SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
นายเทพกานต์ บุตรชา รหัสนิสิต
        52010310682
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขา MCE กลุ่ม
           เรียนที่ 1
สุขภาพจิต
             (Mental Health)




นายเทพกานต์ บุตรชา 52010310682 MCE ระบบปกติ กลุม 1
                                               ่
๑. สุขภาพจิต คืออะไร?
๒. ความเครียด คืออะไร?
 ๓. ผลของความเครียด
๔. การจัดการความเครียด
๑. สุขภาพจิต คืออะไร?
    สุขภาพจิต หมายถึง สภาพของบุคคล
ทีมีอารมณ์มั่นคง สามารถดำารงชีวิตอยู่ใน
  ่
สังคมได้อย่างมีความสุข ปรับตัวเข้ากับ
บุคคลหรือสิ่งแวดล้อมได้ดี เมื่อมีปัญหา
ทางอารมณ์เกิดขึ้น ก็สามารถเผชิญได้
อย่างมีเหตุผล




นายเทพกานต์ บุตรชา 52010310682 MCE ระบบปกติ กลุ่ม 1
การส่งเสริมสุขภาพจิต
1. การส่งเสริมสุขภาพร่างกาย
   - การรักษาร่างกายให้แข็งแรง ปราศจากโรค
   - การออกกำาลังกาย
2. การส่งเสริมทางจิตใจ
   - ไม่หลบเลี่ยงปัญหา พิจารณาหาสาเหตุของปัญหาและ
   แก้ไขที่สาเหตุ
   - เปลี่ยนแปลงตนเองให้คุ้นเคย ทำาใจให้ยอมรับ และสนุก
   กับการเปลี่ยนแปลง
   - สร้างวิธคิดที่ดี มีทักษะคิดเป็น มีทักษะการแก้ปัญหาอย่าง
              ี
   ถูกทาง
   - มีสติเตือนตนเอง รู้ว่าสุขภาพจิตดีหรือไม่ดีมสาเหตุจาก
                                                ี
   อะไร
   - มีทักษะในการจัดการอารมณ์ตนเอง มีกิจกรรมสร้าง
   ความสุขและความสงบ
   - มีความเข้าใจตนเอง รู้จดดีจุดอ่อนของตน แก้ไข
                              ุ
   ปรับปรุงตัวเองให้ดีขึ้น
  - มีความสุขจากการให้ผู้อื่น เห็นแก่ประโยชน์สวนรวมและสิ่งแวดล้อม
                                              ่
๒. ความเครียด คืออะไร?
• การเปลี่ยนแปลงใดๆที่ทำาให้เราต้องปรับตัว
  ในโลกที่มการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
              ี
• ความเครียด เป็นแรงบีบคันต่อร่ากาย ทำาให้
                          ้
  ร่างกายมีการตอบสนอง
• ทุกคนที่มชีวิต ทำางาน และหายใจ ล้วนแต่เคย
            ี
  เครียด เพราะมันเป็นความจริงของชีวิตที่เราหลีก
  เลี่ยงไม่ได้
เหตุของความเครียด               1


• สภาพแวดล้อมทั่วไป สภาพเศรษฐกิจที่ไม่นา  ่
  พอใจ สภาพแวดล้อมทางสังคม
• นิสัยในการกิน-ดืม ที่ส่งเสริมความเครียด
                    ่
• ความกังวลใจเรื่องเงิน หรือความมันคงทางอาชีพ
                                   ่
• ภาระงาน
• แรงกดดันจากครอบครัวและที่ทำางาน
• การรับผิดชอบผูป่วยหรือผู้สูงอายุ
                  ้
เหตุของความเครียด                        2

• สัมพันธภาพที่ไม่ราบรื่น อุปนิสัยหรือวิธีการดำาเนินชีวิต
   – คนที่ชอบแข่งขันสูง ชอบท้าทาย ชิงดีชิงเด่นเอาชนะ
   – คนที่เข้มงวด เอาจริงเอาจังกับทุกอย่างไม่มีการผ่อน
     ปรน
   – คนที่พยายามทำาอะไรหลายๆอย่างในเวลาเดียวกัน
   – คนที่มอารมณ์รุนแรงอัดแน่นในใจเป็นประจำา
           ี
   – คนที่ใจร้อน จะทำาอะไรต้องให้ได้ผลทันทีไม่ชอบรอนาน
   – คนที่ต้องการมีอำานาจเหนือผู้อื่น
   – คนที่มกเปรียบเทียบกับผู้อื่น แล้วรู้สึกตนตำ่าต้อย ต้อง
             ั
     เอาชนะ
๓. ผลของความเครียด
• การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย ในภาวะเครียด เช่น
   – หัวใจ –เต้นแรงเร็ว ฉีดเลือดไปเลี้ยงเซลล์ทั่ว
       ร่างและ ขจัดของเสียออกอย่างเร็ว
   – หายใจ – เร็วแต่ตน ื้
   – ขับอดรีนาลีนและฮอร์โมนอืนเข้าเลือด –ม่านตา
                                ่
       ขยาย กล้ามเนื้อหดเกร็งเตรียมสู/หนี เส้นเลือด
                                     ้
       ที่กระเพาะหดตัว เหงื่อออก อุณหภูมรางกาย
                                          ิ ่
       เพิ่มขึ้น
• เมือวิกฤติผ่านไป ร่างกายจะกลับสู่ปกติ แต่
     ่
  ความเครียดที่มากเกินและเกิดเป็นประจำา ไม่ลดไม่
  หาย หรือเกิดเมือไม่มเหตุคกคาม ก่ออันตรายได้
                   ่      ี   ุ
ผลของความเครียด
• ต่อสุขภาวะทางกาย = อาการไม่สบายทางกายต่างๆ
   – ปวดเมือย ภูมิต้านทานตำ่า เป็นหวัดบ่อย แก่เร็วอย่าง
           ่
     ถาวร
   – สารพัดโรค โรคเหงือก กระดูกพรุน กระเพาะอาหาร
     อักเสบ ท้องเสีย ท้องผูกบ่อยๆ นอนไม่หลับ หอบหืด
     เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ฯลฯ
   – โรคเสี่ยงต่อการเสียชีวิต-ความดัน หัวใจ เบาหวาน
     มะเร็ง
• ต่อสุขภาวะทางใจ
   – วิตกกังวล ซึมเศร้า อารมณ์ไม่มั่นคง โรคประสาทบาง
     อย่าง
• ต่อสุขภาวะทางสังคม
   – ประสิทธิภาพการทำางานตำ่า สัมพันธภาพแย่
๔. การจัดการความเครียด
• แก้ไขที่ปลายเหตุ ได้แก่ การใช้ยา เช่น ยาหม่อง ยาดม ยา
  แก้ปวด ยาลดกรดในกระเพาะ ยากล่อมประสาท
• แก้ไขที่ต้นเหตุ ได้แก่
   – ตั้งสติกับตัวเองให้ได้ และ อยูกับปัจจุบันให้มากที่สุด
                                   ่
   – เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต
   – เปลี่ยนแปลงนิสัยและทัศนคติต่อการดำาเนินชีวิต
   – สำารวจและเปลี่ยนแปลงทัศนคติต่อตัวเองและผู้อื่น
   – หาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโภชนาการ
   – สำารวจและปรับปรุง สัมพันธภาพต่อคนในครอบครัวและ
     สังคม
เทคนิคการจัดการความเครียด
• นึกถึงกิจกรรมที่ทำาให้เราผ่อนคลาย ระบุกิจกรรมให้
  ชัดเจน เช่น
   – ไปเดินเล่น พบปะพูดคุยกับเพื่อน อาบนำ้า
   – อ่านหนังสืออ่านเล่น ที่ผ่อนคลาย ฟังเพลง
   – ออกกำาลังกาย ด้วยการหายใจลึกๆยาว ทำาโยคะ
• วางแผนเวลาในการผ่อนคลาย ให้ใกล้เคียงความเป็นจริงที่
  สามารถทำาได้ และควรให้กิจกรรมผ่อนคลายนี้ เป็นส่วน
  หนึ่งของกิจวัตรประจำาวัน
• แต่อย่าลืมเรื่องความสมดุล อย่าใช้การผ่อนคลายเป็นการ
  ผัดวันประกันพรุง  ่
• ทำาดีที่สุดในสิ่งที่ต้องทำา แล้วละส่วนอื่นๆไว้สำาหรับวันอื่น
  บ้าง
เมื่อเพื่อนหรือคนใกล้ชิดเรา
                “เครียด”
• รับฟัง
• เห็นใจ
• เสนอความช่วยเหลือและให้กำาลังใจ – ให้เขาได้สติ
  พิจารณาปัญหา และหาทางเลือกในการแก้ปัญหา
  อย่าตัดสินหรือเลือกทางออกให้เขา
• ให้เขารู้ว่ายังมีเราอยู่เคียงข้าง
นายเทพกานต์ บุตรชา 52010310682 MCE
          ระบบปกติ กลุ่ม 1

More Related Content

Featured

Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Featured (20)

PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy Presentation
 

งานนำเสนอเรื่องสุขภาพจิต นายเทพกานต์ บุตรชา 52010310682 mce ระบบปกติ

  • 1. นายเทพกานต์ บุตรชา รหัสนิสิต 52010310682 คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขา MCE กลุ่ม เรียนที่ 1
  • 2. สุขภาพจิต (Mental Health) นายเทพกานต์ บุตรชา 52010310682 MCE ระบบปกติ กลุม 1 ่
  • 3. ๑. สุขภาพจิต คืออะไร? ๒. ความเครียด คืออะไร? ๓. ผลของความเครียด ๔. การจัดการความเครียด
  • 4. ๑. สุขภาพจิต คืออะไร? สุขภาพจิต หมายถึง สภาพของบุคคล ทีมีอารมณ์มั่นคง สามารถดำารงชีวิตอยู่ใน ่ สังคมได้อย่างมีความสุข ปรับตัวเข้ากับ บุคคลหรือสิ่งแวดล้อมได้ดี เมื่อมีปัญหา ทางอารมณ์เกิดขึ้น ก็สามารถเผชิญได้ อย่างมีเหตุผล นายเทพกานต์ บุตรชา 52010310682 MCE ระบบปกติ กลุ่ม 1
  • 5. การส่งเสริมสุขภาพจิต 1. การส่งเสริมสุขภาพร่างกาย - การรักษาร่างกายให้แข็งแรง ปราศจากโรค - การออกกำาลังกาย 2. การส่งเสริมทางจิตใจ - ไม่หลบเลี่ยงปัญหา พิจารณาหาสาเหตุของปัญหาและ แก้ไขที่สาเหตุ - เปลี่ยนแปลงตนเองให้คุ้นเคย ทำาใจให้ยอมรับ และสนุก กับการเปลี่ยนแปลง - สร้างวิธคิดที่ดี มีทักษะคิดเป็น มีทักษะการแก้ปัญหาอย่าง ี ถูกทาง - มีสติเตือนตนเอง รู้ว่าสุขภาพจิตดีหรือไม่ดีมสาเหตุจาก ี อะไร - มีทักษะในการจัดการอารมณ์ตนเอง มีกิจกรรมสร้าง ความสุขและความสงบ - มีความเข้าใจตนเอง รู้จดดีจุดอ่อนของตน แก้ไข ุ ปรับปรุงตัวเองให้ดีขึ้น - มีความสุขจากการให้ผู้อื่น เห็นแก่ประโยชน์สวนรวมและสิ่งแวดล้อม ่
  • 6. ๒. ความเครียด คืออะไร? • การเปลี่ยนแปลงใดๆที่ทำาให้เราต้องปรับตัว ในโลกที่มการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ี • ความเครียด เป็นแรงบีบคันต่อร่ากาย ทำาให้ ้ ร่างกายมีการตอบสนอง • ทุกคนที่มชีวิต ทำางาน และหายใจ ล้วนแต่เคย ี เครียด เพราะมันเป็นความจริงของชีวิตที่เราหลีก เลี่ยงไม่ได้
  • 7. เหตุของความเครียด 1 • สภาพแวดล้อมทั่วไป สภาพเศรษฐกิจที่ไม่นา ่ พอใจ สภาพแวดล้อมทางสังคม • นิสัยในการกิน-ดืม ที่ส่งเสริมความเครียด ่ • ความกังวลใจเรื่องเงิน หรือความมันคงทางอาชีพ ่ • ภาระงาน • แรงกดดันจากครอบครัวและที่ทำางาน • การรับผิดชอบผูป่วยหรือผู้สูงอายุ ้
  • 8. เหตุของความเครียด 2 • สัมพันธภาพที่ไม่ราบรื่น อุปนิสัยหรือวิธีการดำาเนินชีวิต – คนที่ชอบแข่งขันสูง ชอบท้าทาย ชิงดีชิงเด่นเอาชนะ – คนที่เข้มงวด เอาจริงเอาจังกับทุกอย่างไม่มีการผ่อน ปรน – คนที่พยายามทำาอะไรหลายๆอย่างในเวลาเดียวกัน – คนที่มอารมณ์รุนแรงอัดแน่นในใจเป็นประจำา ี – คนที่ใจร้อน จะทำาอะไรต้องให้ได้ผลทันทีไม่ชอบรอนาน – คนที่ต้องการมีอำานาจเหนือผู้อื่น – คนที่มกเปรียบเทียบกับผู้อื่น แล้วรู้สึกตนตำ่าต้อย ต้อง ั เอาชนะ
  • 9. ๓. ผลของความเครียด • การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย ในภาวะเครียด เช่น – หัวใจ –เต้นแรงเร็ว ฉีดเลือดไปเลี้ยงเซลล์ทั่ว ร่างและ ขจัดของเสียออกอย่างเร็ว – หายใจ – เร็วแต่ตน ื้ – ขับอดรีนาลีนและฮอร์โมนอืนเข้าเลือด –ม่านตา ่ ขยาย กล้ามเนื้อหดเกร็งเตรียมสู/หนี เส้นเลือด ้ ที่กระเพาะหดตัว เหงื่อออก อุณหภูมรางกาย ิ ่ เพิ่มขึ้น • เมือวิกฤติผ่านไป ร่างกายจะกลับสู่ปกติ แต่ ่ ความเครียดที่มากเกินและเกิดเป็นประจำา ไม่ลดไม่ หาย หรือเกิดเมือไม่มเหตุคกคาม ก่ออันตรายได้ ่ ี ุ
  • 10. ผลของความเครียด • ต่อสุขภาวะทางกาย = อาการไม่สบายทางกายต่างๆ – ปวดเมือย ภูมิต้านทานตำ่า เป็นหวัดบ่อย แก่เร็วอย่าง ่ ถาวร – สารพัดโรค โรคเหงือก กระดูกพรุน กระเพาะอาหาร อักเสบ ท้องเสีย ท้องผูกบ่อยๆ นอนไม่หลับ หอบหืด เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ฯลฯ – โรคเสี่ยงต่อการเสียชีวิต-ความดัน หัวใจ เบาหวาน มะเร็ง • ต่อสุขภาวะทางใจ – วิตกกังวล ซึมเศร้า อารมณ์ไม่มั่นคง โรคประสาทบาง อย่าง • ต่อสุขภาวะทางสังคม – ประสิทธิภาพการทำางานตำ่า สัมพันธภาพแย่
  • 11. ๔. การจัดการความเครียด • แก้ไขที่ปลายเหตุ ได้แก่ การใช้ยา เช่น ยาหม่อง ยาดม ยา แก้ปวด ยาลดกรดในกระเพาะ ยากล่อมประสาท • แก้ไขที่ต้นเหตุ ได้แก่ – ตั้งสติกับตัวเองให้ได้ และ อยูกับปัจจุบันให้มากที่สุด ่ – เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต – เปลี่ยนแปลงนิสัยและทัศนคติต่อการดำาเนินชีวิต – สำารวจและเปลี่ยนแปลงทัศนคติต่อตัวเองและผู้อื่น – หาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโภชนาการ – สำารวจและปรับปรุง สัมพันธภาพต่อคนในครอบครัวและ สังคม
  • 12. เทคนิคการจัดการความเครียด • นึกถึงกิจกรรมที่ทำาให้เราผ่อนคลาย ระบุกิจกรรมให้ ชัดเจน เช่น – ไปเดินเล่น พบปะพูดคุยกับเพื่อน อาบนำ้า – อ่านหนังสืออ่านเล่น ที่ผ่อนคลาย ฟังเพลง – ออกกำาลังกาย ด้วยการหายใจลึกๆยาว ทำาโยคะ • วางแผนเวลาในการผ่อนคลาย ให้ใกล้เคียงความเป็นจริงที่ สามารถทำาได้ และควรให้กิจกรรมผ่อนคลายนี้ เป็นส่วน หนึ่งของกิจวัตรประจำาวัน • แต่อย่าลืมเรื่องความสมดุล อย่าใช้การผ่อนคลายเป็นการ ผัดวันประกันพรุง ่ • ทำาดีที่สุดในสิ่งที่ต้องทำา แล้วละส่วนอื่นๆไว้สำาหรับวันอื่น บ้าง
  • 13. เมื่อเพื่อนหรือคนใกล้ชิดเรา “เครียด” • รับฟัง • เห็นใจ • เสนอความช่วยเหลือและให้กำาลังใจ – ให้เขาได้สติ พิจารณาปัญหา และหาทางเลือกในการแก้ปัญหา อย่าตัดสินหรือเลือกทางออกให้เขา • ให้เขารู้ว่ายังมีเราอยู่เคียงข้าง
  • 14. นายเทพกานต์ บุตรชา 52010310682 MCE ระบบปกติ กลุ่ม 1