SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
• อัลเบิร์ต แบนดูรา เกิดที่เมืองอัลเบอร์ตา ประเทศ
แคนาดา ได้รับปริญญาศิลปะศาตร์บันฑิต จาก
มหาวิทยาลัยบริติช โคลัมเบีย
• ได้รับปริญญาศิลปศาตร์มหาบันฑิตและปรัชญา
ดุษฎีบันฑิตทางจิตวิทยาคลีนิกจากมหาลัยไอโอวา
• การเรียนรู้ของมนุษย์ส่วนมากเป็นการเรียนรู้โดยการ
สังเกตหรือการเลียนแบบเนื่องจากมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์
กับสิ่งแดล้อมรอบๆตัวอยู่เสมอ เป็นกระบวนการทางการ
รู้คิดหรือพุทธปัญญา
• ขั้นที่ 1 ขั้นการได้รับมาซึ่งการเรียนรู้
(Acquisition)
สิ่งเร้าหรือการรับเข้า(input) > บุคคล(person)
• ขั้นที่ 2 ขั้นการกระทำา (Performance)
สิ่งเร้าหรือการรับเข้า(input) > บุคคล(person)
• กระบวนการความเอาใจใส่ (Attention)
• กระบวนการจดจำา (Retention)
• กระบวนการแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวอย่าง
(Reproduction)
• กระบวนการการจูงใจ (Motivation)
แบนดูราได้แบ่งเด็กออกเป็น 3 กลุ่ม
• กลุ่มที่ 1 ให้เห็นตัวอย่างจากตัวแบบที่มีชีวิต แสดง
พฤติกรรมก้าวร้าว
• กลุ่มที่ 2 มีตัวแบบที่ไม่แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว
• กลุ่มที่ 3 ไม่มีตัวแบบแสดงพฤติกรรมให้ดูเป็นตัวอย่าง
• บ่งชี้วัตถุประสงค์ที่จะให้นักเรียนแสดงพฤติกรรม
• แสดงตัวอย่างของการกระทำาหลายๆอย่าง
• ให้คำาอธิบายควบคู่กันไปกับการให้ตัวอย่างแต่ละอย่าง
• ชี้แจงขั้นตอนของการเรียนรู้โดยการสังเกตแก่นักเรียน
• จัดเวลาให้นักเรียนมีโอกาสที่แสดงพฤติกรรมเหมือนตัว
แบบ
• เสริมแรงแก่นักเรียนที่สามารถเลียนแบบได้อย่างถูก
ต้อง
• เน้นความสำาคัญของการเรียนรู้แบบการสังเกตหรือ
เลียนแบบจากตัวแบบ ซึ่งอาจจะเป็นได้ทั้งตัวบุคคล
จริงๆ
• การเรียนรู้โดยการสังเกตประกอบด้วย 2 ขั้น คือ
- ขั้นการรับมาซึ่งการเรียนรู้เป็นกระบวนการทาง
พุทธิปัญญา
- ขั้น กระทำา ตัวแบบทที่มีอิทธิพลต่อตัว
พฤติกรรม
• นางสาวเจะรูอัยดา โว๊ะ รหัส 405710001
• นางสาวฟาตีมี นอร์ รหัส 405710008
• นางสาวโนรมาลา อาแว รหัส 405710009
• นางสาวนูรมา นิมะ รหัส 405710016
• นางสาวขัตติยา สามะ รหัส 405710022
• นางสาวนูตรียะห์ ดอเลาะ รหัส 405710025
สาขาการศึกษาปฐมวัย ห้อง 1 ชั้นปีที่ 2
มหาวิทยาลัยราชภัฎ ยะลา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเเบนดูร่า

More Related Content

More from 6Phepho

More from 6Phepho (16)

ทฤษฎีการเรียนรู้เกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้เกสตัลท์ทฤษฎีการเรียนรู้เกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้เกสตัลท์
 
ทฤษฎีพัฒนาการเรียนรู้แบนดูรา
ทฤษฎีพัฒนาการเรียนรู้แบนดูราทฤษฎีพัฒนาการเรียนรู้แบนดูรา
ทฤษฎีพัฒนาการเรียนรู้แบนดูรา
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์
 
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง ธอร์นไดค์
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง ธอร์นไดค์ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง ธอร์นไดค์
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง ธอร์นไดค์
 
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค วัตสัน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค วัตสันทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค วัตสัน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค วัตสัน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ บรูเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ บรูเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ บรูเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ บรูเนอร์
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม โคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม โคลเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม โคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม โคลเบิร์ก
 
ทฤษฎีพัฒนาการตามวัย โรเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการตามวัย โรเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการตามวัย โรเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการตามวัย โรเบิร์ก
 
ทฤษฎีจิตสังคม อีริคสัน
ทฤษฎีจิตสังคม อีริคสันทฤษฎีจิตสังคม อีริคสัน
ทฤษฎีจิตสังคม อีริคสัน
 
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ ซิกมัน ฟรอยด์
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์  ซิกมัน  ฟรอยด์ทฤษฏีจิตวิเคราะห์  ซิกมัน  ฟรอยด์
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ ซิกมัน ฟรอยด์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
 
ืทฤษฎีพัฒนาการทางการคิดของบรูเนอร์
ืทฤษฎีพัฒนาการทางการคิดของบรูเนอร์ืทฤษฎีพัฒนาการทางการคิดของบรูเนอร์
ืทฤษฎีพัฒนาการทางการคิดของบรูเนอร์
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
 
ทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์กทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์ก
 
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมัน ฟรอยด์
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมัน  ฟรอยด์ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมัน  ฟรอยด์
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมัน ฟรอยด์
 
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมัน ฟรอยด์
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมัน  ฟรอยด์ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมัน  ฟรอยด์
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมัน ฟรอยด์
 

ทฤษฎีการเรียนรู้ของเเบนดูร่า