SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
อ้ อยพืชเศรษฐกิจ
จัดทําโดย
นางสาวจิราภรณ์ สิ นทร เลขที 16 ม.6/1
        โรงเรียนฝางวิทยายน


              เสนอ
   อาจารย์ คเชนทร์ กองพิลา
อ้ อย
ชือวิทยาศาสตร์ : Saccharum officinarum L.
วงศ์ : Poaceae (Graminceae)
ชือสามัญ : Sugar Cane
ชืออืน : อ้ อยขม อ้ อยแดง อ้ อยดํา (ภาคกลาง) อําโป (เขมร)
แหล่ งกําเนิด
          แหล่งกํ าเนิดดั งเดิมของอ้ อยอยู่ใน ิวกีนี ซึ งเป็ นเกาะใหญ่ในมหาสุมทร
แปซิฟิก มีหลั กฐานยืนยั นว่าชาวพื นเมืองของเกาะนี ปลูกอ้ อยไว้ ในสวนสําหรับ
เคี ยวกินเล่นมาตั งแต่สมั ยโบราญ นักพฤกษศาสตร์ในยุคหลั ง ๆ ได้สันนิษฐาน
ตรงกันว่า Saccharum officinarum L. นี มีก ํ าเนิดจากเกาะนิวกีนีอย่าง
แน่นอน และเชือว่าอ้ อยพั นธุ์ดั งเดิมนี เป็ นอ้ อยทีเรี ยกขานกันต่อมาว่“อ้ อยมี
                                                                       า
ตระกูล” (noble canes) และนอกจากนั น “อ้ อยมีตระกูล” นี ยั งมีพืชใน
สกุลเดียวกัน คือ อ้ อและแขม
          ในโลกนี มีพืชสกุลเดียวกับอ้ อยมากกว่า7 ชนิด นักพฤกษศาสตร์ ชาว
อินเดียกล่าวว่าอ้ อยอีกชนิดหนึ งมีชือว่า S.barberi นั นมีพื นเพดั งเดิมเกิดอยู่
ในทางตอนเหนือของอินเดีย แล้ วถูกนําไปปลูกในประเทศจีนในราว250 ปี ก่อน
พุทธกาล ภาษาสันสกฤตเรี ยกอ้ อยว่า“Shakkara” ซึ งพ้ องหรื อใกล้ เคียงกับ
ภาษาลาตินว่า Saccharum และมีความหมายว่า “พืชใหม่จากทาง
ตะวั นออก” นั นแสดงว่าแหล่งกํ าเนิดของอ้ อยนั นอยู่ทางทิศตะวั นออกของอินเดีย
การแพร่ พ ั นธุ์ของอ้อยจากเกาะนิวกีนีนั น เกิดจากการอพยพของคนในสมั ยโบราณสันนิษฐานว่า
อ้อยกระจายออกจากนิ วกีนีไป 3 ทาง คือ เริ มแรกอ้ อยถูกนํ าไปทีเกาะโซโลมอน เกาะนิ วเฮบริ
ติส และเกาะนิวคาลิโดเนีย ซึ งอยู่ด้านทิศตะวั นออกเฉี ยงเหนือของออสเตรเลียประมาณ8,000 ปี
ก่อนคริ สตกาล อีกทางหนึ งอ้ อยถูกนํ าไปทางทิศตะวั นตก ไปสู่ อินโดนี เซี ย ฟิ ลิปปิ นส์และใน
ทีสุดไปสู่ ด้านเหนือของอินเดียในราวประมาณ 6,000 ปี ก่อนคริ สตกาล ทางทีสามคาดว่าอ้ อยถูก
นําไปสู่ เกาะทางทิศตะวั นออกของหมู่เกาะไซโลมอน ซึ งได้แก่เกาะฟิ จิ ตองกา ซามั ว เกาะคุก
หมู่เกาะมาร์คีซาส์ เกาะโซไซตี เกาะอีสเตอร์ และฮาวาย รวมทั งเกาะเล็กเกาะน้อยในมหาสมุทร
แปซิฟิก
             อเล็กซานเดอร์ มหาราชได้นําอ้อยจากอินเดียไปสู่ มาซีโดเนียในราว ค.ศ. 218 ในสมั ย
พุทธกาลอ้อยอาจถูกนําไปสู่ เปอร์ เซีย อราเบีย อียิปต์ หลังจากนั นมาอ้อยก็ไป งสเปญ มาไดรา
                                                                          ถึ
(Madeira) หมู่เกาะคานารี และเซาโตเม ทั งนี อาจเป็ นไปโดยการจงใจดั งเช่นในการเดินทาง
ไปอเมริ การครั งที2 ของโคลัมบั สในปี ค.ศ. 1493 และภายหลั งก็มีการนํ าไปอีกโดยนักเผชิ ญ
โชคทางเรื อในศตวรรษที 18 และ 19 นอกจากโคลัมบั สแล้วยั งมีนักเดินเรื อผู ้ อืนอีกทีนํ าอ้อยไป
แพร่ หลาย โดยอาศัยประโยชน์ใช้เป็ นอาหารในระหว่างเดินเรื อได้ ในครึ งแรกของศตวรรษที16
นักเดินเรื อล่าเมืองขึ นเป็ นผู้ นําอ้อยไปสู่ แถบศูนย์ สูตรโลก
อ้ อยในประเทศไทย
            อ้อยเป็ นพืชทีมีความสําคั ญทีชาวไทยนํามาใช้ในพิธีต่าง ๆ มาแต่โบราณกาลไม่ว่างาน
เทศกาลหรื อพิธีมงคลต่าง ๆ เช่น แต่งงาน โกนจุก ขึ นบ้านใหม่ หรื อเทศน์มหาชาติ สิ งทีขาด
ไม่ได้ก็คืออ้อย ในงานหมั นหรื อแต่งงานก็มีต้นอ้ อยแห่ มากั บขบวนขั นหมาก และนํ ามาผูกที
ประตูบ้านเจ้าสาว ในการไหว้พระจั นทร์ของชาวจีนก็ใช้อ้อยประดับทํ าซุ ้ม ในพิธีต่าง ๆ ทีต้ องมี
มณฑปพิธีต ั งราชวั ติฉัตรธง ก็จะต้ องประดั บประดาด้วยอ้อย รวมทั งกล้วย มะพร้าวต่าง ๆ ด้วย
            ในตํ ารับยาแผนโบราณใช้อ้อยแดงมาต้มกั บเครื องยาอืน ทีเรี ยกว่าอ้อยแดงก็เพราะมี
เปลือกสีแดงจนเกือบดํ า บางครั งจึงมีผู้เรี ยกว่าอ้ อยดํ าหรื ออ้อยขม เนื องจากตาและเปลือกมีรสขม

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (10)

srep34405
srep34405srep34405
srep34405
 
Gca training area targeted 2 25
Gca training area targeted 2 25Gca training area targeted 2 25
Gca training area targeted 2 25
 
Presentació de la xerrada d'Enric Queralt a l'institut Cubelles
Presentació de la xerrada d'Enric Queralt a l'institut CubellesPresentació de la xerrada d'Enric Queralt a l'institut Cubelles
Presentació de la xerrada d'Enric Queralt a l'institut Cubelles
 
แอน
แอนแอน
แอน
 
Smart proj draft
Smart proj draftSmart proj draft
Smart proj draft
 
Apes earth systems
Apes  earth systemsApes  earth systems
Apes earth systems
 
Grolier encyclopedia presentation
Grolier encyclopedia presentationGrolier encyclopedia presentation
Grolier encyclopedia presentation
 
Mm
MmMm
Mm
 
Indiaspeech
IndiaspeechIndiaspeech
Indiaspeech
 
تاكل المواد وطرق حمايتها
تاكل المواد وطرق حمايتهاتاكل المواد وطرق حمايتها
تاكل المواد وطرق حمايتها
 

Similar to Ccc

อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียToey Songwatcharachai
 
#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดีย#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดียPpor Elf'ish
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2teacherhistory
 
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้hackinteach
 
กล มท__ 15 (1)
กล  มท__ 15 (1)กล  มท__ 15 (1)
กล มท__ 15 (1)Aum Thunsuda
 
นักโบราณคดีและนักวิจัยทั่วโลกต่างทำงานหนักเพื่อขุดค้นหลักฐานใหม่ๆ ที่ทำให้เรา...
นักโบราณคดีและนักวิจัยทั่วโลกต่างทำงานหนักเพื่อขุดค้นหลักฐานใหม่ๆ ที่ทำให้เรา...นักโบราณคดีและนักวิจัยทั่วโลกต่างทำงานหนักเพื่อขุดค้นหลักฐานใหม่ๆ ที่ทำให้เรา...
นักโบราณคดีและนักวิจัยทั่วโลกต่างทำงานหนักเพื่อขุดค้นหลักฐานใหม่ๆ ที่ทำให้เรา...Fah Philip
 

Similar to Ccc (8)

อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดีย#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดีย
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
 
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
 
กล มท__ 15 (1)
กล  มท__ 15 (1)กล  มท__ 15 (1)
กล มท__ 15 (1)
 
นักโบราณคดีและนักวิจัยทั่วโลกต่างทำงานหนักเพื่อขุดค้นหลักฐานใหม่ๆ ที่ทำให้เรา...
นักโบราณคดีและนักวิจัยทั่วโลกต่างทำงานหนักเพื่อขุดค้นหลักฐานใหม่ๆ ที่ทำให้เรา...นักโบราณคดีและนักวิจัยทั่วโลกต่างทำงานหนักเพื่อขุดค้นหลักฐานใหม่ๆ ที่ทำให้เรา...
นักโบราณคดีและนักวิจัยทั่วโลกต่างทำงานหนักเพื่อขุดค้นหลักฐานใหม่ๆ ที่ทำให้เรา...
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
อารยธรรมอินคา
อารยธรรมอินคาอารยธรรมอินคา
อารยธรรมอินคา
 

Ccc

  • 2. จัดทําโดย นางสาวจิราภรณ์ สิ นทร เลขที 16 ม.6/1 โรงเรียนฝางวิทยายน เสนอ อาจารย์ คเชนทร์ กองพิลา
  • 3. อ้ อย ชือวิทยาศาสตร์ : Saccharum officinarum L. วงศ์ : Poaceae (Graminceae) ชือสามัญ : Sugar Cane ชืออืน : อ้ อยขม อ้ อยแดง อ้ อยดํา (ภาคกลาง) อําโป (เขมร)
  • 4. แหล่ งกําเนิด แหล่งกํ าเนิดดั งเดิมของอ้ อยอยู่ใน ิวกีนี ซึ งเป็ นเกาะใหญ่ในมหาสุมทร แปซิฟิก มีหลั กฐานยืนยั นว่าชาวพื นเมืองของเกาะนี ปลูกอ้ อยไว้ ในสวนสําหรับ เคี ยวกินเล่นมาตั งแต่สมั ยโบราญ นักพฤกษศาสตร์ในยุคหลั ง ๆ ได้สันนิษฐาน ตรงกันว่า Saccharum officinarum L. นี มีก ํ าเนิดจากเกาะนิวกีนีอย่าง แน่นอน และเชือว่าอ้ อยพั นธุ์ดั งเดิมนี เป็ นอ้ อยทีเรี ยกขานกันต่อมาว่“อ้ อยมี า ตระกูล” (noble canes) และนอกจากนั น “อ้ อยมีตระกูล” นี ยั งมีพืชใน สกุลเดียวกัน คือ อ้ อและแขม ในโลกนี มีพืชสกุลเดียวกับอ้ อยมากกว่า7 ชนิด นักพฤกษศาสตร์ ชาว อินเดียกล่าวว่าอ้ อยอีกชนิดหนึ งมีชือว่า S.barberi นั นมีพื นเพดั งเดิมเกิดอยู่ ในทางตอนเหนือของอินเดีย แล้ วถูกนําไปปลูกในประเทศจีนในราว250 ปี ก่อน พุทธกาล ภาษาสันสกฤตเรี ยกอ้ อยว่า“Shakkara” ซึ งพ้ องหรื อใกล้ เคียงกับ ภาษาลาตินว่า Saccharum และมีความหมายว่า “พืชใหม่จากทาง ตะวั นออก” นั นแสดงว่าแหล่งกํ าเนิดของอ้ อยนั นอยู่ทางทิศตะวั นออกของอินเดีย
  • 5. การแพร่ พ ั นธุ์ของอ้อยจากเกาะนิวกีนีนั น เกิดจากการอพยพของคนในสมั ยโบราณสันนิษฐานว่า อ้อยกระจายออกจากนิ วกีนีไป 3 ทาง คือ เริ มแรกอ้ อยถูกนํ าไปทีเกาะโซโลมอน เกาะนิ วเฮบริ ติส และเกาะนิวคาลิโดเนีย ซึ งอยู่ด้านทิศตะวั นออกเฉี ยงเหนือของออสเตรเลียประมาณ8,000 ปี ก่อนคริ สตกาล อีกทางหนึ งอ้ อยถูกนํ าไปทางทิศตะวั นตก ไปสู่ อินโดนี เซี ย ฟิ ลิปปิ นส์และใน ทีสุดไปสู่ ด้านเหนือของอินเดียในราวประมาณ 6,000 ปี ก่อนคริ สตกาล ทางทีสามคาดว่าอ้ อยถูก นําไปสู่ เกาะทางทิศตะวั นออกของหมู่เกาะไซโลมอน ซึ งได้แก่เกาะฟิ จิ ตองกา ซามั ว เกาะคุก หมู่เกาะมาร์คีซาส์ เกาะโซไซตี เกาะอีสเตอร์ และฮาวาย รวมทั งเกาะเล็กเกาะน้อยในมหาสมุทร แปซิฟิก อเล็กซานเดอร์ มหาราชได้นําอ้อยจากอินเดียไปสู่ มาซีโดเนียในราว ค.ศ. 218 ในสมั ย พุทธกาลอ้อยอาจถูกนําไปสู่ เปอร์ เซีย อราเบีย อียิปต์ หลังจากนั นมาอ้อยก็ไป งสเปญ มาไดรา ถึ (Madeira) หมู่เกาะคานารี และเซาโตเม ทั งนี อาจเป็ นไปโดยการจงใจดั งเช่นในการเดินทาง ไปอเมริ การครั งที2 ของโคลัมบั สในปี ค.ศ. 1493 และภายหลั งก็มีการนํ าไปอีกโดยนักเผชิ ญ โชคทางเรื อในศตวรรษที 18 และ 19 นอกจากโคลัมบั สแล้วยั งมีนักเดินเรื อผู ้ อืนอีกทีนํ าอ้อยไป แพร่ หลาย โดยอาศัยประโยชน์ใช้เป็ นอาหารในระหว่างเดินเรื อได้ ในครึ งแรกของศตวรรษที16 นักเดินเรื อล่าเมืองขึ นเป็ นผู้ นําอ้อยไปสู่ แถบศูนย์ สูตรโลก
  • 6. อ้ อยในประเทศไทย อ้อยเป็ นพืชทีมีความสําคั ญทีชาวไทยนํามาใช้ในพิธีต่าง ๆ มาแต่โบราณกาลไม่ว่างาน เทศกาลหรื อพิธีมงคลต่าง ๆ เช่น แต่งงาน โกนจุก ขึ นบ้านใหม่ หรื อเทศน์มหาชาติ สิ งทีขาด ไม่ได้ก็คืออ้อย ในงานหมั นหรื อแต่งงานก็มีต้นอ้ อยแห่ มากั บขบวนขั นหมาก และนํ ามาผูกที ประตูบ้านเจ้าสาว ในการไหว้พระจั นทร์ของชาวจีนก็ใช้อ้อยประดับทํ าซุ ้ม ในพิธีต่าง ๆ ทีต้ องมี มณฑปพิธีต ั งราชวั ติฉัตรธง ก็จะต้ องประดั บประดาด้วยอ้อย รวมทั งกล้วย มะพร้าวต่าง ๆ ด้วย ในตํ ารับยาแผนโบราณใช้อ้อยแดงมาต้มกั บเครื องยาอืน ทีเรี ยกว่าอ้อยแดงก็เพราะมี เปลือกสีแดงจนเกือบดํ า บางครั งจึงมีผู้เรี ยกว่าอ้ อยดํ าหรื ออ้อยขม เนื องจากตาและเปลือกมีรสขม