมือ
ตัวอย่างโครงงานการพัฒนาเครื่องมือตัวอย่างโครงงานการพัฒนาเครื่องมือ
ตัวอย่างโครงงานการพัฒนาเครื่องมือKawinTheSinestron
 
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งาน
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งานตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งาน
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งานKawinTheSinestron
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีKawinTheSinestron
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานKawinTheSinestron
 

More from KawinTheSinestron (20)

ความรู้เรื่อง Blog
ความรู้เรื่อง Blogความรู้เรื่อง Blog
ความรู้เรื่อง Blog
 
Thai o net
Thai o netThai o net
Thai o net
 
Social o net
Social o netSocial o net
Social o net
 
Science o net
Science o netScience o net
Science o net
 
Math o net
Math o netMath o net
Math o net
 
Eng o net
Eng o netEng o net
Eng o net
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
โมเมบล็อค
โมเมบล็อคโมเมบล็อค
โมเมบล็อค
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติ
 
ข้อมูล
ข้อมูลข้อมูล
ข้อมูล
 
mint's
mint'smint's
mint's
 
Bow's blog
Bow's blogBow's blog
Bow's blog
 
ตัวอย่างโครงงานเพื่อการศึกษา
ตัวอย่างโครงงานเพื่อการศึกษาตัวอย่างโครงงานเพื่อการศึกษา
ตัวอย่างโครงงานเพื่อการศึกษา
 
ตัวอย่างโครงงานการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ตัวอย่างโครงงานการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ตัวอย่างโครงงานการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ตัวอย่างโครงงานการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
ตัวอย่างโครงงานการพัฒนาเครื่องมือ
ตัวอย่างโครงงานการพัฒนาเครื่องมือตัวอย่างโครงงานการพัฒนาเครื่องมือ
ตัวอย่างโครงงานการพัฒนาเครื่องมือ
 
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งาน
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งานตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งาน
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งาน
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
ความหมาย
ความหมายความหมาย
ความหมาย
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 

โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย

  • 1. โครงงาน 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย โดย นายกวิน ปัญญาวงค์ เลขที่22 นายรัตนธร เพ็ชถม เลขที่27 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จ.เชียงใหม่
  • 3. เกี่ยวกับโครงงาน • ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) 9 จังหวัดภาคเหนือ ไทย • ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) 9 provinces in northern Thailand • ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา • ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นายกวิน ปัญญาวงค์ 2. นายรัตนธร เพ็ชถม • ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ • ระยะเวลาดาเนินงาน พฤศจิกายน 2557 - กุมภาพันธ์ 2558
  • 4. ที่มาและความสาคัญ เมืองไทยมีความเป็นมาอันยาวนานมากกว่า 700 ปี ด้วยประวัติศาสตร์ และทรัพย์สิน ทางความรู้อันมีค่ามากมายที่เราต่างสืบทอดต่อๆกันมาจากบรรพบุรุษ เอกสารเล่มนี้จะพาท่าน ไปสู่การไขความรู้และทาความรู้จักกับส่วนหนึ่งของเมืองไทยในถิ่นล้านนา ทั้ง 9 จังหวัดในภาคเหนือของไทยนั้นมีประวัติศาสตร์อันยาวนานควบคู่มากับ ประวัติศาสตร์ชาติไทยมาโดยตลอด เรียกได้ว่ามีความเก่าแก่ที่มากล้น ทุกจังหวัดที่จะได้กล่าวถึงนี้ ล้วนแล้วแต่เคยเป็นนครรัฐอันเป็นอิสระมาก่อน ทาให้มีเรื่องราวที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองในแต่ละ จังหวัด บอกเล่าเรื่องราวออกมาผ่านประวัติศาสตร์อันยาวนาน
  • 5. วัตถุประสงค์ 1. นาเสนอข้อมูล เรื่องราว และประวัติของแต่ละจังหวัดทั้ง 9 จังหวัด 2. ข้อมูลการแบ่งเขตการปกครอง การบริหารส่วนท้องถิ่น 3. ชี้ชวนให้เกิดการท่องเที่ยวภายในจังหวัดต่างๆด้วยสถานที่ และแหล่งท่องเที่ยว มากมาย
  • 6. ขอบเขตโครงงาน 1. จ.ลาพูน - ประวัติ - การแบ่งการปกครอง - แหล่งท่องเที่ยว 2. จ.แพร่ - ประวัติ - การแบ่งการปกครอง - แหล่งท่องเที่ยว 3. จ.พะเยา - ประวัติ - การแบ่งการปกครอง - แหล่งท่องเที่ยว
  • 7. ขอบเขตโครงงาน 4. จ.อุตรดิตถ์ - ประวัติ - การแบ่งการปกครอง - แหล่งท่องเที่ยว 5. จ.เชียงใหม่ - ประวัติ - การแบ่งการปกครอง - แหล่งท่องเที่ยว 6. จ.แม่ฮ่องสอน - ประวัติ - การแบ่งการปกครอง - แหล่งท่องเที่ยว
  • 8. ขอบเขตโครงงาน 7. จ.น่าน - ประวัติ - การแบ่งการปกครอง - แหล่งท่องเที่ยว 8. จ.ลาปาง - ประวัติ - การแบ่งการปกครอง - แหล่งท่องเที่ยว 9. จ.เชียงราย - ประวัติ - การแบ่งการปกครอง - แหล่งท่องเที่ยว
  • 9. หลักการและทฤษฎี จังหวัดทั้ง 9 จังหวัด ครั้งหนึ่งเคยเป็นนครรัฐปกครองตนเอง มีความ ยิ่งใหญ่รุ่งโรจน์เป็นของตนเอง จนกระทั่งได้รวมตัวกันเป็นอาณาจักรล้านนาและเป็น ส่วนหนึ่งของสยามประเทศ ในอดีตจังหวัดแต่ละจังจึงมีเรื่องราวความเป็นมาแตกต่างกันออกไปถึงแม้จะอยู่ ในภูมิภาคเดียวกันและถึงแม้จะเคยเป็นส่วนของอาณาจักรล้านนาเหมือนกันก็ตาม แต่ แต่ละจังหวัดก็มีประวัติศาสตร์ที่แตกต่างกัน มีแหล่งท่องเที่ยวที่แตกต่างกัน
  • 12. แหล่งอ้างอิง • file:///C:/Users/Administrator/Downloads/Chiang-Rai.html • file:///C:/Users/Administrator/Downloads/Nan.html • file:///C:/Users/Administrator/Downloads/Lampang%20.ht ml • file:///C:/Users/Administrator/Downloads/Mae-Hong- Son.html • file:///C:/Users/Administrator/Downloads/Chiang-Mai.html • file:///C:/Users/Administrator/Downloads/Phrae.html • file:///C:/Users/Administrator/Downloads/Lamphun.html • file:///C:/Users/Administrator/Downloads/Phayao.html • file:///C:/Users/Administrator/Downloads/Uttaradit.html
  • 13. จ.ลาพูน ประวัติ จังหวัดลาพูน เดิมชื่อเมืองหริภุญไชย เป็นเมืองโบราณเก่าแก่ที่สุดในจังหวัดภาคเหนือมี อายุประมาณ 1,339 ปี ตามพงศวดารโยนกเล่าสืบต่อกันมาถึงการสร้างเมืองหริภุญไชย โดยฤาษี วาสุเทพ เป็นผู้เกณฑ์พวกเม็งค์บุตรหรือเชื้อชาติมอญมาสร้างเมืองนี้ขึ้นในพื้นที่ระหว่างแม่น้าสอง สายคือ แม่น้ากวงและแม่น้าปิง เมื่อมาสร้างเสร็จได้ส่งฑูตไปเชิญราชธิดากษัตริย์ เมืองละโว้พระ นาม “จามเทวี” มาเป็นปฐมกษัตริย์ปกครองเมืองหริภุญไชยสืบราชวงศ์กษัตริย์ ต่อมาหลายพระองค์ จนกระทั่งถึงสมัยพระยายิบา จึงได้เสียการปกครองให้แก่พ่อขุนเม็งรายมหาราชผู้รวบรวมแว่นแคว้น ทางเหนือเข้าเป็นอาณาจักรล้านนา เมืองลาพูน ถึงแม้ว่าจะตกอยู่ในการปกครองของอาณาจักรล้านนา แต่ก็ได้ถ่ายทอดมรดกทางศิลปและวัฒนธรรมให้ผู้ที่เข้ามาปกครองเมืองลาพูน จึงยังคงความสาคัญ ในทางศิลปะและวัฒนธรรมของอาณาจักรล้านนา จนกระทั่งสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมือง ลาพูนได้เข้ามาอยู่ในอาณาจักรไทย มีผู้ครองนครสืบต่อกันมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมา ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เมื่อเจ้าผู้ครองนครองค์สุดท้าย คือ พลตรีเจ้าจักรคา ขจรศักดิ์และเมื่อเจ้าจักรคาขจรศักดิ์ถึงแก่พิราลัย เมืองลาพูนจึงเปลี่ยนแปลงเป็นจังหวัดลาพูน มีผู้ว่า ราชการจังหวัดเป็นผู้ปกครองสืบต่อกันมาจนกระทั่งปัจจุบัน
  • 14. จ.ลาพูน จังหวัดลาพูนแบ่งการปกครองแบ่งออกเป็ น 8 อาเภอ 51 ตาบล 520 หมู่บ้าน 1. อาเภอเมืองลาพูน 2. อาเภอแม่ทา 3. อาเภอบ้านโฮ่ง 4. อาเภอลี้ 5. อาเภอทุ่งหัวช้าง 6. อาเภอป่าซาง 7. อาเภอบ้านธิ 8. อาเภอเวียงหนองล่อง
  • 15. จ.ลาพูน ประเพณีสรงน้าพระธาตุหริภุญชัย เป็นประเพณีเก่าแก่ มีขึ้นในวันเพ็ญเดือนหก หรือที่ชาวลาพูนเรียกว่า วันแปดเป็งของทุกปี โดยมีพิธีสรง น้าและงานสมโภชพระธาตุหริภุญชัย พระบาทสมเด็จพระเจาอยู่หัว ได้โปรดเกล้าฯ พระราชทานน้าสรง พระธาตุเป็นประจาทุกปี นอกจากชาวลาพูนแล้ว ยังมีชาวจังหวัดใกล้เคียง และนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศ เข้าชมงานนี้อย่างหนาแน่น งานเทศกาลลาไย เป็นงานใหญ่ประจาปีของชาวจังหวัดลาพูน ซึ่งจะจัดในช่วงเดือนสิงหาคมของทุกปี ภายในงานจะมีขบวน แห่รถลาไยที่ประดับตกแต่งอย่างสวยงาม การประกวดธิดาลาไย และการออกร้านค้า ประกวดผลิตผล ทางการเกษตร และจาหน่ายสินค้าพื้นเมือง งานฤดูหนาวและกาชาดจังหวัดลาพูน จัดขึ้นในช่วงปลายเดือนพฤศจิกายนของทุกปี ณ สนามกีฬากลางจังหวัด ภายในงานมีนิทรรศการของ ส่วนราชการ การแสดงมหรสพ การจาหน่ายผลผลิตทางการเกษตร งานของดีศรีหริภุญชัย เป็นงานแสดงและจาหน่ายสินค้าผลิตผลทางการเกษตร และเกษตรแปรรูปนานาชนิด ซึ่งเกษตรกรและ กลุ่มแม่บ้านของจังหวัดเป็นผู้ผลิต ในงานมีขบวนแห่ของกลุ่มแม่บ้าน การแสดงทางศิลปวัฒนธรรม การ ประกวดเรือนชนบท การออกร้านขายสินค้าหัตถกรรมในราคาย่อมเยา
  • 16. จ.ลาพูน แหล่งท่องเที่ยว อุทยานแห่งชาติแม่ปิง เดิมชื่อว่าอุทยานแห่งชาติแม่หาดแม่ก้อ ได้ประกาศจัดตั้งเป็น อุทยานแห่งชาติ เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2524 ครับ มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 1,003 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมอยู่ในท้องที่ อาเภอดอยเต่า จังหวัด เชียงใหม่ อาเภอลี้ จังหวัด ลาพูน และอาเภอสามเงา จังหวัดตาก ที่ทาการอุทยานแห่งชาติแม่ปิง ตั้งอยู่ในท้อง ที่ตาบล แม่ลาน อาเภอลี้ จังหวัดลาพูน โดยมีทางแยกจากทางหลวงหมายเลข 106 สายลาพูน-ลี้- ก้อ ตรง กิโลเมตรที่ 47 เข้าไปตามทางหลวงหมายเลข 1087 เป็นทางลูกรังระยะทาง ประมาณ 20 กิโลเมตร ก็ถึงที่ทา การอุทยานฯเนื่องจากภายในเขตอุทยานแห่งชาติแม่ปิงมี พื้นที่บางส่วนเป็นพื้นน้าตามลาน้าปิงยาวประมาณ 100 กิโลเมตร มีสภาพเป็นแก่งเกาะ หน้าผา หินงอก หินย้อย ตามสองฝั่งแม่น้าเป็นจานวนมาก ดังนั้นการ เดินทางท่องเที่ยวลา น้าปิงสามารถเริ่มจากอ่างเก็บน้าดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ โดยเรือหางยาวครับแล้วมา ต่อ แพที่แก่งสร้อย ล่องมาจนถึงเขื่อนภูมิพล อาเภอสามเงา จังหวัดตาก ในทางกลับกันอาจจะ เช่าเรือหรือ แพจากเขื่อนภูมิพลล่องขึ้นไปก็ได้
  • 17. จ.แพร่ ประวัติ จังหวัดแพร่นั้นสร้างขึ้นประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 มีชื่อเรียกกันหลายชื่อคือ " พล นคร เมืองพล เมืองแพล " ในสมัยขอมเรืองอานาจ ระหว่างปี พ.ศ. 1470-1560 พระ นางจามเทวีเข้าครอบครองดินแดนตลอดแคว้นล้านนา ได้เปลี่ยนชื่อเป็น " โกศัยนคร " หรือ " เวียงโกศัย " ซึ่งแปลว่าผ้าแพร นับแต่นั้นมาก็มีผู้ครองนครสืบต่อกันมา จนถึง ปี พ.ศ. 2445 ในสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ จึงได้เปลี่ยนแปลงการปกครอง จากเจ้าผู้ครองนครเป็นเทศาภิบาล ในปี พ.ศ. 2440 โดยโปรดเกล้าฯ ให้พระยาไชย บูรณ์ (นามเดิมทองอยู่ สุวรรณบาตร ) ไปเป็นข้าหลวงกากับการปกครองเมืองแพร่ เป็นคนแรกจังหวัดแพร่อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร 555 กิโลเมตร มีพื้นที่ประมาณ 6,538 ตารางกิโลเมตร มีแม่น้ายมไหลผ่าน ลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาล้อมรอบทั้ง สี่ ทิศ มีที่ราบอยู่ตอนกลางของจังหวัด
  • 18. จ.แพร่ การปกครองแบ่งออกเป็น 8 อาเภอ 78 ตาบล 645 หมู่บ้าน 1. อาเภอเมืองแพร่ 2. อาเภอร้องกวาง 3. อาเภอลอง 4. อาเภอสูงเม่น 5. อาเภอเด่นชัย 6. อาเภอสอง 7. อาเภอวังชิ้น 8. อาเภอหนองม่วงไข่
  • 19. จ.แพร่ งานประเพณีนมัสการพระธาตุช่อแฮ จัดขึ้นระหว่างวันขึ้น 11-15 ค่า เดือนสี่ มีการแห่ผ้าขึ้นไปห่มองค์พระธาตุ มีขบวนแห่ แบบล้านนา โดยผู้ร่วมงานทุกคนจะแต่งกายแบบพื้นเมืองล้านนา มีมหรสพสมโภช ทุกคืน รุ่งเช้าวันขึ้น 15 ค่า จะมีการทาบุญตักบาตร กลางคืนจะมีการเวียนเทียนรอบ องค์พระธาตุและพระวิหาร งานม่อฮ่อมล้อมสะโตก และสงกรานต์จังหวัดแพร่ จัดงานบริเวณสวนสุขภาพเฉลิมพระเกียรติ ร. 9 ระหว่างวันที่ 14-16 เมษายน ของทุก ปี ในงานจะมีการแต่งกายด้วยชุดม่อฮ่อมล้อมวงกินขันโตก และเล่นสงกรานต์กัน งานกิ๋นสลาก คล้ายประเพณีถวายสลากภัตของภาคกลางนั่นเอง โดยชาวบ้านจะจัดเครื่องไทยทาน เขียนสลากชื่อของตนติดไว้แล้วนาไปรวมกันที่หน้าพระประธาน พระสงฆ์จะจับสลาก ขึ้นมาให้มรรคทายกประกาศ เจ้าของสลากก็จะนาเครื่องไทยทานของตนไปถวายแด่ พระสงฆ์ โดยงานนี้จะจัดขึ้นตามวัดต่างๆ ช่วงเดือน 10 ของทุกปี
  • 20. จ.แพร่ แหล่งท่องเที่ยว วัดพระธาตุช่อแฮ พระอารามหลวง วัดพระธาตุช่อแฮ พระอารามหลวง ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 11 ถนนช่อแฮ ตาบลช่อแฮ อาเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ บนเนื้อที่ 175 ไร่ บุคคลใดที่มาเที่ยวจังหวัดแพร่แล้วจะต้องมานมัสการพระธาตุช่อแฮ เพื่อเป็นศิริมงคลกับ ตนเอง จนมีคากล่าวว่า ถ้ามาเที่ยวจังหวัดแพร่ แต่ไม่ได้มานมัสการพระธาตุช่อแฮเหมือนไม่ได้มาจังหวัดแพร่แพร่ การเดินทางมาเที่ยววัดพระธาตุช่อแฮ ถนนสายหลัก คือ ถนนช่อแฮ เริ่มตั้งแต่สี่แยกบ้านทุ่ง อาเภอเมืองแพร่ ซึ่ง เป็นสี่แยกใจกลางเมืองแพร่ เข้าสู่ถนนช่อแฮ และตรงไปตามถนนช่อแฮ ผ่านโรงพยาบาลแพร่ สนามบินจังหวัด แพร่ หมู่บ้านเหล่า หมู่บ้านนาจักร หมู่บ้านแต หมู่บ้านมุ้ง สถานที่ตั้งของวัดพระธาตุช่อแฮ พระอารามหลวง อยู่ใน บริเวณเขตเทศบาลตาบลช่อแฮ ด้วยระยะทาง 9 กิโลเมตร จากตัวเมืองจังหวัดแพร่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกวัดพระธาตุช่อแฮ ตาบลช่อแฮ อาเภอเมือง จังหวัดแพร่ เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งแต่วันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2549 โดยได้ประกาศในราช กิจจานุเบกษา ฉบับทั่วไป เล่ม 123 ตอนที่ 96 ง วันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 (พ.ศ. 2508 พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวทรงใช้มวลสารจากพระธาตุช่อแฮ ทาพระสมเด็จจิตรลดา
  • 21. จ.แพร่ อาเภอสูงเม่น วัดพระธาตุสุโทนมงคลคีรี ห่างจากอาเภอเด่นชัย 3 กิโลเมตร มีศาลาพิพิธภัณฑ์สร้างด้วยไม้สักทองทั้งหลังแบบล้านนา ภายในมีโบราณวัตถุต่างๆ จัด แสดงไว้ เช่น รูปภาพเจ้านายฝ่ายเหนือและเหตุการณ์ในอดีต พระพุทธรูปต่างๆ เครื่องเขิน เครื่องดนตรีล้านนา อาวุธโบราณ เป็นต้น อาเภอเด่นชัย บ้านเพื่อนฝูง เป็นบ้านสร้างด้วยไม้สักขนาดใหญ่ ภายในตกแต่งด้วยผลิตภัณฑ์จากไม้ ตั้งอยู่ริมถนนสาย 101 ก่อนถึงอาเภอสูงเม่นประมาณ 5 กิโลเมตร เปิดให้เข้าชมได้ตั้งแต่เวลา 09.00-17.00 น. เก็บค่าเข้าชมคนละ 10 บาท ตลาดหัวดง อยู่ห่างจากตัวเมืองไปทางทิศใต้ประมาณ 7 กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 101 เป็นแหล่งรวมผลิตภัณฑ์ที่ทาจากไม้และ หวาย เช่น เฟอร์นิเจอร์และของใช้ต่างๆ วัดพระหลวง อยู่ที่ตาบลดอนมูล เลี้ยวซ้ายที่บ้านหัวดงเข้าไป 700 เมตร มีเจดีย์แบบสุโขทัย ชาวบ้านเรียกว่า “ธาตุเนิ้ง” มีความหมายว่า เอียง เป็นโบราณสถานที่สาคัญแห่งหนึ่ง อ่างเก็บน้าแม่มาน อยู่ห่างจากตัวเมือง 20 กิโลเมตร ตามถนนแพร่-สูงเม่น-เด่นชัย เป็นอ่างเก็บน้าขนาดใหญ่ มีทิวทัศน์สวยงามโดยเฉพาะใน ตอนเช้า เหมาะสาหรับชมพระอาทิตย์ขึ้นจากขอบฟ้าเหนือเขื่อน
  • 22. จ.แพร่ อาเภอร้องกวาง ถ้าผานางคอย อยู่ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 36 กิโลเมตร ตามเส้นทางสายแพร่-ร้องกวาง (ทางหลวงหมายเลข 101) ถึง กิโลเมตรที่ 58-59 เลี้ยวซ้ายเข้าไปอีก 800 เมตรถึงหน้าถ้าผานางคอย ตัวถ้าเป็นอุโมงค์มีความยาวประมาณ 150 เมตร กว้างประมาณ 10 เมตร ลักษณะของถ้าโค้งงอเป็นข้อศอกไปทางซ้ายและทางขวาเป็น 3 ตอนด้วยกัน ภายในถ้ามีหินงอกหินย้อยอยู่ทั่วไป ตอนท้ายของถ้ามีก้อนหินลักษณะคล้ายมารดาอุ้มบุตรน้อย ชาวบ้านเรียกว่า “หินนางคอย” เบื้องหน้าของหินนางคอยมีหินย้อย ลักษณะคล้ายรูปหัวใจ ดูแปลกตาสวยงาม นอกจากนี้ภายใน ถ้ายังมีพระพุทธรูปอยู่องค์หนึ่ง เป็นที่เคารพสักการะของชาวแพร่ น้าตกห้วยโรง (หรือน้าตกห้วยลง) อยู่ห่างจากตัวจังหวัดไปทางเหนือ 60 กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 101 (ถนนแพร่-ร้องกวาง) ถึงกิโลเมตร ที่ 78 เลี้ยวซ้ายอีก 4 กิโลเมตร เป็นน้าตกที่มีความสูง 2 ชั้น สภาพโดยรอบเป็นป่าโปร่งร่มรื่น น้าตกตาดชาววา เป็นน้าตกที่ตกจากหน้าผาสูงสวยงามมาก อยู่ในเขตอาเภอร้องกวาง ทางคมนาคมเข้าไปยังลาบากอยู่ และต้องเดิน เท้าเข้าไปชม อยู่ห่างจากตัวเมือง 35 กิโลเมตร พระธาตุปูแจ ตั้งอยู่ในตาบลบ้านเวียง ห่างจากอาเภอร้องกวาง 20 กิโลเมตร มีงานนมัสการพระธาตุ หรืองานขึ้นพระธาตุตรง กับวันขึ้น 11-15 ค่า เดือน 3 ของทุกปี
  • 23. จ.แพร่ อาเภอลอง วัดพระธาตุศรีดอนคา หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า “วัดห้วยอ้อ” อยู่เลยที่ว่าการอาเภอลองไปเล็กน้อย ห่างจากตัวเมืองแพร่ 45 กิโลเมตร ตาม ทางหลวงหมายเลข 1023 มีพระธาตุเก่าแก่ขนาดใหญ่สร้างขึ้นราว พ.ศ. 1078 เมื่อคราวพระนางจามเทวีเสด็จมา จากเมืองละโว้ไปเมืองหริภุญชัย ได้รับการบูรณะหลายครั้ง ปัจจุบันมีฐานเป็นปูน ส่วนบนประดับด้วยแผ่นโลหะสี ทอง นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งรวบรวมตานานพระพุทธรูป ตลอดจนคัมภีร์ต่างๆ ซึ่งเก็บไว้ในหอไตรของวัด หมู่บ้านทอผ้าตีนจก ผ้าตีนจกของอาเภอลองเป็นงานฝีมือที่ประณีตและสวยงาม ทอด้วยผ้าไหมและผ้าฝ้ าย มีแหล่งผลิตอยู่ที่บ้านนาตุ้ม บ้านหัวทุ่ง บ้านนามน ซึ่งมีการทอผ้าตีนจกกันอย่างแพร่หลาย สวนหินมหาราช ขึ้นอยู่กับป่าไม้เขตแพร่ ห่างจากอาเภอลอง 20 กิโลเมตร จากแพร่ไปตามทางหลวงหมายเลข 1023 สวนหิน มหาราชอยู่ระหว่างหลักกิโลเมตรที่ 19-20 ทางซ้ายมือ เป็นบริเวณกว้างโล่ง มีก้อนหินขนาดใหญ่วางเรียง ระเกะระกะ มีศาลาพักผ่อน แก่งหลวงและถ้าเอราวัณ อยู่ในเขตบ้านแก่งหลวง ตาบลบ้านปิน อาเภอลอง ห่างจากตัวเมืองประมาณ 50 กิโลเมตร มีแก่งน้าที่สวยงาม นอกจากนี้ยังมีถ้าที่สวยงาม มีหินงอกหินย้อยรูปร่างคล้ายช้างเอราวัณ
  • 24. จ.แพร่ อาเภอสอง พระธาตุพระลอ อยู่ที่ตาบลบ้านกลาง ห่างจากจังหวัดไปทางเหนือราว 45 กิโลเมตร การเดินทางไปตามทางหลวง 101 ประมาณ 24 กิโลเมตร แยกซ้ายเข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 103 อีกราว 18 กิโลเมตร แล้วเลี้ยวขวาสู่ อาเภอสอง จากนั้นเลี้ยวซ้ายอีก 3 กิโลเมตรถึงพระธาตุพระลอ (พระธาตุหินล้ม) เป็นพระธาตุที่มีอายุ เก่าแก่ประมาณ 400 ปี มีสถูปบรรจุพระอัฐิของพระลอ พระเพื่อน พระแพง และมีการสร้างอนุสาวรีย์ของ พระลอ พระเพื่อน พระแพง โดยกรมศิลปากรสร้างหันหน้าไปทางแม่น้ากาหลง (แม่น้าสอง) เป็นอนุสรณ์ สถานของนครแมนสรวง และเมืองสรวงที่จูงใจให้น้อมราลึกถึงความรักอมตะของพระลอและพระเพื่อน พระแพง โดยรอบบริเวณตกแต่งเป็นสวนสาธารณะร่มรื่นสวยงาม เวียงพระลอ ตั้งอยู่ที่ตาบลบ้านกลาง อาเภอสอง การเดินทางไปทางเดียวกับพระธาตุพระลอ ใช้เส้นทางสอง-งาว (ทางหลวงหมายเลข 1154) ตรงหลักกิโลเมตรที่ 54 เลี้ยวขวาตรงทางเข้าโรงเรียนบ้านคุ้ม 2 กิโลเมตร แล้วเลี้ยวขวาไปอีก 2.5 กิโลเมตรถึงเวียงพระลอ ด้านหลังเป็นฝาย สามารถชมทิวทัศน์ของแม่น้ายมอัน สวยงามได้ อุทยานแห่งชาติแม่ยม
  • 25. จ.พะเยา ประวัติ ประวัติความเป็นมาที่เก่าแก่ยาวนานไม่น้อยไปกว่าเมืองอื่นๆ ในอาณาจักร ล้านนา บริเวณที่ตั้งของจังหวัดพะเยาในปัจจุบันอยู่ติดกับกว๊านพะเยา เดิม เป็นที่ตั้งของเมือง ภูกามยาว หรือ พยาว ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อพุทธศตวรษที่ 16 โดยมีผู้ปกครองคือ พ่อขุนงาเมือง ภายหลังมีการเปลี่ยนแปลงอานาจ และ ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรล้านนา เมื่อถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เมืองพะเยาอยู่ภายใต้การปกครองของจังหวัดเชียงราย ในฐานะ อาเภอ พะเยา และเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2520 อาเภอพะเยาได้ยกฐานะขึ้น เป็น จังหวัดพะเยา นับเป็นจังหวัดที่ 72 ของประเทศไทย
  • 26. จ.พะเยา การปกครอง 9 อาเภอ 68 ตาบล 790 หมู่บ้าน 2 เทศบาลเมือง 30 เทศบาลตาบล 39องค์การบริหารส่วนตาบล 1. อาเภอเมืองพะเยา 2. อาเภอจุน 3. อาเภอเชียงคา 4. อาเภอเชียงม่วน 5. อาเภอดอกคาใต้ 6. อาเภอปง 7. อาเภอแม่ใจ 8. อาเภอภูซาง 9. อาเภอภูกามยาว
  • 27. จ.พะเยา งานอนุสาวรีย์ผู้เสียสละ พตท.2324 จัดระหว่างวันที่ 31 มกราคม-8 กุมภาพันธ์ ณ อนุสรณ์ผู้เสียสละ พตท. ใน อาเภอเชียงคา ในงานจะมีนิทรรศการ การออกร้านของหน่วยราชการ งานเปิดโลกอุตสาหกรรมอัญมณี และของดีเมืองพะเยา จัดระหว่างวันที่ 1-5 กุมภาพันธ์ ณ ศูนย์อุตสาหกรรมอัญ มณี ตาบลแม่กา อาเภอเมือง ในงานมีการแสดงการผลิตเครื่องประดับเงิน ทองคา การเจียระไนเพชร วันดอกคาใต้บาน จัดในอาเภอดอกคาใต้ ระหว่างวันที่ 13-14 กุมภาพันธ์ กิจกรรมจะเป็นการแข่งขันงาน หัตถกรรม และจาหน่ายของที่ระลึก งานบวงสรวงพ่อขุนงาเมือง จัดวันที่ 5 มีนาคม ณ ลานอนุสาวรีย์พ่อขุนงาเมือง หน้ากว๊านพะเยา ในงานมีขบวน แห่เครื่องราชสักการะที่สวยงามยิ่งใหญ่ งานสืบสานตานานไทลื้อ จัดทุกวันเสาร์-อาทิตย์ สัปดาห์ที่ 2 ณ วัดพระธาตุสบแวน อาเภอเชียงคา กิจกรรมจะมี ขบวนแห่ การสาธิตศิลปวัฒนธรรมไทลื้อ นิทรรศการ งานประเพณีปู่จากพญานาค (บูชาพระลอ) จัดบริเวณโบราณสถานเวียงลอ บ้านห้วยงิ้ว อาเภอจุน ในงานมี กิจกรรมพิธีไหว้บรรพบุรุษของเวียงลอ ขบวนแห่และงานแสดงแสงสีเสียง การแสดงทางวัฒนธรรม งานเทศกาลลิ้นจี่และของดีแม่ใจ จัดในอาเภอแม่ใจ จะมีขบวนแห่ลิ้นจี่ ประกวดและจาหน่าย งานเทศกาลลิ้นจี่และของดีเมืองพะเยา จัดขึ้นที่กว๊านพะเยา กิจกรรมมีขบวนแห่ลิ้นจี่ ประกวดผลิตผลการเกษตร งานประเพณีนมัสการพระเจ้าตนหลวงเดือนแปดเป็ง จัดวันที่ 15 พฤษภาคม จัดที่วัดศรีโคมคา อาเภอเมือง ใน งานมีประเพณีแห่ครัวตาน งานกาชาดและงานฤดูหนาว จัดประมาณปลายเดือนธันวาคม-ต้นเดือนมกราคม ณ บริเวณสนามข้างสถานีขนส่ง จังหวัดพะเยา กิจกรรมจะมีการออกร้านของหน่วยงานราชการ การแสดงทางวัฒนธรรมและการประกวดต่าง ๆ
  • 28. จ.พะเยา แหล่งท่องเที่ยว อนุสาวรีย์พ่อขุนงาเมือง อดีตกษัตริย์ผู้ปกครองเมืองภูกามยาวลาดับที่ 9 ระหว่างปี พ.ศ. 1801 - 1841 เป็นยุคที่เจริญรุ่งเรืองมาก ประดิษฐานอยู่ที่สวนสาธารณะเทศบาลเมืองพะเยา (สวนสมเด็จย่า 90) หน้ากว๊านพะเยา เป็นพระสหายร่วมน้า สาบานกับพ่อขุนเม็งรายแห่งเมืองเชียงราย และพ่อขุนรามคาแหงแห่งกรุงสุโขทัย ซึ่งทั้งสามพระองค์ได้กระทา สัตย์ต่อกัน ณ บริเวณแม่น้าอิง ซึ่งปัจจุบันอยู่บริเวณสถานีประมงน้าจืดพะเยา พ่อขุนงาเมืองเป็นผู้ทรงอิทธิฤทธิ์ กล่าวกันว่าเมื่อพระองค์เสด็จไปทางไหน แดดก็บ่อฮ้อน ฝนก็บ่อฮา จักให้แดดก็แดด จักให้บดก็บด จึงได้พระ นามว่างาเมือง เกิดจาการยุบตัวของเปลือกโลกเมื่อประมาณ 70 ล้านปีมาแล้วเป็นแอ่งน้าซึ่งเป็นที่รวบรวมของลาห้วยต่างๆ 18 สาย ต่อมาในปี 2478 กรมประมงได้ตั้งสถานีประมงน้าจืดจังหวัดพะเยาขึ้นบริเวณต้นแม่น้าอิงและสร้างฝายกั้น น้าทาให้เกิดเป็นบึงขนาดใหญ่ มีความลึกเฉลี่ย 1.5 เมตร คาว่า "บึง" ภาษาพื้นเมือง เรียกว่า "กว๊าน" กว๊านพะเยาเป็นแหล่งน้าที่สาคัญที่สุดของจังหวัดพะเยา คือเป็นทั้งแหล่งประมงน้าจืด ที่สาคัญที่สุดของ ภาคเหนือตอนบน และเป็นสถานที่ท่องเที่ยวของจังหวัดพะเยา มีเนื้อที่ประมาณ 12,831 ไร่ เป็นแหล่ง เพาะพันธุ์ปลาชนิดต่างๆ เช่น ปลากราย ปลาสวาย ปลาเทโพ ปลาจีน ปลาไน รวมทั้งปลานิล อันลือชื่อของ จังหวัดพะเยา ทัศนียภาพโดยรอบกว๊านพะเยา มีความร่มรื่น สามารถมองเห็นแนวทิวเขาสลับซับซ้อน งดงาม มาก บริเวณริมกว๊านมีร้านอาหาร และจัดเป็นสวนสาธารณะเหมาะที่จะไปนั่งเล่น พักผ่อนหย่อนใจในยามเย็น ชมพระอาทิตย์ตกริมกว๊านเป็นภาพที่สวยงามมาก
  • 29. จ.พะเยา สถานีประมงน้าจืดพะเยา ตั้งอยู่ตรงถนนพหลโยธินระหว่างหลักกิโลเมตรที่ 734-735 เป็นสถานีเพาะพันธุ์ปลาน้าจืด ปลาที่เพาะพันธุ์เพื่อแจกจ่ายแก่เกษตรกรได้แก่ ปลานิล ปลาไน ปลาตะเพียนขาว ปลายี่สก เทศ ฯลฯ และสามารถเพาะพันธุ์ปลาบึกได้สาเร็จเพื่อนาไปปล่อยในแหล่งน้าต่างๆ สิ่งที่ น่าสนใจก็คือ ห้องจัดแสดงพันธุ์ปลาสวยงามที่หาดูยากไว้หลายชนิด เปิดให้ชมในวันเวลา ราชการ และยังมีเรือนประทับสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีเมื่อครั้งเสด็จมาทรง งานที่จังหวัดพะเยาอยู่ในบริเวณเดียวกัน บริเวณรอบตาหนักจะมีดอกไม้เมืองหนาวนานา พันธุ์ สระน้าพุอันสวยงาม ตั้งอยู่บริเวณสถานีประมงพะเยา หอวัฒนธรรมนิทัศน์ อยู่ใกล้กับวัดศรีโคมคา จัดเป็นพิพิธภัณฑ์แสดงโบราณวัตถุ เอกสารข้อมูลสาคัญทาง ประวัติศาสตร์ของจังหวัดพะเยา และเรื่องราวความเป็นมาทั้งด้านวรรณกรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น วัฒนธรรมประเพณี และวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชาวพะเยาโดยใช้รูปแบบ เทคโนโลยีสมัยใหม่ เปิดให้เข้าชมในวันพุธ-อาทิตย์ เวลา 09.00-16.00 น.
  • 30. จ.พะเยา วัดศรีโคมคา เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี และวัดพัฒนาตัวอย่าง ประชาชนทั่วไปนิยมเรียกว่า "วัด พระเจ้าตนหลวง" ซึ่งเป็นพระพุทธรูปศิลปเชียงแสนองค์ใหญ่ที่สุดในล้านนาไทย ขนาดหน้าตักกว้าง 16 เมตร สูง 18 เมตร สร้างขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2034-2067 พระเจ้าตนหลวง หรือ พระเจ้าองค์หลวง มิใช่เป็นแต่เพียงพระพุทธรูปคู่เมืองพะเยา เท่านั้น แต่ถือเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองอาณาจักรล้านนาไทยด้วย วันวิสาขบูชามี งานนมัสการพระเจ้าตนหลวงเป็นประจาทุกปีเรียกว่า "งานประเพณีนมัสการพระเจ้า องค์หลวงเดือนแปดเป็ง" วัดพระธาตุจอมทอง ตั้งอยู่บนดอยจอมทอง ห่างจากตัวเมือง 3 กิโลเมตร อยู่ตรงข้ามกับกับวัดศรีโคมคา มีถนนขึ้นไปถึงเจดีย์พระธาตุจอมทองเป็นปูชนียสถานโบราณคู่เมืองพะเยา บริเวณ โดยรอบมีป่าไม้ปกคลุม เป็นสวนรุกชาติ มองเห็นตัวเมืองและกว๊านพะเยาได้ โดยรอบ
  • 31. จ.พะเยา วัดอนาลโย ตั้งอยู่บนดอยบุษราคัมห่างจากตัวจังหวัด 20 กิโลเมตร ไปทางทิศเหนือตามทางหลวงหมายเลข 1 (พะเยา-เชียงราย) ประมาณ 7 กิโลเมตร แล้วเลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 1127-1193 อีก 9 กิโลเมตร ทางลาดยางตลอดสาย บริเวณดอยบุษราคัม และม่อนพระนอน ประกอบด้วยพระพุทธรูป ศิลปสุโขทัยลักษณะงดงามมาก และยังมีพระพุทธรูปปางต่างๆ อีกหลายองค์ อาทิ พระพุทธไสยาสน์ พระพุทธรูปปางลีลา พระพุทธรูปปางนาคปรก สร้างด้วยความประณีตสวยงามแบบศิลปไทย รัตนเจดีย์ เป็นศิลปะแบบอินเดียพุทธคยา เก๋งจีนประดิษฐานเจ้าแม่กวนอิม หอพระแก้วมรกตจาลอง จากยอดเขา สามารถชมทัศนียภาพของกว๊านพะเยาและเมืองพะเยาได้อย่างสวยงาม ขึ้นได้ 2 ทาง คือ ทางบันไดและ ทางรถยนต์ วัดศรีอุโมงค์คา มีพระเจดีย์สมัยเชียงแสนที่อยู่ในสภาพสมบูรณ์มาก เป็นวัดที่ประดิษฐานพระพุทธรูปคู่เมืองพะเยาอีก องค์หนึ่งนามว่า "หลวงพ่องามเมืองเรืองฤทธิ์" แต่ชาวบ้านเรียกว่า "พระเจ้าล้านตื้อ" ซึ่งถือกันว่าเป็น พระพุทธรูปที่มีลักษณะงดงามที่สุดแห่งล้านนาไทย และนับเป็นเอกลักษณ์ทางศิลปะของภูกามยาว โดยเฉพาะ
  • 32. จ.พะเยา วัดลี ตั้งอยู่หลังโรงเรียนเทศบาล 3 มีสถูปที่เป็นแบบสถาปัตยกรรมของภาคเหนือ และโบราณวัตถุสมัย อาณาจักรพะเยาอีกมากมาย โดยเฉพาะพระพุทธรูปหินทราย ถือเป็นพิพิธภัณฑ์ย่อยๆ ได้อีกแห่งหนึ่ง ยังมีพุทธศาสนสถานเก่าในเมืองพะเยาที่น่าสนใจอีกหลายแห่ง ได้แก่ ป่าแดงบุนนาค มีตานานเกี่ยวพัน ครั้งสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จมายังดินแดนแห่งนี้ วัดศรีจอมเรือง มีศิลปะสวยงามแบบไทยผสม พม่า วัดราชคฤห์ มีเจดีย์เก่าแก่ของเมืองพะเยา และพระพุทธรูปศิลาซึ่งพุทธลักษณะสวยงามแบบ เดียวกับพระเจ้าล้านตื้อ หมู่บ้านทาครกและโม่หิน บ้านงิ้ว ตาบลบ้านสาง ห่างจากตัวเมืองประมาณ 20 กิโลเมตร ใช้เส้นทางเดียวกับทางไปวัดอนาลโย เป็นถนน รอบกว๊านพะเยา รถยนต์สามารถเข้าถึงได้ทุกฤดูกาล ชาวบ้านมีอาชีพเสริมหลังการทานาคือการ ทาครก โม่หิน ใบเสมา และลูกนิมิต เป็นต้น โดยทาเป็นอุตสาหกรรมภายในครอบครัว และส่งไปขายในตัวเมือง พะเยา หมู่บ้านทาผลิตภัณฑ์จากผักตบชวา อยู่ที่บ้านสันป่าม่วงใช้เส้นทางเดียวกับทางไปหมู่บ้านทาครกและโม่หิน ห่างกันประมาณ 2 กิโลเมตร ชาวป่าม่วงได้รวมตัวกันเป็นกลุ่มขึ้นทาเป็นงานอดิเรก ผลิตภัณฑ์ที่ทาจากผักตบชวา ได้แก่ หมวก กระเป๋ า จานรองแก้ว และของประดับตกแต่งต่างๆ
  • 33. จ.อุตรดิตถ์ ประวัติ ประวัติความเป็นมาต้นกาเนิดของจังหวัดอุตรดิตถ์มีแหล่งกาเนิดมาจากท่าน้าที่สาคัญ 3 ท่า คือ ท่าเซา ท่าอิด และท่าโพธิ์ ซึ่งมีความสาคัญและเจริญรุ่งเรืองมาแต่สมัยขอม ปกครองท่าอิด ตั้งแต่ พ.ศ. 1400 คาว่า อุตรดิตถ์ เดิมเขียน เป็น อุตรดิษฐ์ (อุตร- ทิศเหนือ, ดิตถ์-ท่าน้า) เป็นคาที่ตั้งขึ้นในภายหลัง โดยพระบาทสมเด็จพระจอม เกล้าเจ้าอยู่หัวแห่งราชวงศ์จักรีพระราชทานนามไว้เมื่อ พ.ศ. 2395 แปลว่า "ท่าเรือ ด้านทิศเหนือของสยามประเทศ" ,อดีตอุตรดิตถ์เป็นชุมนุมที่ใหญ่ที่สุดและสาคัญ ที่สุดในภาคเหนือในสมัยพระเจ้าตากสินมหาราช และ อุตรดิตถ์ก็เคยเป็นเมืองชั้นโท เทียบเท่ากับเมืองชั้นเอกเช่นพิษณุโลกในสมัยพระปิยมหาราช และ ในอดีตอุตรดิตถ์ เคยเป็นศูนย์กลางของภาคเหนือตอนล่าง แต่ด้วยภูมิประเทศที่ไม่เอื้ออานวยจึงทาให้ พิษณุโลกได้เป็นศูนย์กลางแห่งภาคเหนือตอนล่างแทน
  • 34. จ.อุตรดิตถ์ การปกครองแบ่งออกเป็ น 9 อาเภอ 67 ตาบล 562 หมู่บ้าน 1. อาเภอเมืองอุตรดิตถ์ 2. อาเภอตรอน 3. อาเภอท่าปลา 4. อาเภอน้าปาด 5. อาเภอฟากท่า 6. อาเภอบ้านโคก 7. อาเภอพิชัย 8. อาเภอลับแล 9. อาเภอทองแสนขัน
  • 35. จ.อุตรดิตถ์ งานพระยาพิชัยดาบหักและงานกาชาด เป็นงานราลึกถึงวีรกรรมของพระยาพิชัยดาบหัก จัดขึ้นระหว่างวันที่ ๗ - ๑๖ เดือนมกราคมของทุกปี ณ บริเวณ สนามกีฬาพระยาพิชัยดาบหัก ในงานจะมีการออกร้านของเหล่ากาชาดจังหวัด การแสดงศิลปวัฒนธรรม กิจกรรมรื่นเริงต่าง ๆ และพิธีบวงสรวงพระยา พิชัยดาบหัก ประเพณีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระพุทธเจ้า ( วันอัฐมี) จัดขึ้นในวันแรม ๘ ค่า เดือน ๖ คือประมาณเดือนพฤษภาคม ณ วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง อาเภอลับแล ในงานมีการจาลองพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระพุทธเจ้า การน้อมจิตราลึกถึงองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตลอดจนพระธรรมคาสั่ง สอนของพระองค์ มีการตกแต่งวัดอย่างสวยงาม พร้อมปฏิบัติธรรมและเทศนาธรรม งานมนัสการหลวงพ่อโตและมหกรรมของดีเมืองพิชัย จัดขึ้นระหว่างวันที่ ๒-๖ เดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี บริเวณวัดพระธาตุ เป็นงานมนัสการหลวงพ่อ โต พระพุทธรูปปูนปั้นขนาดใหญ่ และชมมหรสพมากมายภายในงาน ติดต่อที่ว่าการอาเภอพิชัย โทร ๐ ๕๕๒๕ ๒๗๔๒-๓ งานมนัสการพระแท่นศิลาอาสน์ พระพุทธบาทยุคล และพระนอนพุทธไสยาสน์ จัดขึ้นในช่วงขึ้น ๘ ค่า ถึง ๑๕ ค่า เดือน ๓ ในเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งเป็นวัน มาฆบูชาของทุกปี ณ วัดพระแท่นศิลาอาสน์ วัดพระยืนพุทธบาทยุคล และวัดพระนอนพุทธบาทไสยาสน์ ตาบลทุ่งยั้ง อาเภอลับแล มีการจัดงานสมโภช งานมหรสพ และการออกร้านสินค้าพื้นเมือง ติดต่อเทศบาลตาบลทุ่งยั้ง โทร ๐ ๕๕๔๔ ๒๒๘๔, ๐ ๕๕๕๑ ๓๔๗๑ และอาเภอลับแล โทร ๐ ๕๕๔๔ ๒๐๓๙ ประเพณีแห่น้าขึ้นโรง จัดขึ้นในวันที่ ๑๔ เดือนเมษายนของทุกปี บริเวณเชิงดอยม่อนอารักษ์ อาเภอลับแล มีการ กรวดน้ารดน้าให้แก่บรรพบุรุษที่ล่วงลับ ไปแล้ว ด้วยการนาน้าอบและน้าหอมไปสรงตามศาลเจ้า ซึ่งเป็นที่นับถือในหมู่บ้าน โดยมีขบวนพิธีจากหมู่บ้านต่าง ๆ อัญเชิญน้าศักดิ์สิทธิ์และเครื่อง สักการะไปรอบเมือง แวะสักการะอนุสาวรีย์พระศรีพนมมาศ สรงน้าพระเถระผู้ใหญ่ในวัดเจดีย์ศรีวิหาร สักการะดวงวิญญาณบริเวณอนุสาวรีย์เจ้าฟ้า ฮ่ามกุมาร การแสดงถวายหน้า อนุสาวรีย์ และฟ้ อนรา งานเทศกาลลางสาดหวานและมหกรรมของดีเมืองอุตรดิตถ์ จัดขึ้นประมาณปลายเดือนกันยายนของทุกปี ณ บริเวณสนามกีฬาพระยาพิชัยดาบหัก หน้า ศาลากลางจังหวัดอุตรดิตถ์ ซึ่งเป็นช่วงที่ลางสาดอันเป็นผลไม้ขึ้นชื่อของจังหวัด และผลไม้อีกหลากหลายชนิดกาลังออกผล ในงานมีการออกร้านผลไม้ นิทรรศการทางวิชาการเกี่ยวกับลางสาด การประกวดลางสาด การประกวดธิดาลางสาด แม่ม่ายเมืองลับแล ขบวนแห่รถผลไม้ การประกวดรถผลไม้ และ การออกร้านสินค้าของดี จากทุกอาเภอ งานเทศกาลวันกระเทียม จัดช่วงต้นเดือนมีนาคม บริเวณสนามกีฬาอาเภอน้าปาด มีการออกร้านจาหน่าย ผลิตภัณฑ์จากกระเทียมและส่วนราชการต่าง ๆ ประกวดธิดากระเทียม ขบวนแห่ การละเล่นท้องถิ่น และมหรสพต่าง ๆ ติดต่ออาเภอน้าปาด โทร ๐ ๕๕๔๘ ๑๐๔๕
  • 36. จ.อุตรดิตถ์ แหล่งท่องเที่ยว อนุสาวรีย์พระยาพิชัยดาบหัก ประดิษฐานอยู่หน้าศาลากลางจังหวัดอุตรดิตถ์ สร้างขึ้นเพื่อเป็นเกียรติประวัติใน ความกล้าหาญ รักชาติและเสียสละ เมื่อครั้งพระยาพิชัยครองเมืองพิชัยในสมัยธนบุรี ท่านได้สร้างเกียรติประวัติไว้โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อปี พ.ศ. 2316 พม่ายกทัพมาตี เมืองพิชัย พระยาพิชัย ได้ยกทัพไปสกัดทัพพม่าจนแตกพ่ายกลับไป การรบในครั้ง นั้นดาบคู่มือของพระยาพิชัยข้างขวาได้หักไปหนึ่งเล่ม แต่ก็ยังรบได้ชัยชนะต่อทัพ พม่า ด้วยวีรกรรมดังกล่าว จึงได้สมญานามว่า พระยาพิชัยดาบหักอนุสาวรีย์แห่งนี้ ออกแบบและหล่อโดยกรมศิลปากร ทาพิธีเปิดเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 ภายในบริเวณมี พิพิธภัณฑ์ดาบเหล็กน้าพี้ ใหญ่ที่สุดในโลกเป็นที่เก็บรักษาดาบเหล็ก น้าพี้ ใหญ่ที่สุดในโลก มีน้าหนัก 557.8 กิโลกรัม ฝักดาบทาด้วยไม้ประดู่ ฝัง ลวดลายมุกหุ้มปลอกเงินสลักสลาย และพิพิธภัณฑ์พระยาพิชัยที่ภายในเก็บรวบรวม ประวัติของพระยาพิชัยดาบหัก รวมทั้งแบบจาลอง สนามรบ และวิถีชีวิตในสมัย
  • 37. จ.อุตรดิตถ์ อยู่ที่หมู่ 3 บ้านทุ่งยั้ง ตาบลทุ่งยั้ง จากตัวเมืองอุตรดิตถ์ไปตามทางหลวง หมายเลข 102 ประมาณ 3 กิโลเมตร จะมองเห็นวัดอยู่ทางซ้ายมือ วัดนี้เป็นวัด เก่าแก่มีตานานเกี่ยวพันกับอีก 2 วัด ที่อยู่ใกล้เคียงกัน คือ วัดพระยืนพุทธ บาทยุคล และวัดพระแท่นศิลาอาสน์ เกี่ยวกับการเสด็จมาของพระพุทธเจ้า วัด แห่งนี้เดิมชื่อ วัดมหาธาตุ ประกอบด้วยวิหารแบบล้านนาซึ่งอยู่ด้านหน้า ถัดไป เป็นพระบรมธาตุทุ่งยั้งบรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า เป็นเจดีย์เก่าแก่ แบบลังกาทรงกลมฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยม 3 ชั้น ฐานล่างมีเจดีย์องค์เล็กๆ เป็น บริวารอยู่ 4 มุม ฐานชั้นที่ 3 มีซุ้มคูหา 4 ด้าน สันนิษฐานว่าได้บูรณะขึ้นภายหลัง
  • 38. จ.อุตรดิตถ์ หลวงพ่อเพชรวัดท่าถนน วัดท่าถนนเดิมชื่อ วัดวังเตาหม้อ ตั้งอยู่บริเวณริมแม่น้าน่าน ถนนเกษมราษฎร์ ตาบล ท่าอิฐ เป็นที่ประดิษฐานหลวงพ่อเพชร เป็นพระพุทธรูปสัมฤทธิ์สมัยเชียงแสน นั่งขัดสมาธิเพชร ตามประวัติกล่าวว่า ในปี พ.ศ. 2436 ขณะหลวงพ่อด้วงเจ้าอาวาส วัดหมอนไม้ เดินทางกลับจากรับนิมนต์ที่วัดสว่างอารมณ์ ตาบลไผ่ล้อม อาเภอลับแล เมื่อผ่านวัดสะแกที่เป็นวัดร้าง ได้พบเนินดินเป็นจอมปลวกขนาดใหญ่มีเกศ พระพุทธรูปโผล่ขึ้นมา เมื่อขุดดูพบว่าเป็นพระพุทธรูปสัมฤทธิ์ มีลักษณะงดงามมาก จึงนามาประดิษฐานไว้ที่วัดท่าถนน มีคนมากราบไหว้บูชาเป็นจานวนมาก ประกอบ กับเป็นพระพุทธรูปนั่งขัดสมาธิเพชร จึงเรียกกันว่า หลวงพ่อเพชร วัดใหญ่ท่าเสา ตั้งอยู่ที่ถนนสาราญรื่น ตาบลท่าเสา อยู่ใกล้กับสถานีรถไฟท่าเสา วัดนี้มีวิหารเก่าแก่ ซึ่งมีบานประตูไม้แกะสลัก 2 บาน ตลอดจนลายไม้ที่วิหารด้านหน้า และมีหอไตร โบราณที่มีรูปแบบสีสันสวยงาม ซึ่งใช้เป็นที่เก็บพระไตรปิฎก
  • 39. จ.อุตรดิตถ์ อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว มีพื้นที่ 149,375 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่ของอาเภอบ้านโคก อาเภอน้าปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ และอาเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก ได้รับการประกาศเป็นอุทยานฯ เมื่อปี 2537 ลักษณะภูมิประเทศประกอบด้วยภูเขาสูงตามแนว ชายแดนไทย - ลาว มียอดภูสอยดาวสูงที่สุด 2,102 เมตร จากระดับทะเล สภาพพื้นที่เป็นภูเขาสูงที่ป่าปกคลุม เป็นป่าดิบเขาสลับทุ่งหญ้าและป่าสน เช่น ป่าสนสามใบ อากาศหนาวเย็นเกือบตลอดทั้งปี มีดอกไม้ป่าพันธุ์ต่างๆ เช่น ดอกหงอนนาค ดอกไม้ดินต่างๆ ขึ้นอยู่กลางป่าสน ภูสอยดาวสามารถจะมาท่องเที่ยวได้ทั้งปี แต่ถ้าหากอยาก ดูดอกไม้สีสวยๆ ที่มักจะขึ้นเพื่อรับความชุ่มชื้นในช่วงหน้าฝน ควรจะมาในช่วงปลายฝนต้นหนาว สถานที่ท่องเที่ยวน่าสนใจภายในอุทยานฯ ได้แก่ น้าตกภูสอยดาว อยู่ใกล้ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว มี 5 ชั้น มีน้าไหลตลอดปี แต่จะมีน้ามากในช่วงหน้าฝน ลานสน การเดินทางสู่ยอดลานสนต้องขึ้นเขาลาดชันเกือบตลอดเส้นทาง และผ่านเนินต่าง ๆ ที่มีชื่อบอกถึงความ ยากลาบากในการเดินผ่านแต่ละเนิน เช่น เนินส่งญาติ เนินปราบเซียน เนินป่าก่อ เนินเสือโคร่ง และเนินมรณะ ที่มี ความสูงชันมากที่สุด แต่เส้นทางที่เดินขึ้นไปนั้นไม่ยุ่งยากเพราะจะเดินไต่เขาขึ้นไปตามสันเขา ไม่มีทางแยกไปไหน ระยะทางเดินเท้าขึ้นลานสนประมาณ 6.5 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินเท้าประมาณ 5-6 ชั่วโมง บนลานสนจะเป็นทุ่ง หญ้า มีต้นสนสองใบ สนสามใบ ต้นหงอนนาค ที่มีสีม่วงตัดกับดอกสร้อยสุวรรณาที่มีสีเหลือง ออกดอกให้ดู สวยงาม และดอกไม้อีกนานาชนิด ที่ขึ้นอวดความสวยงามและสร้างความสดขื่นสดใสให้กับลานสน บนลานสนเป็น จุดชมพระอาทิตย์ตกที่สวยงามด้วย บนลานสนไม่มีบ้านพักและอาหาร หากต้องการจะขึ้นไปพักค้างแรมต้อง เตรียมเต็นท์และอาหารไปเอง และหากนักท่องเที่ยวต้องการลูกหาบช่วยขนสัมภาระก็มีบริการ การจะขึ้นบนลาน สนต้องติดต่อขอเจ้าหน้าที่นาทาง และอุทยานฯ จะอนุญาตให้ขึ้นได้ตั้งแต่เวลา 08.00–13.00 น.
  • 40. จ.อุตรดิตถ์ น้าตกสายทิพย์ เป็นน้าตกอยู่บนลานสน มี 7 ชั้น ทางไปน้าตกเป็นหุบเขา ค่อนข้างลาดชัน อุทยานฯ มีบ้านพักบริการนักท่องเที่ยว และสามารถกางเต็นท์ได้บนยอดลานสน สอบถามรายละเอียด ได้ที่ กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ โทร. 579–5734, 579–7223 หรือที่ อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว ตาบลห้วยมุ่น อาเภอน้าปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ 53110 การเดินทาง จากจังหวัดอุตรดิตถ์ ใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 1045 ผ่านเขื่อนสิริกิติ์ สู่อาเภอน้าปาด ระยะทาง 68 กิโลเมตร ต่อจากนั้นใช้เส้นทางหมายเลข 1239 ไปทางบ้านห้วยมุ่นอีกประมาณ 47 กิโลเมตร และจาก บ้านห้วยมุ่นใช้เส้นทางหมายเลข 1268 อีก 18 กิโลเมตร ก็จะถึงน้าตกภูสอยดาว ซึ่งเป็นจุดเริ่มเดินเท้า ขึ้นสู่ยอดลานสน สาหรับรถโดยสารประจาทาง จากอุตรดิตถ์จะมีรถโดยสารปรับอากาศออกจากตลาด อาเภอเมือง (ตลาดต้นโพธิ์) ไปอาเภอน้าปาดทุกชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 06.00–17.00 น. (แต่รถเที่ยวแรก จะเข้ามาที่สถานีขนส่ง เวลา 05.00 น.) ใช้เวลาประมาณ 2.30 ชั่วโมง จากนั้นลงรถที่หน้าโรงพยาบาล อาเภอน้าปาด จะมีท่ารถสองแถว ต้องเหมารถไปภูสอยดาวประมาณ 300 บาท ใช้เวลาเดินทางอีก 3 ชั่วโมง สาหรับผู้ที่ต้องการจะเดินทางกลับทางอาเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก ต้องเหมารถไป ราคา ประมาณ 500 บาท ใช้เวลา 2 ชั่วโมง และต่อรถโดยสารไม่ปรับอากาศที่อาเภอชาติตระการ สายชาติ ตระการ-นครไทย-พิษณุโลก มีรถบริการระหว่างเวลา 05.00–17.30 น. ช่วงนี้ใช้เวลา 3 ชั่วโมง ค่า โดยสาร 43 บาท รถโดยสารจากพิษณุโลก กลับกรุงเทพฯ ควรจะไปซื้อตั๋วที่บริษัทในตลาดโดยตรง มากกว่าที่จะมาที่สถานีขนส่ง เนื่องจากมีโควต้าขายตั๋วน้อย
  • 41. จ.อุตรดิตถ์ บ่อเหล็กน้าพี้ อยู่ที่หมู่ 1 บ้านน้าพี้ ตาบลน้าพี้ ห่างจากตัวจังหวัด ประมาณ 56 กิโลเมตร ตามเส้นทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 11 และเข้าทางหลวงจังหวัดหมายเลข 1245 เป็นโบราณสถานซึ่งมีความสาคัญ เนื่องจากเป็น แหล่งเหล็กกล้า ที่นามาทาพระแสงดาบตั้งแต่สมัยโบราณ เดิมมีอยู่ด้วยกันหลายบ่อ มีบ่อหนึ่งเรียกว่า บ่อพระแสง ห้ามมิให้ผู้ใดขุดเหล็กจากบ่อนี้ โดยสงวนไว้ใช้ทาพระแสงดาบสาหรับพระมหากษัตริย์ เท่านั้น และ บ่อพระขรรค์ เป็นบ่อที่ในสมัยโบราณมีช่างทาพระขรรค์ถวายพระมหากษัตริย์ ได้นาแร่ เหล็กน้าพี้จากบ่อพระขรรค์ไปถลุงทาพระขรรค์ ภายในบริเวณมี พิพิธภัณฑ์บ่อเหล็กน้าพี้ รวบรวม หลักฐานต่างๆ เกี่ยวกับประวัติเหล็กน้าพี้ โดยจัดแสดงและจาลองให้เห็นถึงกระบวนการ ขั้นตอนการตี เหล็กน้าพี้ ตั้งแต่การขุดแร่เหล็กน้าพี้จนตีเป็นดาบที่มีความแกร่งและความคมเป็นเลิศ ดาบน้าพี้จึงเป็น อาวุธคู่กายของขุนศึกและนักรบไทยในสมัยโบราณตลอดมา พิพิธภัณฑ์แห่งนี้เปิดเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2542 เปิดให้เข้าชมฟรีทุกวัน เวลา 08.00 – 17.00 น. เหล็กน้าพี้ในสมัยโบราณ นิยมนาไปตีเป็นพระแสงราชศัสตราของพระเจ้าแผ่นดิน จึงมีความเขื่อว่าเป็น เหล็กศักดิ์สิทธิ์ที่สามารถแก้อาถรรพณ์ อยู่ยงคงกระพันและป้องกันภูตผีปีศาจได้เป็นอย่างดี จึงเหมาะ สาหรับผุ้ที่ต้องเดินทางไปในถิ่นแปลกที่อยุ่เป็นประจา และผู้ที่ต้องพักค้งอ้างแรมในสถานที่ต่างๆอยู่ เสมอ
  • 42. จ.เชียงใหม่ ประวัติและความเป็ นมา เมืองเชียงใหม่ มีชื่อปรากฏในตานานว่า "นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่" ซึ่งเป็นราชธานีของ อาณาจักรล้านนา สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 1839 โดยพญามังรายในอดีตเชียงใหม่มีฐานะเป็น เมืองหลวงของราชอาณาจักรนครรัฐอิสระ ชื่อว่า อาณาจักรล้านนา ซึ่งปกครองโดยกษัตริย์ ราชวงศ์มังราย ประมาณ 261 ปี (ระหว่าง พ.ศ. 1839-พ.ศ. 2101) แต่ต่อมาในปี พ.ศ. 2101 เชียงใหม่ได้เสียเมืองให้แก่พระเจ้าบุเรงนอง พระมหากษัตริย์พม่า และได้ถูก ปกครองโดยพม่ามานานกว่าสองร้อยปี จนถึงสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี จึงได้มีการทา สงครามเพื่อขับไล่พม่าออกจากเมืองเชียงใหม่และเชียงแสนได้สาเร็จ โดยการนาของเจ้ากาวิ ละและพระยาจ่าบ้านหลังจากนั้น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเจ้ากาวิละ ขึ้นเป็น พระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ โดยให้ ปกครองหัวเมืองฝ่ายเหนือในฐานะประเทศราชของกรุงรัตนโกสินร์ และราชวงศ์ทิพย์จักราธิ วงศ์ (ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน) ซึ่งเป็นเชื้อสายของพระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ ก็ได้ปกครอง เมืองเชียงใหม่และหัวเมืองต่าง ๆ สืบต่อมา และเปลี่ยนชื่อเมืองเป็น "รัตนติงสาอภินวบุรี เชียงใหม่"
  • 43. จ.เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่แบ่งเขตการปกครองออกเป็ น 25 อาเภอ 204 ตาบล 2,066 หมู่บ้าน ซึ่งอาเภอทั้ง 25 อาเภอมีดังนี้ 1. อาเภอเมืองเชียงใหม่ 2. อาเภอจอมทอง 3. อาเภอแม่แจ่ม 4. อาเภอเชียงดาว 5. อาเภอดอยสะเก็ด 6. อาเภอแม่แตง 7. อาเภอแม่ริม 8. อาเภอสะเมิง 9. อาเภอฝาง 10. อาเภอแม่อาย 11. อาเภอพร้าว 12. อาเภอสันป่าตอง 13. อาเภอสันกาแพง 14. อาเภอสันทราย 15. อาเภอหางดง 16. อาเภอฮอด 17. อาเภอดอยเต่า 18. อาเภออมก๋อย 19. อาเภอสารภี 20. อาเภอเวียงแหง 21. อาเภอไชยปราการ 22. อาเภอแม่วาง 23. อาเภอแม่ออน 24. อาเภอดอยหล่อ 25. อาเภอกัลยาณิวัฒนา
  • 44. จ.เชียงใหม่ ประเพณีของเชียงใหม่ นับจากอดีต ชีวิตของชาวล้านนาผูกพันอยู่กับพุทธศาสนา ซึ่งจะเห็นได้จากการดาเนินชีวิต และสถาบันทางศาสนา ในชุมชน รวมทั้งระบบหัววัด ซึ่งมีการรวมกลุ่มของวัดต่าง ๆ ไม่ว่าใกล้หรือไกลกัน และคนในชุมชนหนึ่งชักชวน คนอีกชุมชนหนึ่งมาทาบุญที่วัดของตน เป็นการเชื่อมความสัมพันธ์กัน ขณะที่พุทธศาสนามีส่วนสัมพันธ์กับชีวิตของคนเมืองอย่างลึกซึ้ง แต่ความเชื่อดั้งเดิมเรื่องผีปู่ย่าและผีเสื้อเมือง ผี เจ้าเมืองก็มีปะปนอยู่ จนแยกกันไม่ออก ชาวล้านนาสามารถนาทั้งสองอย่างมาผสมผสานกันได้ อย่างกลมกลืน ใน งานพิธีและประเพณีต่าง ๆ ซึ่งจะพบได้ในปัจจุบัน ประเพณีและงานพิธีที่สาคัญในรอบปีของชาวเชียงใหม่มีอยู่มากมาย อาทิ ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีเข้าอินทขีล ประเพณี ลอยโคมลอยโขมด ประเพณีสรงน้าพระธาตุจอมทอง และพิธีเลี้ยงผีปู่และย่า เป็นต้น ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีสงกรานต์เป็นงานที่ยิ่งใหญ่ของชาวล้านนา เนื่องจากเป็นช่วงเวลาเปลี่ยนศักราชใหม่ และขอสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ทั้งหลาย ให้ปัดเป่าทุกข์โศกโรคภัยให้ล่วงไปในปีเก่า พร้อมทั้ง เตรียมร่างกายและจิตใจให้สดใสรับปีใหม่ โดยจะ เริ่มจัดขึ้น ตั้งแต่วันที่ 13 ถึงวันที่ 18 เม.ย. ของทุกปี แต่ชาวล้านนาถือวันที่ 15 เม.ย. เป็นวันเปลี่ยนศักราชใหม่ ต่างจากภาคกลาง และในระยะเวลา 6 วันนี้จะประกอบพิธีหลายอย่าง วันที่ 13 เม.ย. ถือเป็นวันสังขารล่อง (วันสิ้นสุดปีเก่า) ส่วนใหญ่ชาวบ้านจะยิงปืน จุดประทัด ก่อนสว่าง เพื่อขับไล่ เสนียดจัญไร แล้วเก็บกวาดบ้านเรือน หิ้งพระ
  • 45. จ.เชียงใหม่ วันที่ 14 เม.ย. เป็นวันที่เรียกกันว่า "วันเนา" หรือ "วันเน่า" วันนี้ชาวเชียงใหม่จะทาแต่สิ่งที่เป็นสิริมงคล พร้อมทั้ง ตระเตรียมอาหาร คาวหวาน เครื่องไทยทาน เพื่อทางานบุญในวันสงกรานต์ และไปขนทรายเข้าวัด วันที่ 15 เรียกว่า "วันพญาวัน" ถือเป็นวันเริ่มศักราชใหม่ ชาวเชียงใหม่จะไปทาบุญตักบาตรที่วัด และถวายอาหาร พระที่เรียกว่า "ทานขันข้าว" เพื่ออุทิศแก่ผู้ล่วงลับ และสรงน้าพระ หลังจากนั้นจึงนาขันข้าวตอก ดอกไม้ ธูปเทียน น้าขมิ้น ส้มป่อย หมากพลู เมี่ยง หรืออาจมีเครื่องนุ่งห่ม ไปรดน้าดาหัวผู้ใหญ่ ส่วนวันที่ 16-18 เม.ย. เรียกว่า "วันปากปี ปากเดือน ปากวัน" จะเป็นวันประกอบพิธีกรรมสักการะต่อวิญญาณ ศักดิ์สิทธิ์ทั่วไป ประเพณีเข้าอินทขีล อินทขีล เป็นชื่อของเสาหลักเมืองของชาวเชียงใหม่ เดิมประดิษฐานอยู่ ณ วัดสะดือเมือง หรือวัดอินทขีล กลางเมือง เชียงใหม่ แต่ปัจจุบันย้ายไปไว้ที่วัดเจดีย์หลวง ในสมัยของพระยากาวิละ และได้บูรณะปฏิสังขรณ์ใหม่เป็นเสาปูน การจัดงานประเพณีเข้าอินทขีล จัดขึ้นในปลายเดือน 8 ต่อต้นเดือน 9 (พฤษภาคม-มิถุนายน) ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า วันเดือน 8 เข้า เดือน 9 ออก เดิมประเพณีนี้เจ้าผู้ครองนครจะจัดขึ้นเพื่อสังเวยเทพยดาอารักษ์ บูชากุมภัณฑ์ และมีพิธีเข้าทรงผีเจ้านาย เพื่อ สอบถามว่า ฝนฟ้ าจะอุดมสมบูรณ์ และชะตาบ้านเมืองจะดีหรือไม่ หากชะตาของบ้านเมืองไม่ดี ก็จะจัดพิธีสืบ ชะตาเมืองเพิ่มขึ้นด้วย และปัจจุบันได้เพิ่มการทาพิธีทางพุทธศาสนาเข้ามาอีกอย่างหนึ่ง โดยการแห่พระพุทธรูป คันธารราษฎร์ (พระเจ้าฝนแสนห่า) รอบเมือง และจะนามาประดิษฐาน ณ วัดเจดีย์หลวง เพื่อให้ชาวเมืองสรงน้า จากนั้นพระสงฆ์ 9 รูป จะเจริญพระพุทธมนต์บูชาเสาอินทขีล ซึ่งฝังอยู่ใต้ดิน การประกอบพิธีนี้เพื่อมุ่งเสริมสร้าง ขวัญและกาลังใจของชาวเมืองก่อนที่จะเริ่มต้นฤดูกาลเพาะปลูก
  • 46. จ.เชียงใหม่ ประเพณีสรงน้าพระธาตุจอมทอง วัดพระธาตุจอมทองวรวิหาร เป็นศาสนสถานเก่าแก่ที่สาคัญ ตั้งอยู่บนเนินสูงราว 10 เมตร ที่เรียกว่า "ดอยจอมทอง" และมีเจดีย์ซึ่งเป็นที่ประดิษฐานพระทักษิณโมลีธาตุ (ส่วนที่เป็นพระเศียรด้านขวาของ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า) พระบรมสารีริกธาตุจอมทองนั้น ประดิษฐานอยู่ในพระโกศ 5 ชั้น มีจานวน 1 องค์ ขนาดเท่าเมล็ดถั่วเขียว มีสีขาวนวลและ ออกน้าตาลคล้ายสีดอกพิกุลแห้ง บรรจุไว้ในเจดีย์ ซึ่งจะมีการอัญเชิญออกมาให้ ประชาชนได้สักการะและสรงน้า 2 ครั้ง ในทุกปี คือวันที่พระบรมสารีริกธาตุเข้าพรรษาและออกพรรษา วันขึ้น 15 ค่า เดือน 9 ของแต่ละปี จะเป็นวันที่พระบรมสารีริกธาตุเข้าพรรษา พระภิกษุจะอัญเชิญพระ บรมสารีริกธาตุออกจากพระโกศ 5 ชั้น มาประดิษฐานในพระโกศแก้วใส แล้วแห่ไปทาพิธีที่โบสถ์ ใน ระหว่างทางชาวบ้านจะโยนข้าวตอกดอกไม้ไปยังพระโกศ เพื่อถวายเป็นสักการะ เมื่อทาพิธีเสร็จก็จะแห่ จากโบสถ์ไปยังหอสรงข้างวิหาร หอสรงนี้จะมีรางน้าเป็นรูปตัวนาคสาหรับใช้สรงน้า และเดิมจะใช้น้าแม่ กลาง ผสมด้วยดอกคาฝอย เป็นน้าสาหรับสรง แต่ปัจจุบันใช้น้าสะอาดธรรมดา เสร็จแล้วจึงอัญเชิญเข้า จาพรรษาในพระโกศ 5 ชั้น ตามเดิม และกลางคืนพระภิกษุจะสวดเจริญพระพุทธมนต์ เป็นอันเสร็จพิธี วันขึ้น 15 ค่า เดือน 5 ของแต่ละปี จะเป็นวันที่พระบรมสารีริกธาตุออกพรรษา จะมีประเพณีพิธีการ เช่นเดียวกับวันที่พระบรมสาริกธาตุเข้าพรรษา แต่จะเป็นพิธีเล็กกว่า ชาวบ้านไม่ค่อยมาร่วมสรงน้ามาก นัก