SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ป�การศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน การสร้างแอนิเมชั่น
ชื่อผู้ทำโครงงาน
ชื่อ นาย กรวิทย์ กังวานไกร เลขที่ 15 ชั้น ม.6 ห้อง 8
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ป�การศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทำข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม……….
1.นาย กรวิทย์ กังวานไกร เลขที่ 15
คำชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การสร้างแอนิเมชั่น
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Animate Animation
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
ชื่อผู้ทำโครงงาน นายกรวิทย์ กังวานไกร
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ถึงภาคเรียนที่ 2 ป�การศึกษา 2562
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทำโครงงาน)
ป�จจุบัน สื่อประเภทวิดิทัศน์เป�นที่นิยมกันในทุกช่วงวัย เนื่องจากสื่อเหล่านั้นสามารถสร้างความเพลิดเพลิน
สนุกสนานและยังสามารถให้ความรู้แก่ผู้รับชมได้อีกด้วย โดยสื่อประเภทวิดิทัศน์นั้นมีหลายประเภท เช่น สื่อสารคดี
สื่อภาพยนตร์ สื่อบันเทิง และยังมีสื่อประเภทแอนิเมชั่นที่เริ่มจะได้รับความนิยมในป�จจุบัน ซึ่งในป�จจุบันเทคโนโลยีได้
พัฒนาไปอย่างรวดเร็วทำให้การสร้างแอนิเมชั่นไม่ใช่เรื่องที่ยากอีกต่อไป อีกทั้งผู้จัดทำโครงงานมีความชื่นชอบและ
สนใจการสร้างแอนิเมชั่นในการเป�นสื่อให้ความรู้และประโยชนแ์ก่ผู้รับชม ดังนั้นผู้จัดทำเห็นว่าสื่อแอนิเมชั่นสามารถให้
ความรู้พร้อมกับความสนุกสนาน และยังเป�นการฝ�กให้ผู้รับชมสามารถมีสมาธิจดจ่อกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้ชัดเจนยิ่งขึ้น
ส่งผลให้ผู้จัดทำสนใจศึกษาการสร้างแอนิเมชั่นตั้งแต่ขั้นตอนแรกจนถึงขั้นตอนสุดท้าย เพ่ือหาว่าการสร้างแอนิเมชั่น
ต้องใช้ต้นทุนและความทุ่มเทเท่าไหร่ ซึ่งจะสอดคล้องกับความนิยมของสื่อประเภทนี้ในป�จจุบัน
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทำโครงงาน ระบุเป�นข้อ)
1.เพื่อศึกษาการแนวทางการสร้างแอนิเมชั่นในรูปแบบของ 2D
2.เพื่อศึกษาการทำสื่อในรูปแบบแอนิเมชั่น
3.เพื่อศึกษาการใช้งานโปรแกรมสร้างแอนิเมชั่น
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจำกัดของการทำโครงงาน)
1.สามารถทำให้ภาพเคลื่อนไหวได้
2.ภาพเคลื่อนไหวเป�นรูปแบบ 2D
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทำโครงงาน)
จากบทความ “ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแอนิเมชั่น” ของ KPK-animation ได้กล่าวถึงแอนิเมชั่นไว้ว่า
แอนิเมชั่น (Animation) หมายถึง กระบวนการที่เฟรมแต่ละเฟรมของภาพยนตร์ ถูกผลิตขึ้นต่างหากทีละ
เฟรม แล้วนำมาร้อยเรียงเข้าด้วยกันโดยการฉายต่อเนื่องกัน ไม่ว่าจากวิธีการใช้คอมพิวเตอร์ กราฟ�ก ถ่ายภาพ หรือรูป
วาด เมื่อนำภาพดังกล่าวมาฉายด้วยความเร็วตั้งแต่ 16 เฟรมต่อวินาทีขึ้นไป เราจะเห็นเหมือนว่าภาพดังกล่าว
เคลื่อนไหวได้ต่อเนื่องกัน เนื่องจากการเห็นภาพติดตา
ประเภทของงานอนิเมชั่น
1.Traditional Animation หมายถึง การสร้างแอนิเมชั่นโดยใช้เครื่องมือตามธรรมดา ยังไม่มีการใช้ คอมพิวเตอร์
ช่วยในการสร้างเทคนิค แบ่งออกเป�นดังนี้
1.1) 2D Animation การวาดภาพที่มีการเคลื่อนไหวเทคนิค 2 มิติ โดยวาดภาพที่มีการเคลื่อนไหว
ต่อเนื่องกัน ไม่ว่าจะเป�นการวาดด้วยมือบนกระดาษ การวาดบนแผ่นใส หรือก็คือแอนิเมชั่นที่เกิดจากการวาดภาพ
หลายๆพันภาพ แต่การฉายภาพเหล่านั้นผ่านกล้องอาจใช้เวลาไม่กี่นาที ข้อดีของการทำแอนิเมชั่นชนิด นี้คือ มีความ
เป�นศิลปะ สวยงาม น่าดูชม แต่ข้อเสียคือ ต้องใช้เวลาในการผลิตมาก ต้องใช้แอนิเมเตอร์จำนวนมากและต้นทุนก็สูง
1.2) Cut-Out Animation คือการสร้างภาพเคลื่อนไหว 2 มิติ ด้วยเทคนิคการตัดกระดาษให้เป�นรูปทรง
หรือตัวการ์ตูนต่างๆ และใช้กล้องถ่ายทีละภาพ เมื่อมีการขยับหรือเคลื่อนย้ายตำแหน่งของรูปทรงในภาพ
1.3) Clay Animation-Stop Motion หรือ Model Animation คือ การป��น การสร้างโมเดลโดยใช้ดิน
น้ำมันหรือวัสดุใดๆก็ตามในการสร้าง และทำการขยับทีละนิดเพื่อให้เกิดการเคลื่อนไหวและใช้กล้อง บันทึกภาพทุก
ขณะที่ทำการขยับหรือเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของวัตถุ
2. Digital Computer Animation หมายถึง การสร้างงานแอนิเมชั่นด้วยระบบดิจิตอลโดยใช้โปรแกรมกราฟ�ก
ต่างๆ ทั้ง 2 มิติ หรือ 3 มิติ เช่น ภาพยนตร์เรื่อง สป�ริต อเวย์ (Spiritedaway) ในป�จจุบันมีซอฟท์ที่สามารถช่วยให้
4
การทำแอนิเมชั่นง่ายขึ้น เช่น โปรแกรม Maya, Macromedia และ Adobe After Effects เป�นต้น วิธีนี้เป�นวิธีที่
ประหยัดเวลาการผลิตและ ประหยัดต้นทุนเป�นอย่างมาก
การผลิตแอนิเมชั่น
1.ขั้นตอนเตรียมการก่อนทำ (Preproduction) เป�นหัวใจสำคัญสำหรับการสร้างเนื้อหาของภาพยนตร์แอนิเมชั่น
เรื่องนั้นๆ ความสนุก ตื่นเต้น และอารมณ์ของตัวละครทั้งหลาย จะถูกกำหนดในขั้นตอนนี้ทั้งหมด ดังนั้นในส่วนนี้จึงมี
หลายขั้นตอนและค่อนข้างซับซ้อน หลายคนจึงมักกล่าวว่า หากเสร็จงานในขั้นตอนเตรียมการนี้แล้ว ก็เสมือนทำงาน
เสร็จไปครึ่งหนึ่งแล้ว ในขั้นตอนนี้จะแบ่งเป�น 4 ขึ้นตอนย่อยด้วยกันคือ
1.1 เขียนเรื่องหรือบท (story) เป�นสิ่งแรกเริ่มที่สำคัญที่สุดในการผลิตชิ้นงานแอนิเมชันและภาพยนตร์ทุก
เรื่อง แอนิเมชันจะสนุกหรือไม่ ล้วนขึ้นอยู่กับเรื่องหรือบท
1.2 ออกแบบภาพ (visual design) หลังจากได้เรื่องหรือบทมาแล้ว ก็จะคิดเกี่ยวกับตัวละครว่า ควรมี
ลักษณะหน้าตาอย่างไร สูงเท่าใด ฉากควรจะมีลักษณะอย่างไร สีอะไร ในขั้นตอนนี้ อาจทำก่อน หรือทำควบคู่ไปกับ
บทภาพ (storyboard) ก็ได้
1.3 ทำบทภาพ (storyboard) คือ การนำบทที่เขียนขึ้นนั้นมาทำการจำแนกมุมภาพต่างๆ โดยการร่างภาพ
ลายเส้น ซึ่งแสดงถึงการดำเนินเรื่องพร้อมคำบรรยายอย่างคร่าวๆ ซึ่งผู้บุกเบิกอย่างจริงจังในการใช้บทภาพ คือ บริษัท
เดอะวอลต์ ดิสนีย์ ได้ริเริ่มขึ้นราว พ.ศ.2473 และได้นำมาใช้กันอย่างแพร่หลายจนถึงป�จจุบัน ซึ่งแม้แต่ภาพยนตร์ก็
ต้องใช้วิธีการวาดบทภาพ ก่อนถ่ายทำด้วยเช่นกัน
1.4 ร่างช่วงภาพ (animatic) คือ การนำบทภาพทั้งหมดมาตัดต่อร้อยเรียงพร้อมใส่เสียงพากย์ของตัวละคร
ทั้งหมด (นี่คือ ข้อแตกต่างระหว่างภาพยนตร์แอนิเมชันและภาพยนตร์ทั่วไป เพราะภาพยนตร์แอนิเมชันจำเป�นต้องตัด
ต่อก่อนที่จะผลิต เพื่อจะได้รู้เวลาและการเคลื่อนไหวในแต่ละช็อตภาพ (shot) อย่างแม่นยำ ส่วนภาพยนตร์ที่ใช้คน
แสดงนั้น จะตัดต่อภายหลังการถ่ายทำ)
2.ขั้นตอนการทำ (Production) เป�นขั้นตอนที่ทำให้ภาพตัวละครต่างๆ มีความสมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น ขั้นตอนนี้
เป�นขั้นตอนสำคัญที่จะกำหนดว่า ภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่องนั้น จะสวยงามมากหรือน้อยเพียงใด ประกอบด้วย
2.1 วางผัง (layout) คือ การกำหนดมุมภาพ และตำแหน่งของตัวละครอย่างละเอียด รวมทั้งวางแผนว่า ใน
แต่ละช็อตภาพนั้น ตัวละครจะต้องเคลื่อนไหว หรือแสดงสีหน้าอารมณ์อย่างไร ซึ่งหากทำภาพยนตร์แอนิเมชันกันเป�น
ทีม ก็จะต้องประชุมร่วมกันว่า แต่ละฉาก จะมีอะไรบ้าง เพื่อให้แบ่งงานกันได้อย่างถูกต้อง ซึ่งหลังจากเสร็จขั้นตอนนี้
แล้ว จึงสามารถแบ่งงานให้แก่ทีมผู้ทำแอนิเมชัน และทีมฉาก แยกงานไปทำได้
2.2 ทำให้เคลื่อนไหว (animate) คือ การทำให้ตัวละครเคลื่อนไหวตามบทในแต่ละฉากนั้นๆ ในขั้นตอนนี้
สำคัญอย่างยิ่ง เปรียบเสมือนการกำกับนักแสดงว่า จะเล่นได้ดีหรือไม่ ซึ่งหากทำขั้นตอนนี้ได้ไม่ดีพอ ก็อาจทำให้ผู้ชม
ไม่รู้สึกมีอารมณ์ร่วมไปกับตัวละครด้วย ส่วนแอนิเมชันแบบภาพแสดงมิติมีวิธีการทำ โดยวาดภาพลงบนแผ่นพลาสติก
โปร่งใสในแต่ละฉากของเรื่อง และเมื่อแบ่งย่อยลงไปอาจประกอบไปด้วยส่วนต่างๆ เช่น ตัวละคร ต้นไม้ แม่น้ำ ภูเขา
ดวงอาทิตย์ ตัวละครแต่ละตัวหรือสิ่งของแต่ละชิ้นจะถูกนำไปวาดลงบนแผ่นใสแต่ละแผ่น เมื่อนำแผ่นใสแต่ละแผ่นมา
วางซ้อนกัน แล้วถ่ายภาพด้วยกล้องถ่ายภาพที่ได้รับการออกแบบมาเป�นพิเศษ ก็จะได้ภาพการ์ตูน ๑ ภาพ ที่ประกอบ
ไปด้วยตัวละครและฉาก ในการสร้างภาพการ์ตูนให้เคลื่อนไหว ผู้ทำแอนิเมชัน (animator) จะต้องกำหนดลงไปว่า ใน
5
แต่ละวินาที ตัวละครหรือสิ่งของในฉากหนึ่งๆ จะเปลี่ยนตำแหน่งหรืออิริยาบถไปอย่างไร ทั้งนี้ ผู้ทำแอนิเมชันจะต้อง
วาด หรือกำหนดอิริยาบถหลัก หรือคีย์ภาพ (key) ของแต่ละวินาที หลังจากนั้นผู้ทำแอนิเมชันคนอื่นๆ ก็จะวาดลำดับ
การเปลี่ยนแปลงอีกจำนวนหนึ่ง (ซึ่งโดยทั่วไปจะใช้ ๒๔ ภาพ) เพื่อแสดงให้เห็นถึงการเคลื่อนไหวจากคีย์ภาพหนึ่ง ไปสู่
อีกคีย์ภาพหนึ่ง ภาพวาดจำนวนมหาศาลระหว่างแต่ละคีย์ภาพเรียกว่า ภาพช่วงกลาง (in-betweens) ในการวาด
ภาพการ์ตูน ผู้วาดภาพที่วาดคีย์ภาพต่างๆ เรียกว่า ผู้วาดภาพหลัก (key animator) ซึ่งต้องเป�นนักวาดภาพที่มีฝ�มือ
ส่วนผู้วาดภาพอีกจำนวนหนึ่งที่ทำหน้าที่วาดภาพระหว่างภาพหลักเรียกว่า ผู้วาดภาพช่วงกลาง (in-betweener)
นอกจากผู้วาดภาพแล้ว ก็มีผู้ลงสี (painter) ซึ่งมีหน้าที่ลงสี หรือระบายสีภาพให้สวยงาม
2.3ฉากหลัง (background) ฝ่ายฉากเป�นฝ่ายที่สำคัญไม่น้อยไปกว่าฝ่ายอื่นๆ เพราะฉากช่วยสื่ออารมณ์ได้
เช่นเดียวกับตัวละคร เนื่องจากสีและแสงที่ต่างกันย่อมให้อารมณ์ที่ไม่เหมือนกัน และฉากยังช่วยเสริมอารมณ์ของผู้ชม
ได้มากขึ้น
3.ขั้นตอนหลังการทำ (Postproduction)
3.1 การประกอบภาพรวม (compositing) คือ ขั้นตอนในการนำตัวละครและฉากหลังมารวมเป�นภาพ
เดียวกัน ซึ่งทั้งแอนิเมชันแบบภาพสองมิติและภาพสามมิติ ต่างต้องใช้กระบวนการนี้ทั้งสิ้น ในกระบวนการนี้ มีการ
ปรับแสงและสีของภาพ ให้มีความกลมกลืนกัน ไม่ให้สีแตกต่างกัน
3.2 ดนตรีและเสียงประกอบ (music and sound effects) หมายถึง การเลือกเสียงดนตรีประกอบ ให้
เข้ากับการดำเนินเรื่อง และฉากต่างๆ ของการ์ตูน รวมทั้งเสียงประกอบสังเคราะห์ด้วย ซึ่งวิศวกรเสียงสามารถสร้าง
เสียงประกอบ ให้สอดคล้องกับการดำเนินเรื่องได้ โดยดูจากเค้าโครงเรื่อง ดังนั้นเค้าโครงเรื่องถือว่ามีความสำคัญอย่าง
ยิ่ง ในอดีต การสร้างเสียงประกอบสามารถทำได้ โดยการบันทึกเสียงจากแหล่งกำเนิดเสียงจริงที่ให้เสียงได้ใกล้เคียง
เช่น เสียงเคาะกะลาอาจใช้แทนเสียงม้าวิ่ง เสียงเคาะช้อนและส้อมอาจใช้แทนเสียงการฟ�นดาบ ในป�จจุบัน ได้นำ
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการสังเคราะห์เสียงให้ได้เหมือนจริง หรือเกินกว่าความเป�นจริง เช่น เสียงคลื่น
เสียงพายุ เสียงระเบิด ซึ่งวิศวกรเสียงได้เข้ามามีบทบาทอย่างมาก ทั้งนี้ การ์ตูนภาพเดียวกันแต่เสียงประกอบต่างกัน
เสียงประกอบที่ดีกว่า และเหมาะสมกว่า จะช่วยเพิ่มอารมณ์ความรู้สึก ในการชมภาพยนตร์การ์ตูนแอนิเมชันมากขึ้น
วิธีดำเนินงาน
แนวทางการดำเนินงาน
1.คิดหัวข้อโครงงาน
2.ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3.จัดทำโครงร่างงาน
4.ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5.นำเสนอโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.คอมพิวเตอร์
6
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดำเนินงาน
ลำดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทำโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทำเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นำเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทำโครงงาน)
เพื่อให้คนที่สนศึกษาเกี่ยวกับ การสร้างแอนิเมชั่น ซึ่งครอบคลุมถึงการวางโครงเรื่องแอนิเมชั่นเบื้องต้น เป�นความรู้
ให้แก่ผู้ที่กำลังศึกษาเรื่อง การสร้างแอนิเมชั่น ให้มีความเข้าใจมากขึ้น
สถานที่ดำเนินการ
1.ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.การงานอาชีพและเทคโนโลยี
2.คณิตศาสตร์
3.ศิลปะ
7
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นำมาใช้การทำโครงงาน)
kpk-animation - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแอนิเมชั่น
อาจารย์อภิพงศ์ ป�งยศ - บทที่ 10 : แอนิเมชั่น (Animation) ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ - ขั้นตอนในการทำแอนิเมชัน

More Related Content

Similar to 2562 final-project 15

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Kanokwan Pudlee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Kanokwan Pudlee
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Sornnarin Wuthifuey
 
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
Aungkana Na Na
 
โครงงานตัดต่อวีดีโอ
โครงงานตัดต่อวีดีโอโครงงานตัดต่อวีดีโอ
โครงงานตัดต่อวีดีโอ
Manussawee Rattana
 
ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
Sirawich Kamla
 
งานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีม
งานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีมงานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีม
งานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีม
Kittitud SaLad
 

Similar to 2562 final-project 15 (20)

Animetor
AnimetorAnimetor
Animetor
 
โครงงานคอม ปี-2558
โครงงานคอม ปี-2558โครงงานคอม ปี-2558
โครงงานคอม ปี-2558
 
โครงงานคอม ปี 2558
โครงงานคอม ปี 2558โครงงานคอม ปี 2558
โครงงานคอม ปี 2558
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
2558 project rattanaporn(2)
2558 project rattanaporn(2)2558 project rattanaporn(2)
2558 project rattanaporn(2)
 
Animetor
AnimetorAnimetor
Animetor
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
โครงงานตัดต่อวีดีโอ
โครงงานตัดต่อวีดีโอโครงงานตัดต่อวีดีโอ
โครงงานตัดต่อวีดีโอ
 
Projectm6 2-2556 (1)
Projectm6 2-2556 (1)Projectm6 2-2556 (1)
Projectm6 2-2556 (1)
 
ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
จิบลิ
จิบลิจิบลิ
จิบลิ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
sleepping
sleeppingsleepping
sleepping
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
 
งานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีม
งานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีมงานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีม
งานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีม
 

2562 final-project 15

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ป�การศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน การสร้างแอนิเมชั่น ชื่อผู้ทำโครงงาน ชื่อ นาย กรวิทย์ กังวานไกร เลขที่ 15 ชั้น ม.6 ห้อง 8 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ป�การศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทำข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม………. 1.นาย กรวิทย์ กังวานไกร เลขที่ 15 คำชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การสร้างแอนิเมชั่น ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Animate Animation ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) ชื่อผู้ทำโครงงาน นายกรวิทย์ กังวานไกร ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ถึงภาคเรียนที่ 2 ป�การศึกษา 2562 ที่มาและความสำคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทำโครงงาน) ป�จจุบัน สื่อประเภทวิดิทัศน์เป�นที่นิยมกันในทุกช่วงวัย เนื่องจากสื่อเหล่านั้นสามารถสร้างความเพลิดเพลิน สนุกสนานและยังสามารถให้ความรู้แก่ผู้รับชมได้อีกด้วย โดยสื่อประเภทวิดิทัศน์นั้นมีหลายประเภท เช่น สื่อสารคดี สื่อภาพยนตร์ สื่อบันเทิง และยังมีสื่อประเภทแอนิเมชั่นที่เริ่มจะได้รับความนิยมในป�จจุบัน ซึ่งในป�จจุบันเทคโนโลยีได้ พัฒนาไปอย่างรวดเร็วทำให้การสร้างแอนิเมชั่นไม่ใช่เรื่องที่ยากอีกต่อไป อีกทั้งผู้จัดทำโครงงานมีความชื่นชอบและ สนใจการสร้างแอนิเมชั่นในการเป�นสื่อให้ความรู้และประโยชนแ์ก่ผู้รับชม ดังนั้นผู้จัดทำเห็นว่าสื่อแอนิเมชั่นสามารถให้ ความรู้พร้อมกับความสนุกสนาน และยังเป�นการฝ�กให้ผู้รับชมสามารถมีสมาธิจดจ่อกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ส่งผลให้ผู้จัดทำสนใจศึกษาการสร้างแอนิเมชั่นตั้งแต่ขั้นตอนแรกจนถึงขั้นตอนสุดท้าย เพ่ือหาว่าการสร้างแอนิเมชั่น ต้องใช้ต้นทุนและความทุ่มเทเท่าไหร่ ซึ่งจะสอดคล้องกับความนิยมของสื่อประเภทนี้ในป�จจุบัน
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทำโครงงาน ระบุเป�นข้อ) 1.เพื่อศึกษาการแนวทางการสร้างแอนิเมชั่นในรูปแบบของ 2D 2.เพื่อศึกษาการทำสื่อในรูปแบบแอนิเมชั่น 3.เพื่อศึกษาการใช้งานโปรแกรมสร้างแอนิเมชั่น ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจำกัดของการทำโครงงาน) 1.สามารถทำให้ภาพเคลื่อนไหวได้ 2.ภาพเคลื่อนไหวเป�นรูปแบบ 2D หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทำโครงงาน) จากบทความ “ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแอนิเมชั่น” ของ KPK-animation ได้กล่าวถึงแอนิเมชั่นไว้ว่า แอนิเมชั่น (Animation) หมายถึง กระบวนการที่เฟรมแต่ละเฟรมของภาพยนตร์ ถูกผลิตขึ้นต่างหากทีละ เฟรม แล้วนำมาร้อยเรียงเข้าด้วยกันโดยการฉายต่อเนื่องกัน ไม่ว่าจากวิธีการใช้คอมพิวเตอร์ กราฟ�ก ถ่ายภาพ หรือรูป วาด เมื่อนำภาพดังกล่าวมาฉายด้วยความเร็วตั้งแต่ 16 เฟรมต่อวินาทีขึ้นไป เราจะเห็นเหมือนว่าภาพดังกล่าว เคลื่อนไหวได้ต่อเนื่องกัน เนื่องจากการเห็นภาพติดตา ประเภทของงานอนิเมชั่น 1.Traditional Animation หมายถึง การสร้างแอนิเมชั่นโดยใช้เครื่องมือตามธรรมดา ยังไม่มีการใช้ คอมพิวเตอร์ ช่วยในการสร้างเทคนิค แบ่งออกเป�นดังนี้ 1.1) 2D Animation การวาดภาพที่มีการเคลื่อนไหวเทคนิค 2 มิติ โดยวาดภาพที่มีการเคลื่อนไหว ต่อเนื่องกัน ไม่ว่าจะเป�นการวาดด้วยมือบนกระดาษ การวาดบนแผ่นใส หรือก็คือแอนิเมชั่นที่เกิดจากการวาดภาพ หลายๆพันภาพ แต่การฉายภาพเหล่านั้นผ่านกล้องอาจใช้เวลาไม่กี่นาที ข้อดีของการทำแอนิเมชั่นชนิด นี้คือ มีความ เป�นศิลปะ สวยงาม น่าดูชม แต่ข้อเสียคือ ต้องใช้เวลาในการผลิตมาก ต้องใช้แอนิเมเตอร์จำนวนมากและต้นทุนก็สูง 1.2) Cut-Out Animation คือการสร้างภาพเคลื่อนไหว 2 มิติ ด้วยเทคนิคการตัดกระดาษให้เป�นรูปทรง หรือตัวการ์ตูนต่างๆ และใช้กล้องถ่ายทีละภาพ เมื่อมีการขยับหรือเคลื่อนย้ายตำแหน่งของรูปทรงในภาพ 1.3) Clay Animation-Stop Motion หรือ Model Animation คือ การป��น การสร้างโมเดลโดยใช้ดิน น้ำมันหรือวัสดุใดๆก็ตามในการสร้าง และทำการขยับทีละนิดเพื่อให้เกิดการเคลื่อนไหวและใช้กล้อง บันทึกภาพทุก ขณะที่ทำการขยับหรือเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของวัตถุ 2. Digital Computer Animation หมายถึง การสร้างงานแอนิเมชั่นด้วยระบบดิจิตอลโดยใช้โปรแกรมกราฟ�ก ต่างๆ ทั้ง 2 มิติ หรือ 3 มิติ เช่น ภาพยนตร์เรื่อง สป�ริต อเวย์ (Spiritedaway) ในป�จจุบันมีซอฟท์ที่สามารถช่วยให้
  • 4. 4 การทำแอนิเมชั่นง่ายขึ้น เช่น โปรแกรม Maya, Macromedia และ Adobe After Effects เป�นต้น วิธีนี้เป�นวิธีที่ ประหยัดเวลาการผลิตและ ประหยัดต้นทุนเป�นอย่างมาก การผลิตแอนิเมชั่น 1.ขั้นตอนเตรียมการก่อนทำ (Preproduction) เป�นหัวใจสำคัญสำหรับการสร้างเนื้อหาของภาพยนตร์แอนิเมชั่น เรื่องนั้นๆ ความสนุก ตื่นเต้น และอารมณ์ของตัวละครทั้งหลาย จะถูกกำหนดในขั้นตอนนี้ทั้งหมด ดังนั้นในส่วนนี้จึงมี หลายขั้นตอนและค่อนข้างซับซ้อน หลายคนจึงมักกล่าวว่า หากเสร็จงานในขั้นตอนเตรียมการนี้แล้ว ก็เสมือนทำงาน เสร็จไปครึ่งหนึ่งแล้ว ในขั้นตอนนี้จะแบ่งเป�น 4 ขึ้นตอนย่อยด้วยกันคือ 1.1 เขียนเรื่องหรือบท (story) เป�นสิ่งแรกเริ่มที่สำคัญที่สุดในการผลิตชิ้นงานแอนิเมชันและภาพยนตร์ทุก เรื่อง แอนิเมชันจะสนุกหรือไม่ ล้วนขึ้นอยู่กับเรื่องหรือบท 1.2 ออกแบบภาพ (visual design) หลังจากได้เรื่องหรือบทมาแล้ว ก็จะคิดเกี่ยวกับตัวละครว่า ควรมี ลักษณะหน้าตาอย่างไร สูงเท่าใด ฉากควรจะมีลักษณะอย่างไร สีอะไร ในขั้นตอนนี้ อาจทำก่อน หรือทำควบคู่ไปกับ บทภาพ (storyboard) ก็ได้ 1.3 ทำบทภาพ (storyboard) คือ การนำบทที่เขียนขึ้นนั้นมาทำการจำแนกมุมภาพต่างๆ โดยการร่างภาพ ลายเส้น ซึ่งแสดงถึงการดำเนินเรื่องพร้อมคำบรรยายอย่างคร่าวๆ ซึ่งผู้บุกเบิกอย่างจริงจังในการใช้บทภาพ คือ บริษัท เดอะวอลต์ ดิสนีย์ ได้ริเริ่มขึ้นราว พ.ศ.2473 และได้นำมาใช้กันอย่างแพร่หลายจนถึงป�จจุบัน ซึ่งแม้แต่ภาพยนตร์ก็ ต้องใช้วิธีการวาดบทภาพ ก่อนถ่ายทำด้วยเช่นกัน 1.4 ร่างช่วงภาพ (animatic) คือ การนำบทภาพทั้งหมดมาตัดต่อร้อยเรียงพร้อมใส่เสียงพากย์ของตัวละคร ทั้งหมด (นี่คือ ข้อแตกต่างระหว่างภาพยนตร์แอนิเมชันและภาพยนตร์ทั่วไป เพราะภาพยนตร์แอนิเมชันจำเป�นต้องตัด ต่อก่อนที่จะผลิต เพื่อจะได้รู้เวลาและการเคลื่อนไหวในแต่ละช็อตภาพ (shot) อย่างแม่นยำ ส่วนภาพยนตร์ที่ใช้คน แสดงนั้น จะตัดต่อภายหลังการถ่ายทำ) 2.ขั้นตอนการทำ (Production) เป�นขั้นตอนที่ทำให้ภาพตัวละครต่างๆ มีความสมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น ขั้นตอนนี้ เป�นขั้นตอนสำคัญที่จะกำหนดว่า ภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่องนั้น จะสวยงามมากหรือน้อยเพียงใด ประกอบด้วย 2.1 วางผัง (layout) คือ การกำหนดมุมภาพ และตำแหน่งของตัวละครอย่างละเอียด รวมทั้งวางแผนว่า ใน แต่ละช็อตภาพนั้น ตัวละครจะต้องเคลื่อนไหว หรือแสดงสีหน้าอารมณ์อย่างไร ซึ่งหากทำภาพยนตร์แอนิเมชันกันเป�น ทีม ก็จะต้องประชุมร่วมกันว่า แต่ละฉาก จะมีอะไรบ้าง เพื่อให้แบ่งงานกันได้อย่างถูกต้อง ซึ่งหลังจากเสร็จขั้นตอนนี้ แล้ว จึงสามารถแบ่งงานให้แก่ทีมผู้ทำแอนิเมชัน และทีมฉาก แยกงานไปทำได้ 2.2 ทำให้เคลื่อนไหว (animate) คือ การทำให้ตัวละครเคลื่อนไหวตามบทในแต่ละฉากนั้นๆ ในขั้นตอนนี้ สำคัญอย่างยิ่ง เปรียบเสมือนการกำกับนักแสดงว่า จะเล่นได้ดีหรือไม่ ซึ่งหากทำขั้นตอนนี้ได้ไม่ดีพอ ก็อาจทำให้ผู้ชม ไม่รู้สึกมีอารมณ์ร่วมไปกับตัวละครด้วย ส่วนแอนิเมชันแบบภาพแสดงมิติมีวิธีการทำ โดยวาดภาพลงบนแผ่นพลาสติก โปร่งใสในแต่ละฉากของเรื่อง และเมื่อแบ่งย่อยลงไปอาจประกอบไปด้วยส่วนต่างๆ เช่น ตัวละคร ต้นไม้ แม่น้ำ ภูเขา ดวงอาทิตย์ ตัวละครแต่ละตัวหรือสิ่งของแต่ละชิ้นจะถูกนำไปวาดลงบนแผ่นใสแต่ละแผ่น เมื่อนำแผ่นใสแต่ละแผ่นมา วางซ้อนกัน แล้วถ่ายภาพด้วยกล้องถ่ายภาพที่ได้รับการออกแบบมาเป�นพิเศษ ก็จะได้ภาพการ์ตูน ๑ ภาพ ที่ประกอบ ไปด้วยตัวละครและฉาก ในการสร้างภาพการ์ตูนให้เคลื่อนไหว ผู้ทำแอนิเมชัน (animator) จะต้องกำหนดลงไปว่า ใน
  • 5. 5 แต่ละวินาที ตัวละครหรือสิ่งของในฉากหนึ่งๆ จะเปลี่ยนตำแหน่งหรืออิริยาบถไปอย่างไร ทั้งนี้ ผู้ทำแอนิเมชันจะต้อง วาด หรือกำหนดอิริยาบถหลัก หรือคีย์ภาพ (key) ของแต่ละวินาที หลังจากนั้นผู้ทำแอนิเมชันคนอื่นๆ ก็จะวาดลำดับ การเปลี่ยนแปลงอีกจำนวนหนึ่ง (ซึ่งโดยทั่วไปจะใช้ ๒๔ ภาพ) เพื่อแสดงให้เห็นถึงการเคลื่อนไหวจากคีย์ภาพหนึ่ง ไปสู่ อีกคีย์ภาพหนึ่ง ภาพวาดจำนวนมหาศาลระหว่างแต่ละคีย์ภาพเรียกว่า ภาพช่วงกลาง (in-betweens) ในการวาด ภาพการ์ตูน ผู้วาดภาพที่วาดคีย์ภาพต่างๆ เรียกว่า ผู้วาดภาพหลัก (key animator) ซึ่งต้องเป�นนักวาดภาพที่มีฝ�มือ ส่วนผู้วาดภาพอีกจำนวนหนึ่งที่ทำหน้าที่วาดภาพระหว่างภาพหลักเรียกว่า ผู้วาดภาพช่วงกลาง (in-betweener) นอกจากผู้วาดภาพแล้ว ก็มีผู้ลงสี (painter) ซึ่งมีหน้าที่ลงสี หรือระบายสีภาพให้สวยงาม 2.3ฉากหลัง (background) ฝ่ายฉากเป�นฝ่ายที่สำคัญไม่น้อยไปกว่าฝ่ายอื่นๆ เพราะฉากช่วยสื่ออารมณ์ได้ เช่นเดียวกับตัวละคร เนื่องจากสีและแสงที่ต่างกันย่อมให้อารมณ์ที่ไม่เหมือนกัน และฉากยังช่วยเสริมอารมณ์ของผู้ชม ได้มากขึ้น 3.ขั้นตอนหลังการทำ (Postproduction) 3.1 การประกอบภาพรวม (compositing) คือ ขั้นตอนในการนำตัวละครและฉากหลังมารวมเป�นภาพ เดียวกัน ซึ่งทั้งแอนิเมชันแบบภาพสองมิติและภาพสามมิติ ต่างต้องใช้กระบวนการนี้ทั้งสิ้น ในกระบวนการนี้ มีการ ปรับแสงและสีของภาพ ให้มีความกลมกลืนกัน ไม่ให้สีแตกต่างกัน 3.2 ดนตรีและเสียงประกอบ (music and sound effects) หมายถึง การเลือกเสียงดนตรีประกอบ ให้ เข้ากับการดำเนินเรื่อง และฉากต่างๆ ของการ์ตูน รวมทั้งเสียงประกอบสังเคราะห์ด้วย ซึ่งวิศวกรเสียงสามารถสร้าง เสียงประกอบ ให้สอดคล้องกับการดำเนินเรื่องได้ โดยดูจากเค้าโครงเรื่อง ดังนั้นเค้าโครงเรื่องถือว่ามีความสำคัญอย่าง ยิ่ง ในอดีต การสร้างเสียงประกอบสามารถทำได้ โดยการบันทึกเสียงจากแหล่งกำเนิดเสียงจริงที่ให้เสียงได้ใกล้เคียง เช่น เสียงเคาะกะลาอาจใช้แทนเสียงม้าวิ่ง เสียงเคาะช้อนและส้อมอาจใช้แทนเสียงการฟ�นดาบ ในป�จจุบัน ได้นำ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการสังเคราะห์เสียงให้ได้เหมือนจริง หรือเกินกว่าความเป�นจริง เช่น เสียงคลื่น เสียงพายุ เสียงระเบิด ซึ่งวิศวกรเสียงได้เข้ามามีบทบาทอย่างมาก ทั้งนี้ การ์ตูนภาพเดียวกันแต่เสียงประกอบต่างกัน เสียงประกอบที่ดีกว่า และเหมาะสมกว่า จะช่วยเพิ่มอารมณ์ความรู้สึก ในการชมภาพยนตร์การ์ตูนแอนิเมชันมากขึ้น วิธีดำเนินงาน แนวทางการดำเนินงาน 1.คิดหัวข้อโครงงาน 2.ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3.จัดทำโครงร่างงาน 4.ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5.นำเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.คอมพิวเตอร์
  • 6. 6 งบประมาณ - ขั้นตอนและแผนดำเนินงาน ลำดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทำโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทำเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นำเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทำโครงงาน) เพื่อให้คนที่สนศึกษาเกี่ยวกับ การสร้างแอนิเมชั่น ซึ่งครอบคลุมถึงการวางโครงเรื่องแอนิเมชั่นเบื้องต้น เป�นความรู้ ให้แก่ผู้ที่กำลังศึกษาเรื่อง การสร้างแอนิเมชั่น ให้มีความเข้าใจมากขึ้น สถานที่ดำเนินการ 1.ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2.คณิตศาสตร์ 3.ศิลปะ
  • 7. 7 แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นำมาใช้การทำโครงงาน) kpk-animation - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแอนิเมชั่น อาจารย์อภิพงศ์ ป�งยศ - บทที่ 10 : แอนิเมชั่น (Animation) ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ - ขั้นตอนในการทำแอนิเมชัน