SlideShare a Scribd company logo
1 of 110
Download to read offline
นาเสนอโดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธี และธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า
www.elifesara.com
บทบาทมหาอานาจของโลก
www.elifesara.com
ekkachais@hotmail.com
ekkachais41@gmail.com
คาสอนของพระพุทธเจ้า
• อย่ายึดถือโดยการฟังกันตามมา
• อย่ายึดถือโดยการยึดถือสืบๆกันมา
• อย่ายึดถือโดยการเล่าลือ
• อย่ายึดถือโดยการอ้างตารา
• อย่ายึดถือโดยตรรกะ
• อย่ายึดถือโดยการอนุมาน
• อย่ายึดถือโดยการคิดตรองตามแนวเหตุผล
• อย่ายึดถือเพราะเข้ากันได้กับทฤษฎีของตน
• อย่ายึดถือเพราะมองเห็นรูปลักษณะน่าเชื่อ
• อย่ายึดถือเพราะนับถือว่าท่านสมนะนี้เป็นครูของเรา
www.kpi.ac.th
8
สงครามไม่ใช่คาตอบสุดท้ายของการแก้ไขปัญหาเขตแดนไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน
พลเอกเอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
ekkachais@hotmail.comwww.elifesara.com
1
10
11
12
CONCEPT
จากหนังสือสงครามและสันติภาพ
“ความรู้แจ้งแห่งหลักการ”
•เราสามารถเปลี่ยนการก่อกวนให้เป็นระเบียบได้
•เปลี่ยนอันตรายให้เป็นความปลอดภัย
•เปลี่ยนการทาลายล้างให้เป็นการอยู่รอด
•เปลี่ยนความพินาศให้เป็นโชคดี
 ภูมิศาสตร์
 ภาวะประชากร
 ทรัพยากรธรรมชาติ
 ความเชื่อ ศาสนา ความจงรักภักดี
 ลักษณะประจาชาติ
 กาลังทหาร
 วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีฯ
 เศรษฐกิจ
 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 การศึกษา
 อุดมการณ์ของชาติและภาวะผู้นา
National Powers
ภูมิรัฐศาสตร์(Geopolitics)
ภูมิศาสตร์การเมือง ประวัติศาสตร์
National
Security
Strategy
Personal,
Social,
National,
Regional,
International
ประชาชน ดินแดน
รัฐบาล อานาจอธิปไตย
Value and
National Style
National Interest
Vital, Important, Peripheral
Model National Security Assessment : EKMODEL
Defense of homeland
Economic well-being
Favorable world order
Promotion of value
Global
State
Non State Actors
Leaders
Transforming
Thailand
Strategic Thinking R/D Situation
Global, Region, Neighbor, Domestic
Implement
Method
Theory
Model Strategy
Tempo Thailand
Transforming
NATIONAL POWER
GEOPOLITICS
FUTURE STUDIES
Educate/Training
Futures biographies
Futures wheel
Morphological analysis
Monitoring
Mission flow diagram
Relevance tree
Role playing
Simulation and modeling
Social network analysis
Systems engineering
Scenario method
Trend analysis
Trend Extrapolation
Time-space grids
Technology forecasting
FUTURE STUDIES METHOD
Anticipatory thinking Assessments
Environmental scanning
Back casting (eco-history)
Back-view mirror analysis
Bottom Up
Cross-impact analysis
Conducting Technology
Checklists
Delphi technique
Future history
Futures workshops
Failure mode and effects analysis
กาลังอานาจ(National Power)
เครื่องมือ
(INSTRUMENTS)
องค์ประกอบ
(ELEMENTS)
คุณลักษณะ
(CHARACTORISTICS)
ปัจจัย
(FACTORS)
โครงสร้างของกาลังอานาจ
(STRUCTURE OF NATIONAL POWER)
Sciencesand Technology
ลักษณะนิสัยประจาชาติเป็นหัวใจ
ภาวะผู้นาก็จะเป็นมันสมอง
Socio-psychologically Political
Resource
Economic Military
Leadership
Geopolitics
www.elifesara.com
แนวทางสู่ความรู้ในการศึกษา
GEOPOLITICS
FUTURE STUDIES
NATIONAL POWER
NATIONAL
STRATEGY
www.elifesara.com
ความรู้ในการศึกษา
GEOPOLITICS
FUTURE STUDIES
NATIONAL POWER
ภูมิศาสตร์การเมือง ประชาชนและสังคม
ดินแดนที่มีขอบเขตแน่นอน ประวัติศาสตร์
การใช้ลัทธิอานาจนิยม รัฐบาล อานาจอธิปไตย
ภูมิรัฐศาสตร์มีความเกี่ยวโยงและสัมพันธ์กันกับภูมิศาสตร์ ที่ตั้ง
และการกาหนดนโยบายต่างประเทศของรัฐนั้นๆ
22
80
70
60
50
40
30
20
10
EQ UA TO R
20
30
40
50
60
70
80
30
40
50
60
70
80
20
10 10
30
40
50
60
70
80
80
70
60
50
40
30
20
10
30
TR OP IC O F CA NCE R
40
50
60
70
80 80
70
60
50
40
30
20
10
EQ UA TO R
TR OP IC O F CA NCE R
TR OP IC O F CA PRI CO RN TR OP O F CA PRI CO RN
10
20
30 30
40 40
50 50
60 60
70 70
80 80 80
70
60
50
40
30
20
10
30
40
50
60
70
80 80
70
60
50
40
30
20
10
AUST RALIA
A S I A
A F R I CA
E U R O P E
GREE NLANDGREE NLAND
NORTH
AMERICA
ANTARCTICA
SOUTH
AMERICA
P A C I F I C
O C E A N
O
C
E
A
N
I N D I A N
O C E A N
PACIFIC
OCEAN
A
T L A
N
T I C
แผนที่โลกแสดงเขตเศรษฐกิจโลก
40
60 60
40
5
5
Equator
5
5
ละติจูด 40 - 60 องศาเหนือ เขตอากาศอบอุ่น เป็นกลุ่มประเทศอุตสาหกรรม ละติจูด 5 องศาเหนือ - 5 องศาใต้ เขตอากาศร้อนชื้น
www.kpi.ac.th
แนวทางสู่ความรู้ใน การศึกษา
GEOPOLITICS
FUTURE STUDIES
NATIONAL POWER
NATIONAL
STRATEGY
กาลังอานาจแห่งชาติ
• ความสามารถของชาติหนึ่ง ที่สามารถชักจูงใจ
ทาให้ชาติอื่นกระทาการใด ๆ ตามที่ตนปรารถนา
หรือเป็นผลให้เกิดความกดดัน จนบรรลุวัตถุประสงค์
ทางการเมืองของชาติได้
• ความสามารถของรัฐ/ประเทศ ในอันที่จะก่อให้เกิดอิทธิพลแก่รัฐ/ประเทศอื่น ๆ
National Leadership
Geopolitics
Resources
Socio-Psychogical
Economic
Political Military
Sciences and
Technology
ภาวะผู้นาก็จะเป็นมันสมอง
ลักษณะนิสัยประจาชาติเป็นหัวใจ
• Globalization & Localization
• Hard Power & Soft Power
• Americanization & Islamization
• Capitalism & Socialism
• High Technology & Low Technology
• Tangible & Intangible
• Physical & Mental or Spiritual
• National Resource
EKMOD
Global/Local Conflict
• Globalization & Localization
• Hard Power & Soft Power
• Americanization & Islamization
• Capitalism & Socialism
• High Technology & Low Technology
• Tangible & Intangible
• Physical & Mental or Spiritual
• National Resource
“ There is no instance of a country having been benefited
from a long war ”
• การทาสงครามจะต้องชัยชนะเผด็จศึกในเร็ววันไม่ควรให้เนิ่นช้า
• ประเทศจะไม่ได้รับประโยชน์อันใดเลยถ้าปล่อยให้การรบยืดเยื้อ
• ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการสงครามจะสูง การคลังของประเทศจะมีปัญหา
• กองทัพต้องติดศึกอยู่นานวัน อาวุธ ยุทโธปกรณ์ จะลดความคมกล้า ขวัญ
ทหารนับวันจะเสื่อม กาลังพลก็จะอ่อนเปลี้ย
www.kpi.ac.th
ใช้กาลังอานาจของชาติเป็นเครื่องมือตามยุคสมัย
Military Power
Politics Power
Economics Power
Sociological Power
Media Power
National
Power
www.kpi.ac.th
การใช้อานาจในการต่อสู้ตามยุคสมัย
Military Power
Politics Power
Economics Power
Sociological Power
Religion,Culture
Media Power
Facebook, Twitter, Vdolink, Mobile Phone,
TV, Radio
National
Power
Sir Halford Mackinder
Geopoliitika:Geopolitics
จานวนพลเมือง ทรัพยากร การเดินเรือ
Rimland Eurasia World
แนวคิด“ยุทธศาสตร์ขอบโลก”(Rimland Strategy)จะโต้แย้งกับ“ ยุทธศาสตร์ใจโลก ”
ใครสามารถครองบริเวณใจโลกได้ จะต้องครอบครองบริเวณดินแดนโดยรอบให้ได้ก่อน
การใช้กาลังอานาจทางเรือที่มีประสิทธิภาพเป็นหลัก ตามแนวคิดของมาฮาน
เรื่องสมุทธานุภาพ
แนวคิดนี้ได้รับการพิสูจน์หลังสงครามโลกครั้งที่สอง พันธมิตรจัดตั้งกองกาลังในบริเวณพื้นที่ต่าง ๆของโลกอย่างเป็นระบบ เพื่อป้องกัน
การเข้าครอบครองใจโลกของฝ่ายคอมมิวนิสต์
มุมมองด้านภูมิรัฐศาสตร์
Heart Land and Rim Land Strategy
http://www.tortaharn.net/contents/index.php?option=com_content&task=view&id=63&Itemid=75&ccdate=6-2008
“ ใครครองยุโรปตะวันออกได้จะเข้าควบคุมใจกลางของพื้นโลกได้ ผู้ใดครองใจกลางของพื้นโลกได้ จะสามารถ
ควบคุมพื้นที่ส่วนต่างๆของโลกได้ และผู้ใดครองพื้นที่ส่วนต่าง ๆ ของโลกได้ ก็จะควบคุมโลกได้ในที่สุด”
Pivot Area
EURASIA
รูปแบบการทาสงคราม
สังคมนิยมคอมมิวนิสต์
หนึ่งประเทศสองระบบ
มุสลิม/ท้องถิ่นนิยม
รูปแบบของการใช้กาลังอานาจแต่ละยุคสมัย
ยูเรเซีย(Eurasia)
รูปแบบการทาสงคราม
หนึ่งประเทศสองระบบ
สังคมนิยมคอมมิวนิสต์
มุสลิม/ท้องถิ่นนิยม
www.kpi.ac.th
ใช้กาลังอานาจแห่งชาติเป็นเครื่องมือตามยุคสมัย
Military Power
Politics Power
Economics Power
Sociological Power
National
Power
www.kpi.ac.th
ใช้กาลังอานาจแห่งชาติเป็นเครื่องมือตามยุคสมัย
Military Power
Politics Power
Economics Power
Sociological Power
Media Power
National
Power
www.kpi.ac.th
การใช้อานาจในการต่อสู้ตามยุคสมัย
Military Power
Politics Power
Economics Power
Sociological Power
Religion,Culture
Media Power
Facebook, Twitter, Vdolink, Mobile Phone,
TV, Radio
National
Power
Alfred Thayer Mahan
นายพลเรือสหรัฐฯ ค.ศ. ๑๘๔๐ - ๑๙๑๔
 บิดาแห่งกาลังอานาจทางทะเล
 เป็นผู้บรรยายในวิทยาลัยการทัพเรือ
 เขียนหนังสือเกี่ยวกับทฤษฏีของการใช้กาลังอานาจทางเรือ
 เสนอแนวคิดกาลังอานาจทางทะเล(Sea Power Strategy) ครองเจ้าทะเล คุมเส้นทาง
เดินเรือ และแสวงหาทรัพยากรโพ้นทะเล
 ซึ่งได้รับการยอมรับในผลงานยุทธศาสตร์ทางเรือ(Naval Strategy)
Alfred Thayer Mahan
 เอาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์มาพัฒนาแนวความคิดของตน
 ความสัมพันธ์ของกาลังอานาจทางเรือกับเศรษฐกิจ
 กาลังอานาจทางเรือย่อมขึ้นอยู่กับความแข็งแกร่งทางเศรษฐกิจ
 ความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจต้องการแหล่งวัตถุดิบและตลาดเป็นประการสาคัญ
 มีแนวความคิดว่ารัฐที่มีขีดความสามารถทางเรือและมีการค้าขายทางทะเลย่อม
ได้เปรียบกว่ารัฐอื่น ๆ
Alfred Thayer Mahan
 รัฐจาเป็นต้องเปิดเส้นทางคมนาคมทางทะเลให้มากพอและมากยิ่งกว่าทางพื้นดิน
การพัฒนากาลังอานาจทางเรือ ต้องแสวงหา
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพต่าง ๆเช่น ฝั่งทะเล
ท่าเรือธรรมชาติ และที่ตั้งทางยุทธศาสตร์
ROLE
50
Global Actors
52www. kpi.ac.th
Global studies
• Globalization
• Technology
• Mobility
• Beliefs
• Economy
• ทานายความเจริญของโลกจะไหลกลับมาอยู่ที่ญี่ปุ่น จีน เกาหลี และอาเซียน
• ธนาคารโลกวิเคราะห์ว่าปี ๒๐๒๕ จีนจะเป็นมหาอานาจทางเศรษฐกิจอันดับ ๑ ของโลก ตามด้วย
สหรัฐฯ อินเดีย และเยอรมนี
• สหรัฐฯร่วมมือกับสหภาพยุโรปพยายามสกัดกั้นการเติบโตทางเศรษฐกิจของจีน
•ใช้มาตรการระเบียบโลกใหม่เข้ามากดดันคือ สิทธิมนุษยชน ประชาธิปไตย สิ่งแวดล้อม และ การค้า
เสรี
• จีนต่อสู้ไม่ยอมอ่อนข้อ ทั้งเงินสกุลหยวนของจีนยังไม่อยู่ในระบบการเงินสากล สหรัฐฯ จึงโจมตี
เครือข่ายจีนเป็นประเทศที่เวลาตรงกับจีน เช่น ไต้หวัน เกาหลี มาเลเซีย ไทย สิงคโปร์และ
อินโดนีเซีย
จากการศึกษาของ John Naisbit(1995)
ในหนังสือ Megatrend 2000 และ Megatrends Asia
แนวโน้มมหาอานาจทางเศรษฐกิจโลก
•ชาติร่ารวยจะต้องปรับตัวให้เข้ากับสองประเทศนี้ ก่อนที่ทุกอย่างจะสายเกินไป
•โกลด์แมน แซคส์ วาณิชธนกิจชื่อดังคาดการณ์ว่า ในปี ๒๐๕๐ GDP ของจีนจะขยายตัวจาก
มูลค่ารวม ๒ เป็น ๔๘.๖ ล้านล้านดอลลาร์
•จีพีดีของอินเดียปัจจุบันไม่ถึง ๑ ล้านล้านดอลลาร์ แต่จะขยายสูงขึ้นถึง ๒๗ ล้านล้านดอลลาร์
•สหรัฐฯ GDP จะเพิ่มจาก ๑๓ ล้านล้านดอลลาร์ เป็น ๓๗ ล้านล้านดอลลาร์เท่านั้น ซึ่งน้อยกว่า
จีนถึง ๑๐ ล้านล้านดอลลาร์
•ปี 2050 เศรษฐกิจของจีนและอินเดียมีแนวโน้มจะขยายตัวถึง ๒๒ เท่า ขณะที่ชาติ G7 มี
แนวโน้มขยายตัวเพียง ๒.๕ เท่าเท่านั้น
•จีนและอินเดีย เข้าไปลงทุนในแอฟริกาอย่างมาก
(เจมส์ วูลเฟนซอห์น อดีตประธานธนาคารโลกพูดที่มหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์ ซิดนีย์)
• รัสเซียบอกสหรัฐฯจะไม่ได้อะไรเลยจากการแซงชั่นรัสเซีย แต่จะสูญเสียจากนโยบายนี้ เพราะรัสเซียจะสั่งห้ามการ
นาเข้าไก่จากสหรัฐฯและผลไม้จากยุโรป จะตรวจสอบสุขลักษณะของเนยที่ร้านฟาสท์ฟูด McDonald's ใช้ในการ
ทาอาหาร
• สหรัฐฯส่งออกไก่ไปรัสเซียเป็นตลาดใหญ่อันดับสอง รองมาจากเม็กซิโก ปีที่แล้วสหรัฐฯส่งออกไก่ให้รัสเซียได้เงิน $
309 ล้าน
• นักกฎหมายรัสเซียกาลังร่างกฎหมายเพื่อห้ามบริษัทตรวจสอบบัญชีอย่าง Deloitte LLP และ KPMG LLP ในการ
ทาธุรกิจในรัสเซีย
• เป้าต่อไปรัสเซียจะแซงชั่นสื่อสหรัฐฯ
• มีบทบาทต่อทิศทางการเมือง การทหาร และเศรษฐกิจของโลก มีทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะพลังงาน มี
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
http://rt.com/news/176712-russia-sanctions-ukraine-relations/
รัสเซียแซงชั่นสหรัฐฯ
ประเทศรัสเซีย
• กลุ่มเครือรัฐเอกราช (Commonwealth of Independent States - CIS) จากอดีตสาธารณรัฐต่างๆ
ของหภาพโซเวียต 12 สาธารณรัฐ ได้แก่ 1. Azerbaijan Republic 2. Republic of Armenia 3. Republic
of Belarus 4. Georgia 5. Republic of Kazakhstan 6. Kyrgyz Republic 7. Republic of Moldova 8.
Russian Federation 9. Republic of Tajikistan 10. Turkmenistan 11. Republic of Uzbekistan 12.
Ukraine จากทั้งหมด 15 สาธารณรัฐ
• มี 3 สาธารณรัฐริมฝั่งทะเลบอลติคที่ไม่เข้าร่วมคือ ประเทศ ลิธัวเนีย (Lithuania) ลัตเวีย (Latvia) และ
เอสโตเนีย (Estonia)
• กลุ่มประเทศ CIS อาทิ จอร์เจีย ยูเครน และคีร์กีซสถาน ไม่ร่วมสหรัฐ
ประเทศในเอเชียกลาง
Heart Land
CIS
ประเทศ
ใต้
ประเทศต่างๆ
คาบสมุทรเกาหลี
ไต้หวัน
สแปรตลีย์
ช่องแคบมะละกา
แปซิฟิคใต้
แคชเมียร์
Alfred Thayer Mahan
นายพลเรือสหรัฐฯ ค.ศ. ๑๘๔๐ - ๑๙๑๔
บิดาแห่งกาลังอานาจทางทะเล
เป็นผู้บรรยายในวิทยาลัยการทัพเรือ
เขียนหนังสือเกี่ยวกับทฤษฏีของการใช้กาลังอานาจทางเรือ
เสนอแนวคิดกาลังอานาจทางทะเล(Sea Power Strategy) ครองเจ้าทะเล คุมเส้นทาง
เดินเรือ และแสวงหาทรัพยากรโพ้นทะเล
ซึ่งได้รับการยอมรับในผลงานยุทธศาสตร์ทางเรือ(Naval Strategy)
การแบ่งกลุ่มประเทศในโลกของสหรัฐ
•กลุ่มประเทศ G7
•กลุ่มประเทศกาลังพัฒนา
•กลุ่มประเทศเกิดใหม่และรัฐเอกราช
•กลุ่มประเทศอักษะแห่งความชั่วร้าย
การเมืองของประเทศมหาอานาจ / ขาดหลักนิติธรรม
Terrorist Movements
โลกาภิบาล : Global Governance
• UN
• G 8
• World Bank
• WTO
• OECD
• IMF
•NATO
•UNCTAD
การวิเคราะห์ปัญหาแบบบูรณาการ
•รากเหง้าของปัญหา(ตัวสหรัฐเองมากกว่ามุสลิม)
•ความร่วมมือระหว่างประเทศ(ให้ความสาคัญ UN และประชาคมโลกระหว่างประเทศ)
•ประเทศมุสลิมใช้ Soft Power จิตใจและจิตวิญญานของ
•ลัทธิครองความเป็นเจ้า(นโยบายฝ่ายเดียว การใช้กาลังและนโยบายสุดขั้ว)
•USA ใช้ Hard Power ทาให้ขาดศรัทธา ชอบธรรม
•ยุทธศาสตร์ตะวันออกกลาง(คงทหารไว้ สนับสนุน Israel)
•การปะทะกันระหว่างอารยธรรม Crash Civilization
กระบวนทัศน์ใหม่
• มีความมั่นใจในกาลังอานาจของตนทั้งการเมือง เศรษฐกิจ และการทหาร
• โน้มน้าวประเทศอื่นให้คล้อยตามด้วยเงินช่วยเหลือ ผลประโยชน์และอานาจความรู้
• การแบ่งกลุ่มประเทศ ๔ กลุ่ม G8,กาลังพัฒนา,New State,Rogue State
• ประเทศเอกราช ๑๙๓ ประเทศ มีการรวมกลุ่มกันทางเศรษฐกิจ การเมือง เชื้อชาติ วัฒนธรรม พื้นที่
ตามภูมิศาสตร์
• พรมแดน ความเป็นเชื้อชาติเลือนหาย เครือข่าย ข่าวสาร มีการถ่วงดุลกันมากขึ้น
• เศรษฐกิจจะกระจายตัวไป จีน ญี่ปุ่น รัสเซียอินเดีย กระจายไปสู่ยุโรปตะวันออก ประเทศมุสลิมใหม่(รัฐ
เอกราชแยกจากรัสเซีย)
สหรัฐอเมริกามองย้อนกลับไปเมื่อปี พ.ศ. 2538
• Americanization จุดแข็งทางวัฒธรรม การศึกษา แนวคิด ผู้นา วิถีชีวิตอเมริกัน ยืดหยุ่นพยายามการ
ครอบงาโลกทางวัฒนธรรม ปัจจุบันคนจะพูดถึงค่านิยมแบบเอเชียมากกว่าค่านิยมแบบอเมริกัน
• ด้านเศรษฐกิจสหรัฐเป็นพลวัตร รัฐแคลิฟอร์เนียรัฐเดียวมีเศรษฐกิจเป็นอันดับ 5 ของโลก
• ทั้งประเทศมีขนาดเป็น 2 เท่าของญี่ปุ่นซึ่งเป็นอันดับ 2 ของโลก หรือเท่ากับ จีน + เยอรมัน + อังกฤษ
• มีประชากร 5 % ของโลก ผลผลิตสู่ตลาดโลก 43 %
• งบประมาณการวิจัยของสหรัฐอเมริกามีมากกว่า 20 ประเทศรวมกันคิดเป็น 50 % งบวิจัยโลก
• มีเทคโนโลยีสูง
• จากการประชุม World Economic Forum ที่สวิเซอร์แลนด์ในปี 2006 สรุปว่า ปี
2020-2026 จีนจะมีเศรษฐกิจใหญ่กว่าสหรัฐอเมริกา ในขณะที่อินดียจะมีเศรษฐกิจใหญ่กว่าประเทศยุโรป
สหรัฐอเมริกา
•เป็นประเทศที่ทรงอิทธิพลที่สุด ในด้านเศรษฐกิจ การเมืองและการทหาร
•มีศักยภาพในการชี้นาและการกาหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ ในโลก
•มีขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก
•มีความสามารถการแข่งขันทางเศรษฐกิจสูงที่สุดในโลก (จัดอันดับโดย The Economist)
•มีบทบาทสูงในเวทีเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เช่น IMF, World Bank , WTO, G-8 ,
OECD และ APEC
กลุ่มประเทศต่อต้านสหรัฐอเมริกาและประเทศตะวันตก
• มองวิถีชีวิตแบบตะวันตกแบบอเมริกัน จะเต็มไปด้วยความเลวทราม อุจาด ลามก ทุจริต คดโกง เห็นแก่ตัว
กีดกัน โค่นล้ม เท่าที่จะสามารถทาได้ทั้งโดยวิธีสงบและวิธีรุนแรง
• สังคมมุสลิม ผู้นาเอากฎหลักแบบยึดมั่นในคาสั่งสอนของศาสนาอิสลามอยางเคร่งครัด มาใช้เป็น “เครื่องมือ
ทางการเมือง” และต้องการนาเอากฎหลักของศาสนามาใช้เป็นกฎหลักของสังคมอย่างเคร่งครัด เพื่อต่อต้าน
“การครองโลกแบบครบวงจรของสหรัฐอเมริกา และอารยธรรมของชนผิวขาวชาวคริสเตียน”
• ความเป็นศัตรูเกิดขึ้นระหว่าง “ตะวันตก” กับ “มุสลิม” “The Clash of Civilizations”
• ผู้นาจานวนนี้มักเป็นผู้นาที่มีความนับถือตัวเอง และเชื่อมั่นในตัวเองสูง เช่น ซัดดัมฮุสเซน ในอิรัก หรือโม
อามาร์ กัดดาฟี ในลิเบีย
•ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองในลักษณะสมบูรณาญาสิทธิราชย์
หรือกึ่งๆ
•ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่
•ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย
•ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ
•ประเทศมุสลิมสายเคร่ง
•ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ
รูปแบบของกลุ่มประเทศมุสลิมในโลก
ประเทศมุสลิม
•ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองในลักษณะสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือ
กึ่งๆ(โมร็อกโก จอร์แดน ซาอุดิอารเบีย บรูไน และรัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย)
•ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่(มาเลเซีย อินโดนีเซีย ตุรกี)
•ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย(ปากีสถาน แอลจีเรีย อียิปต์ ตูนิเซีย เลบานอน)
•ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ(อิรัก ซีเรีย ลิเบีย ซึ่งมีผู้นาในลักษณะเผด็จการหรือกึ่งเผด็จการ)
•ประเทศมุสลิมสายเคร่ง (คือศาสนามีอานาจเหนือรัฐ) มักรู้จักกันในภาษาอังกฤษว่า Islamic
Fundamentalism ได้แก่ อัฟกานิสถาน และอิหร่าน (ซึ่งเคร่งน้อยลงกว่าในทศวรรษ ๑๙๘๐)
•ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ (ประเทศในเอเชียกลางและคอเคซัสที่เคยอยู่ใน
สหภาพโซเวียต(อุสเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คาซักสถาน ทิกิร์เซีย และอาเซอร์ไบจาน ฯลฯ)
Americanization ด้านวัฒนธรรม
• ภาพยนตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาพยนตร์ฮอลลีวู้ด
• อาหารจานด่วน เช่น KFC แมคโดแนล โคคา โคลา และเป๊ปซี่โคลา
• ภาษาอังกฤษแบบอเมริกันแทรกเข้าไปในภาษาอื่น
• ภาษาอังกฤษเพราะเป็นภาษาที่ใช้ในธุรกิจ ในวิชาการ และในอินเตอร์เนต มิได้มาจากอังกฤษแต่มาจากอเมริกา
• เรื่องที่ผู้ต่อต้านสหรัฐอเมริกาหลังจากเหตุการณ์วินาศกรรม 11 กันยายน 2544 ใช้มากที่สุดคือ เรื่องอาหารและเรื่อง
ภาพยนตร์
• โคคาโคลา ถือว่าเป็นโลกาภิวัตน์ที่เป็นผลที่สุด
• Americanization โดยการช่วยเหลือ เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคอมพิวเตอร์
Americanization through education
•ผู้ที่อพยพเข้ามาในสหรัฐอเมริกา ต้องเรียนภาษาอังกฤษ และเรียนประวัติศาสตร์
อเมริกัน
•มีการสอนให้ปรับตัวกับความเป็นอยู่แบบอเมริกัน แต่ว่าคนเหล่านี้ก็ต้องการรักษา
วัฒนธรรมของตนไว้ด้วย
•นักเรียนทั่วโลกไปเรียนที่สหรัฐอเมริกา และสหรัฐอเมริกามาตั้งมหาวิทยาลัยและ
โรงเรียนระดับต่างๆ ในต่างประเทศ
• การวาดฝันจีนศูนย์กลางแห่งห่วงโซ่อุปทานโลก(Center of the Value Chain global)เซี่ยงไฮ้ ศูนย์กลางทางการเงิน
โลก ฮ่องกงเป็นประตูระบายสินค้า Logistics Center
• กระทรวงการรถไฟจีน มีรถไฟที่วิ่งด้วยความเร็ว 341 กม./ชม.ทาลายสถิติโลก เชื่อมการเดินทางทั่วประเทศและ
ระหว่างทวีป การเดินทางระยะ 1,069 กม. ใช้เวลา 188 นาที
ความเร็วสูงสุด 394.2 กม./ชม.
• ญี่ปุ่น ความเร็ว 243 กม./ชม. และของฝรั่งเศส ความเร็ว 277 กม./ชม.
• มี Knowhow การก่อสร้างรางรถไฟ การจัดการและจัดตารางเดินรถ ตลอดจนเทคโนโลยีการควบคุมจัดการอื่นๆ
• Alibaba.com เป็นเว็บไซต์ตัวกลางที่นัดให้ผู้ซื้อและผู้ขายได้เข้ามาพบกัน และเกิดการแลกเปลี่ยนกันทางการค้า
เว็บไซต์นี้ขายส่งใหญ่ที่สุดในโลก สัญชาติจีนที่ได้รับมาตราฐานสากล ทั่วโลกยอมรับ
สาธารณรัฐประชาชนจีน
ประชากร 1100 เศษ
POPULATION
1458
1398
352
273
ปี 2025
World Muslim Population
General & Islamic Source
Continent Population in 2003 Muslim Population in
2003
Muslim Percentage
Africa 861.20 461.77 53.62
Asia 3830.10 1178.89 30.78
Europe 727.40 52.92 7.28
North America 323.10 6.78 2.10
South America 539.75 3.07 0.57
Oceania 32.23 0.60 1.86
Total 6313.78 1704.03 26.99
Muslim Population is increasing at the rate of 2.9%**
We are taking the rate of natural increase as 2% around the world. The Muslim population in 2003 was
1704.03 million.
**US Center For World Mission 1997 Report
Seapower21
ยุทธศาสตร์ทหารของสหรัฐ
•Strategic Defense – Mobile Forces
•Bases – Places
National Security Strategy and Economic Strategy
•Raw Material (Co)
•Product & Container (Microchip)
•Money (Electronics)
•Man (E- Passport)
ยุทธศาสตร์ Sea Power21
•ปรับวางกาลังของกองทัพเรือสหรัฐฯโดยทบทวนยุทธศาสตร์ ปรับเปลี่ยน
รูปแบบ จานวนและสถานที่ที่กาลังทหารของสหรัฐฯประจาการอยู่ทั่วโลก
•กาหนดภัยคุกคามและยุทธศาสตร์ขึ้นใหม่ทั้งหมด มีการลงนามร่วม
ระหว่าง ผบ.ทร. และ ผบ.นย.และให้ กระทรวงกลาโหมฯ อนุมัติ
ยุทธศาสตร์ใหม่ของสหรัฐฯ
กาหนดเป็นยุทธศาสตร์แบบ ๔-๒-๑
สามารถยับยั้งภัยคุกคามได้ ๔ ภูมิภาค
เอาชนะได้อย่างรวดเร็ว ๒ ภัยคุกคาม
เอาชนะได้อย่างเด็ดขาด อย่างน้อย ๑ ใน ๒ ภัยคุกคาม
กรอบแนวความคิดของ Sea Power 21
•Sea Shield การป้องกันจากทะเล ปกป้องแผ่นดินแม่ มีการป้องกัน Air Missile Theater, Air
Missile Defense และการป้องกันภัยคุกคามทั้ง 3 มิติ
•Sea Strikeการโจมตีจากทะเล
•Sea Basing ฐานปฏิบัติการจากทะเลที่ใช้ในการบัญชาการรบ
•Sea Trial มีการฝึกและทดสอบเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ และวางแนวความคิดในการปฎิบัติการ
•Sea Warrior การอบรมและพัฒนาคุณภาพของกาลังพลทางเรือ
•Sea Enterprise การตรวจสอบเพื่อปรับปรุงการปฎิบัติภารกิจของกองทัพให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
แนวคิด Sea Basing
•สร้างฐานทัพหน้าในแผ่นดินตนเอง ใช้กาลังเคลื่อนที่เร็ว ลดการพึ่งพาชาติอื่น
•วางกาลังและฐานทัพ ฐานส่งกาลังบารุงต่าง ๆ ไว้ทั่วโลก
•วางกาลังใหม่ของ ทร.สหรัฐฯ ในภูมิภาคเอเชีย – แปซิฟิก ลดกาลังทหารประจาการในเกาหลี
ใต้ จานวน ๑ ใน ๓ เหลือ ๑๒,๕๐๐ คน จากเดิม ๓๗,๕๐๐ คน
•ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ยากที่จะประเมินทิศทางและเป้าหมายที่ชัดเจน
•ยุทธศาสตร์ใหม่ของสหรัฐฯเน้นการสร้างความร่วมมือจากชาติพันธมิตร ในการเข้าจัดการกับภัย
คุกคามตามภูมิภาคต่าง ๆ
การพัฒนากองทัพสหรัฐฯ
•ปรับกองเรือจาก ๑๙ กองเรือ เป็น ๓๗ กองเรือ มีขีดความสามารถในการทาการรบในทุก
ภูมิภาคทั่วโลก
•ให้ความสาคัญกับขีดความสามารถของหน่วยปฏิบัติการพิเศษ (Special Force)
•มีการปรับปรุงเรือดาน้า Nuclear ชั้น Ohio Class ซึ่งจากเดิมมีการติดตั้งขีปนาวุธ
Nuclear มาเป็นติดตั้งอาวุธปล่อยแบบ Tomahawk และสามารถส่งหน่วย Special
Force ขึ้นปฏิบัติการบนฝั่งได้
EURASIA
ให้ความสาคัญกับภูมิภาค
East Asia,
Northeast Asia
South East Asia
Europe
Northeast
East Asia
South East Asia
Europe
Maritime Prepositioning Force (Future) MPF(F) / Seabase
ประเทศ
ใต้
ประเทศต่างๆ
องค์การเดินเรือระหว่างประเทศ (International Maritime Organizatin-IMO)
• เป็นหน่วยงานของ UN รับรองมาตรการต่อต้านการก่อการร้ายทางทะเล The International Ship and
Port Facility Code (ISPS CODE) เมื่อปี ๒๕๔๕
• กาหนดให้สมาชิก ๑๔๖ ประเทศ เพิ่มการรักษาความปลอดภัยการเดินเรือเพื่อป้องกันการก่อการร้าย
• เรือที่มีระวาง ๓๐๐-๕๐,๐๐๐ ตันต้องติดตั้งระบบ Automatic Information System
• ให้เรือทุกลาต้องติดตั้งระบบเตือนภัยให้เจ้าหน้าที่บนฝั่งทราบชื่อเรือ สถานที่ตั้งและปัญหาด้านความปลอดภัย
• ให้มีการประเมินความปลอดภัยของท่าเรือ และจัดทาแผนรักษาความปลอดภัยสถานที่
• เรือลาใดที่ไม่ปฏิบัติตามระเบียบนี้จะไม่ได้รับใบประกาศความปลอดภัยการเดินเรือระหว่างประเทศ
(International Ship Security Certificate) ซึ่งจะทาให้ไม่สามารถจอดเข้าท่าเทียบเรือของประเทศสมาชิก
IMO ได้
ขอบคุณครับ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือถามคาถามเพิ่มเติมได้ที่
www.facebook.com/ekkachai.srivilas
www.elifesara.com
บทบาทมหาอำนาจของโลก Cmmu

More Related Content

Viewers also liked

ประเทศญี่ปุ่น11
ประเทศญี่ปุ่น11ประเทศญี่ปุ่น11
ประเทศญี่ปุ่น11Tharapat
 
โครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่น
โครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่นโครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่น
โครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่นI'am So'shy Tine
 
การใช้ภาษากายในการนำเสนอ
การใช้ภาษากายในการนำเสนอการใช้ภาษากายในการนำเสนอ
การใช้ภาษากายในการนำเสนอSuthini
 
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลการหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลSuriya Phongsiang
 
การพัฒนาบุคลิกภาพ
การพัฒนาบุคลิกภาพการพัฒนาบุคลิกภาพ
การพัฒนาบุคลิกภาพMediaDonuts
 
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่นวัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่นapiromrut
 
ภาษากาย (Body language)
ภาษากาย (Body language)ภาษากาย (Body language)
ภาษากาย (Body language)Taraya Srivilas
 

Viewers also liked (10)

ประเทศญี่ปุ่น11
ประเทศญี่ปุ่น11ประเทศญี่ปุ่น11
ประเทศญี่ปุ่น11
 
โครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่น
โครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่นโครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่น
โครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่น
 
Mitsubishi
MitsubishiMitsubishi
Mitsubishi
 
การใช้ภาษากายในการนำเสนอ
การใช้ภาษากายในการนำเสนอการใช้ภาษากายในการนำเสนอ
การใช้ภาษากายในการนำเสนอ
 
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลการหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
 
Onet คณิต ม.3 ปี52 55
Onet คณิต ม.3 ปี52 55Onet คณิต ม.3 ปี52 55
Onet คณิต ม.3 ปี52 55
 
การพัฒนาบุคลิกภาพ
การพัฒนาบุคลิกภาพการพัฒนาบุคลิกภาพ
การพัฒนาบุคลิกภาพ
 
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
 
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่นวัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
 
ภาษากาย (Body language)
ภาษากาย (Body language)ภาษากาย (Body language)
ภาษากาย (Body language)
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

บทบาทมหาอำนาจของโลก Cmmu