SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์(Thorndike
ประวัติ
• เอ็ดเวิร์ด ลี ธอร์นไดค์ ( EDWARD LEE THORNDIKE)
เป็นนักจิตวิทยาชาวอเมริกัน เกิดวันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 1814
ที่เมื่องวิลเลี่ยมเบอรี่ ( williambury) รัฐแมซซาชูเสท (
MASSACHUSATTS) และเสียชีวิตวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ.
1949 รัฐนิวยอร์ค
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์(Thorndike)
... ...
• ธอร์นไดค์ (Edward L Thorndike) เป็นนักจิตวิทยาและ
นักการศึกษาชาวอเมริกัน เป็นเจ้าของทฤษฎีการเรียนรู้ที่เน้น
ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า (S) กับการตอบสนอง (R) เขา
เชื่อว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นได้ต้องสร้างสิ่งเชื่อมโยงหรือพันธะเชื่อมโยง
(Bond) ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง จึงเรียกทฤษฎีนี้ว่า ทฤษฎี
พันธะระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง (Connectionism
Theory) หรือ ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง
• ธอร์นไดค์ เชื่อว่า การเรียนรู้เบื้องต้นของสิ่งมีชีวิต ไม่ว่ามนุษย์ หรือสัตว์
จะใช้วิธีการเรียนรุ้แบบลองผิดลองถูก
• การเรียนรุ้จะเกิดขึ้นได้ด้วยการที่มนุษย์หรือสัตว์ได้เลือกวิธีการ
ตอบสนองที่ดีที่สุด เพื่อการเชื่อมโยงสิ่งเร้าให้เหมาะสมจึ่งเรียก
ทฤษฎ๊ธอร์นไดค์ ว่าทฤษฎีเชื่อมโยงสัมพันธ์
การทดลอง
โดยสรุปแมวจะแสดงพฤติกรรมดังนี้
R1 แมววิ่งรอบกรงไม้
R2 แมวส่งเสียงร้อง
• R5 แมวเหยียบคานไม้ แล้วเปิดประตู
• แมวอยู่ในกรง s1
R3 แมวตระกรุยข้างกรง
R4 แมวผลักประตู
• R5 แมวเหยียบคานไม้ แล้วเปิดประตู
S คือ ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า
R คือ การตอบสนอง
จากการทดลอง
• ได้สรุปกฎการเรียนรู้สาคัญ 3 กฎดังนี้
1. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness)
สภาพความพร้อมหรือวุฒิภาวะของผู้เรียนทั้งทางร่างกาย อวัยวะ
ต่างๆ ในการเรียนรู้และจิตใจ รวมทั้งพื้นฐานและประสบการณ์เดิมถ้า
ผู้เรียนมีความพร้อมตามองค์ประกอบต่างๆ ดังกล่าว ก็จะทาให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้ได้
2. กฎแห่งการฝึกหัด(Law o f Exercise)
หมายถึงการที่ผู้เรียนได้ฝึกหัดหรือกระทาซ้าๆบ่อยๆ ย่อมจะทาให้
เกิดความสมบูรณ์ถูกต้อง
3. กฎแห่งความพอใจ(Law of Effect)
เมื่อบุคคลได้รับผลทีพึ่งพอใจย่อมอยากจะเรียนรู้ต่อไป แต่ถ้าได้รับ
ผลไม่พึ่งพอใจ จะไม่อยากเรียน ดังนั้นการได้รับผลที่พึ่งพอใจ จึ่งเป็น
ปัจจัยสาคัญในการเรียนรู้
การประยุกต์ใช้ในชั้นเรียน
• 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียน เรียนรู้โดยการลองผิดลองถูก
• 2. สร้างความพร้อมทางการเรียนให้แก่ผู้เรียน
• 3. หากต้องการให้ผู้เรียนเกิดทักษะในเรื่องใดแล้ว ต้องให้ผู้เรียนมี
ความรู้และความเข้าใจในเรื่องนั้นๆ
• 4. เมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้ว ควรให้ผู้เรียนฝึกการนาการเรียนรู้นั้น
ไปใช้
• 5. การให้ผู้เรียนได้รับผลที่น่าพึ่งพอใจ จะช่วยให้การเรียนการสอน
ประสบความสาเร็จ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์

More Related Content

More from 6Phepho

ทฤษฎีการเรียนรู้เกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้เกสตัลท์ทฤษฎีการเรียนรู้เกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้เกสตัลท์6Phepho
 
ทฤษฎีพัฒนาการเรียนรู้แบนดูรา
ทฤษฎีพัฒนาการเรียนรู้แบนดูราทฤษฎีพัฒนาการเรียนรู้แบนดูรา
ทฤษฎีพัฒนาการเรียนรู้แบนดูรา6Phepho
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์6Phepho
 
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง ธอร์นไดค์
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง ธอร์นไดค์ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง ธอร์นไดค์
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง ธอร์นไดค์6Phepho
 
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค วัตสัน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค วัตสันทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค วัตสัน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค วัตสัน6Phepho
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ บรูเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ บรูเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ บรูเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ บรูเนอร์6Phepho
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม โคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม โคลเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม โคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม โคลเบิร์ก6Phepho
 
ทฤษฎีพัฒนาการตามวัย โรเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการตามวัย โรเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการตามวัย โรเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการตามวัย โรเบิร์ก6Phepho
 
ทฤษฎีจิตสังคม อีริคสัน
ทฤษฎีจิตสังคม อีริคสันทฤษฎีจิตสังคม อีริคสัน
ทฤษฎีจิตสังคม อีริคสัน6Phepho
 
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ ซิกมัน ฟรอยด์
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์  ซิกมัน  ฟรอยด์ทฤษฏีจิตวิเคราะห์  ซิกมัน  ฟรอยด์
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ ซิกมัน ฟรอยด์6Phepho
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเเบนดูร่า
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเเบนดูร่าทฤษฎีการเรียนรู้ของเเบนดูร่า
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเเบนดูร่า6Phepho
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตันทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัน6Phepho
 
ทฤษฏีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฏีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฏีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฏีการเรียนรู้ของสกินเนอร์6Phepho
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสันทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน6Phepho
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ6Phepho
 
ืทฤษฎีพัฒนาการทางการคิดของบรูเนอร์
ืทฤษฎีพัฒนาการทางการคิดของบรูเนอร์ืทฤษฎีพัฒนาการทางการคิดของบรูเนอร์
ืทฤษฎีพัฒนาการทางการคิดของบรูเนอร์6Phepho
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์6Phepho
 
ทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์กทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์ก6Phepho
 
ทฤษฏีพัฒนาการตามวัยของ โรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิสต์
ทฤษฏีพัฒนาการตามวัยของ โรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิสต์ทฤษฏีพัฒนาการตามวัยของ โรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิสต์
ทฤษฏีพัฒนาการตามวัยของ โรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิสต์6Phepho
 
ทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสัน
ทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสันทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสัน
ทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสัน6Phepho
 

More from 6Phepho (20)

ทฤษฎีการเรียนรู้เกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้เกสตัลท์ทฤษฎีการเรียนรู้เกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้เกสตัลท์
 
ทฤษฎีพัฒนาการเรียนรู้แบนดูรา
ทฤษฎีพัฒนาการเรียนรู้แบนดูราทฤษฎีพัฒนาการเรียนรู้แบนดูรา
ทฤษฎีพัฒนาการเรียนรู้แบนดูรา
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์
 
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง ธอร์นไดค์
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง ธอร์นไดค์ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง ธอร์นไดค์
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง ธอร์นไดค์
 
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค วัตสัน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค วัตสันทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค วัตสัน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค วัตสัน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ บรูเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ บรูเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ บรูเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ บรูเนอร์
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม โคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม โคลเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม โคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม โคลเบิร์ก
 
ทฤษฎีพัฒนาการตามวัย โรเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการตามวัย โรเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการตามวัย โรเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการตามวัย โรเบิร์ก
 
ทฤษฎีจิตสังคม อีริคสัน
ทฤษฎีจิตสังคม อีริคสันทฤษฎีจิตสังคม อีริคสัน
ทฤษฎีจิตสังคม อีริคสัน
 
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ ซิกมัน ฟรอยด์
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์  ซิกมัน  ฟรอยด์ทฤษฏีจิตวิเคราะห์  ซิกมัน  ฟรอยด์
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ ซิกมัน ฟรอยด์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเเบนดูร่า
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเเบนดูร่าทฤษฎีการเรียนรู้ของเเบนดูร่า
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเเบนดูร่า
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตันทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัน
 
ทฤษฏีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฏีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฏีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฏีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสันทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
 
ืทฤษฎีพัฒนาการทางการคิดของบรูเนอร์
ืทฤษฎีพัฒนาการทางการคิดของบรูเนอร์ืทฤษฎีพัฒนาการทางการคิดของบรูเนอร์
ืทฤษฎีพัฒนาการทางการคิดของบรูเนอร์
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
 
ทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์กทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์ก
 
ทฤษฏีพัฒนาการตามวัยของ โรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิสต์
ทฤษฏีพัฒนาการตามวัยของ โรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิสต์ทฤษฏีพัฒนาการตามวัยของ โรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิสต์
ทฤษฏีพัฒนาการตามวัยของ โรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิสต์
 
ทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสัน
ทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสันทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสัน
ทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสัน
 

ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์

  • 2. ประวัติ • เอ็ดเวิร์ด ลี ธอร์นไดค์ ( EDWARD LEE THORNDIKE) เป็นนักจิตวิทยาชาวอเมริกัน เกิดวันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 1814 ที่เมื่องวิลเลี่ยมเบอรี่ ( williambury) รัฐแมซซาชูเสท ( MASSACHUSATTS) และเสียชีวิตวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1949 รัฐนิวยอร์ค
  • 3. ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์(Thorndike) ... ... • ธอร์นไดค์ (Edward L Thorndike) เป็นนักจิตวิทยาและ นักการศึกษาชาวอเมริกัน เป็นเจ้าของทฤษฎีการเรียนรู้ที่เน้น ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า (S) กับการตอบสนอง (R) เขา เชื่อว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นได้ต้องสร้างสิ่งเชื่อมโยงหรือพันธะเชื่อมโยง (Bond) ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง จึงเรียกทฤษฎีนี้ว่า ทฤษฎี พันธะระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง (Connectionism Theory) หรือ ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง
  • 4. • ธอร์นไดค์ เชื่อว่า การเรียนรู้เบื้องต้นของสิ่งมีชีวิต ไม่ว่ามนุษย์ หรือสัตว์ จะใช้วิธีการเรียนรุ้แบบลองผิดลองถูก • การเรียนรุ้จะเกิดขึ้นได้ด้วยการที่มนุษย์หรือสัตว์ได้เลือกวิธีการ ตอบสนองที่ดีที่สุด เพื่อการเชื่อมโยงสิ่งเร้าให้เหมาะสมจึ่งเรียก ทฤษฎ๊ธอร์นไดค์ ว่าทฤษฎีเชื่อมโยงสัมพันธ์
  • 6. โดยสรุปแมวจะแสดงพฤติกรรมดังนี้ R1 แมววิ่งรอบกรงไม้ R2 แมวส่งเสียงร้อง • R5 แมวเหยียบคานไม้ แล้วเปิดประตู • แมวอยู่ในกรง s1 R3 แมวตระกรุยข้างกรง R4 แมวผลักประตู • R5 แมวเหยียบคานไม้ แล้วเปิดประตู S คือ ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า R คือ การตอบสนอง
  • 7. จากการทดลอง • ได้สรุปกฎการเรียนรู้สาคัญ 3 กฎดังนี้ 1. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) สภาพความพร้อมหรือวุฒิภาวะของผู้เรียนทั้งทางร่างกาย อวัยวะ ต่างๆ ในการเรียนรู้และจิตใจ รวมทั้งพื้นฐานและประสบการณ์เดิมถ้า ผู้เรียนมีความพร้อมตามองค์ประกอบต่างๆ ดังกล่าว ก็จะทาให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ได้
  • 8. 2. กฎแห่งการฝึกหัด(Law o f Exercise) หมายถึงการที่ผู้เรียนได้ฝึกหัดหรือกระทาซ้าๆบ่อยๆ ย่อมจะทาให้ เกิดความสมบูรณ์ถูกต้อง 3. กฎแห่งความพอใจ(Law of Effect) เมื่อบุคคลได้รับผลทีพึ่งพอใจย่อมอยากจะเรียนรู้ต่อไป แต่ถ้าได้รับ ผลไม่พึ่งพอใจ จะไม่อยากเรียน ดังนั้นการได้รับผลที่พึ่งพอใจ จึ่งเป็น ปัจจัยสาคัญในการเรียนรู้
  • 9. การประยุกต์ใช้ในชั้นเรียน • 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียน เรียนรู้โดยการลองผิดลองถูก • 2. สร้างความพร้อมทางการเรียนให้แก่ผู้เรียน • 3. หากต้องการให้ผู้เรียนเกิดทักษะในเรื่องใดแล้ว ต้องให้ผู้เรียนมี ความรู้และความเข้าใจในเรื่องนั้นๆ • 4. เมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้ว ควรให้ผู้เรียนฝึกการนาการเรียนรู้นั้น ไปใช้ • 5. การให้ผู้เรียนได้รับผลที่น่าพึ่งพอใจ จะช่วยให้การเรียนการสอน ประสบความสาเร็จ