SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
14
บทที่ 11
การฝึกเป่ าเสียงซอล (ซ ซ)
แพซ้าย แพขวา
ฟํ ซ ฟ ม ร ทฺ ดํ ลฺ ด ซ ล ท รํ มํ
ซํ นิ้วนาง นิ้วกลาง นิ้วชี้ โป้ ง โป้ ง นิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง ลํ
8 7 6 5 4 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8
แผนภูมิแสดงตำแหน่งเสียง คู่เสียง และกำรวำงนิ้วมือบนลูกแคน
วิธีฝึกเป่ าเสียงซอล คู่ 8
1. ฝึกใช้นิ้วมือปิดรูนับ การฝึกเป่ าเสียงซอล (ซ ซ) ซึ่งเป็นระดับเสียงเดียวกัน ให้ใช้
นิ้วนำงมือซ้ำยปิดรูนับลูกที่ 6 แพซ้ำย และใช้นิ้วชี้มือขวำปิดรูนับลูกที่ 3 แพขวำ (ดูภำพประกอบใน
แผนภูมิ)
2. วิธีเป่ำ ปฏิบัติเช่นเดียวกับการเป่าเสียง ลา คือ จะเริ่มต้นด้วยการเป่าลมเข้าหรือดูดลม
ออกก็ได้ตามความถนัดของผู้เป่า โดยใช้นิ้วปิดรูนับเสียง ซ ซ พร้อมกับเป่าลมเข้าหรือดูดลมออก
คล้ายกับจะเปล่งเสียงพยัญชนะ “ ด ” ถ้าเป็นการเป่าเสียงยาวให้ใช้คาว่า “ แด ” หรือ ถ้าต้องการเป่า
ให้เกิดเป็นเสียงสั้นให้ผันลิ้นหรือใช้ปลายลิ้นปิดกั้นลมเพื่อแบ่งลมเป่าออกเป็นช่วงๆ สั้นๆ คล้ายกับจะ
เปล่งคาว่า “ แดน ” ควรฝึกใช้นิ้วมือปิดรูนับให้สัมพันธ์กับกำรเป่ำลมเข้ำและดูดลมออก ตามแบบฝึก
ที่ 1-3 ดังนี้
15
แบบฝึกที่ 1 ฝึกเป่ำเสียง ซอล (ซ ซ) ซึ่งเป็นระดับเสียงเดียวกันช้ำๆ
โน้ต - - - ซ - - - ซ - - - ซ - - - ซ - - - ซ - - - ซ - - - ซ - - - ซ
การปฏิบัติ
1. ฝึกร้องโน้ตเสียงซอล พร้อมเคำะจังหวะให้ถูกต้อง
2. ปิดรูนับเสียงซอล คู่ 8 (ซ ซ) เป่ำลมเข้าหรือดูดลมออกคล้ายกับจะเปล่งเสียง
พยัญชนะ “ ด ” ด้วยคาว่า “ แด ” หรือ “ แดน ” ฝึกเป่าตัดลมเป็นช่วงสั้นๆ ต่อเนื่องกันตามช่วงลม
หายใจออก และหายใจเข้าอย่างเป็นธรรมชาติ ควรฝึกเป่าให้เกิดความเคยชินจนชานาญ
แบบฝึกที่ 2 ฝึกเป่ำเสียง ซอล (ซ ซ) เป็นกระสวนจังหวะช้ำๆ
โน้ต - - - ซ - ซ - ซ - ซ - ซ - ซ - ซ - - - ซ - ซ - ซ - ซ - ซ - ซ - ซ
การปฏิบัติ
1. ฝึกร้องโน้ต เสียงซอล พร้อมเคำะจังหวะให้ถูกต้อง
2. ปิดรูนับเสียงซอล คู่ 8 (ซ ซ) แล้วเป่ำลมเข้ำหรือดูดลมออกคล้ำยกับจะเปล่งเสียง
พยัญชนะ “ ด ” ด้วยคำว่ำ “ แด ” หรือ “ แดน ” ฝึกเป่ำตัดลมเป็นช่วงสั้นๆ ต่อเนื่องกันตำมช่วงลม
หำยใจออก และหำยใจเข้ำอย่ำงเป็นธรรมชำติ ฝึกเป่ำตัดลมด้วยกำรเป่ำลมเข้ำหรือดูดลมออกเป็น
กระสวนจังหวะ โดยเป่ำให้เสียงของโน้ตตัวสุดท้ำยตรงกับจังหวะตก(เสียงหนัก)
แบบฝึกที่ 3 ฝึกเป่ำเสียงซอล (ซ ซ) เป็นกระสวนจังหวะให้เร็วขึ้น
โน้ต - - - ซ - ซ - ซ ซ ซ - ซ - ซ - ซ - - - ซ ซ ซ - ซ ซ ซ - ซ - ซ - ซ
โน้ต - - - ซ - ซ - ซ ซ ซ - ซ ซ ซ - ซ - - - ซ - ซ - ซ ซ ซ - ซ ซ ซ - ซ
โน้ต - - - ซ - ซ - ซ ซ ซ - ซ ซ ซ - ซ - - - ซ ซ ซ ซซ ซ ซซ ซ ซ ซซ ซ
16
วิธีปฏิบัติ
1. ฝึกร้องโน้ตเสียง ซอล พร้อมเคำะจังหวะให้ถูกต้อง
2. ปิดรูนับเสียงซอล คู่ 8 (ซ ซ) แล้วฝึกเป่ำตัดลมโดยเป่ำลมเข้ำหรือดูดลมออกเป็น
กระสวนจังหวะให้ถี่ขึ้น ทั้งกำรเป่ำเสียงยำว(คำว่ำ แด) และเสียงสั้น(คำว่ำ แดน) สลับกันไปตำมระดับ
เสียงในแต่ละห้องเพลง ฝึกเป่าตัดลมเป็นช่วงจังหวะสั้นๆ ต่อเนื่องกันตลอดช่วงลมหายใจทั้งหายใจ
เข้าและหายใจออกอย่างเป็นธรรมชาติ
ข้อสังเกต
1. การเป่าตัดลม โดยใช้ปลายลิ้นแบ่งลมเป่าให้มีความสั้นยาวต่างๆ กันในแต่ละ
จังหวะย่อยของห้องเพลงจะทาให้เกิดเสียงหนัก-เบาและอารมณ์เพลงในลักษณะที่แตกต่ำงกันออกไป
ตามจุดประสงค์ของผู้เป่า
2.แบบฝึกดังกล่าวเป็นเพียงตัวอย่างหรือแนวทางการฝีกหัดเท่านั้น ผู้ฝึกเป่าสามารถ
กาหนดรูปแบบเองได้ที่สาคัญคือพยายามฝึกปิดรูนับให้สัมพันธ์กับการเป่าลมเข้าหรือดูดลมออกตาม
ลมหายใจอย่างเป็นธรรมชาติ

More Related Content

What's hot

ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงSunthon Aged
 
พรบ.
พรบ.พรบ.
พรบ.skwtngps
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netWarissa'nan Wrs
 
สัทสระ pinyin
สัทสระ pinyinสัทสระ pinyin
สัทสระ pinyinnammatoom
 
การบันเทิงในกองลูกเสือ
การบันเทิงในกองลูกเสือการบันเทิงในกองลูกเสือ
การบันเทิงในกองลูกเสือBANLU Daendongying
 
สรุปตำแหน่งการเกิดเสียง
สรุปตำแหน่งการเกิดเสียงสรุปตำแหน่งการเกิดเสียง
สรุปตำแหน่งการเกิดเสียงParom's Raviwong
 
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]wattumplavittayacom
 
มลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียงมลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียงGreen Greenz
 

What's hot (12)

ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
พรบ.
พรบ.พรบ.
พรบ.
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
 
Pinyin
PinyinPinyin
Pinyin
 
สัทสระ pinyin
สัทสระ pinyinสัทสระ pinyin
สัทสระ pinyin
 
การชุมนุมรอบกองไฟ
การชุมนุมรอบกองไฟการชุมนุมรอบกองไฟ
การชุมนุมรอบกองไฟ
 
การบันเทิงในกองลูกเสือ
การบันเทิงในกองลูกเสือการบันเทิงในกองลูกเสือ
การบันเทิงในกองลูกเสือ
 
กลอนแปด
กลอนแปดกลอนแปด
กลอนแปด
 
สรุปตำแหน่งการเกิดเสียง
สรุปตำแหน่งการเกิดเสียงสรุปตำแหน่งการเกิดเสียง
สรุปตำแหน่งการเกิดเสียง
 
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
 
มลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียงมลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียง
 

Similar to 11 การฝึกเป่าเสียงซอล

Similar to 11 การฝึกเป่าเสียงซอล (6)

Thai
ThaiThai
Thai
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
สรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยสรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทย
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 
แบบฝึกการตีโปงลาง
แบบฝึกการตีโปงลางแบบฝึกการตีโปงลาง
แบบฝึกการตีโปงลาง
 
Vocabulary
VocabularyVocabulary
Vocabulary
 

More from วีรชัย มาตรหลุบเลา (6)

09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น
09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น
09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น
 
06 ตำแหน่งของเสียงแคน
06 ตำแหน่งของเสียงแคน06 ตำแหน่งของเสียงแคน
06 ตำแหน่งของเสียงแคน
 
05 การจับถือแคน
05 การจับถือแคน05 การจับถือแคน
05 การจับถือแคน
 
04 การเก๊บรักษาแคน
04 การเก๊บรักษาแคน04 การเก๊บรักษาแคน
04 การเก๊บรักษาแคน
 
03 การเลือกซื้อแคน
03 การเลือกซื้อแคน03 การเลือกซื้อแคน
03 การเลือกซื้อแคน
 
02 ส่วนประกอบของแคน
02 ส่วนประกอบของแคน02 ส่วนประกอบของแคน
02 ส่วนประกอบของแคน
 

11 การฝึกเป่าเสียงซอล

  • 1. 14 บทที่ 11 การฝึกเป่ าเสียงซอล (ซ ซ) แพซ้าย แพขวา ฟํ ซ ฟ ม ร ทฺ ดํ ลฺ ด ซ ล ท รํ มํ ซํ นิ้วนาง นิ้วกลาง นิ้วชี้ โป้ ง โป้ ง นิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง ลํ 8 7 6 5 4 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 แผนภูมิแสดงตำแหน่งเสียง คู่เสียง และกำรวำงนิ้วมือบนลูกแคน วิธีฝึกเป่ าเสียงซอล คู่ 8 1. ฝึกใช้นิ้วมือปิดรูนับ การฝึกเป่ าเสียงซอล (ซ ซ) ซึ่งเป็นระดับเสียงเดียวกัน ให้ใช้ นิ้วนำงมือซ้ำยปิดรูนับลูกที่ 6 แพซ้ำย และใช้นิ้วชี้มือขวำปิดรูนับลูกที่ 3 แพขวำ (ดูภำพประกอบใน แผนภูมิ) 2. วิธีเป่ำ ปฏิบัติเช่นเดียวกับการเป่าเสียง ลา คือ จะเริ่มต้นด้วยการเป่าลมเข้าหรือดูดลม ออกก็ได้ตามความถนัดของผู้เป่า โดยใช้นิ้วปิดรูนับเสียง ซ ซ พร้อมกับเป่าลมเข้าหรือดูดลมออก คล้ายกับจะเปล่งเสียงพยัญชนะ “ ด ” ถ้าเป็นการเป่าเสียงยาวให้ใช้คาว่า “ แด ” หรือ ถ้าต้องการเป่า ให้เกิดเป็นเสียงสั้นให้ผันลิ้นหรือใช้ปลายลิ้นปิดกั้นลมเพื่อแบ่งลมเป่าออกเป็นช่วงๆ สั้นๆ คล้ายกับจะ เปล่งคาว่า “ แดน ” ควรฝึกใช้นิ้วมือปิดรูนับให้สัมพันธ์กับกำรเป่ำลมเข้ำและดูดลมออก ตามแบบฝึก ที่ 1-3 ดังนี้
  • 2. 15 แบบฝึกที่ 1 ฝึกเป่ำเสียง ซอล (ซ ซ) ซึ่งเป็นระดับเสียงเดียวกันช้ำๆ โน้ต - - - ซ - - - ซ - - - ซ - - - ซ - - - ซ - - - ซ - - - ซ - - - ซ การปฏิบัติ 1. ฝึกร้องโน้ตเสียงซอล พร้อมเคำะจังหวะให้ถูกต้อง 2. ปิดรูนับเสียงซอล คู่ 8 (ซ ซ) เป่ำลมเข้าหรือดูดลมออกคล้ายกับจะเปล่งเสียง พยัญชนะ “ ด ” ด้วยคาว่า “ แด ” หรือ “ แดน ” ฝึกเป่าตัดลมเป็นช่วงสั้นๆ ต่อเนื่องกันตามช่วงลม หายใจออก และหายใจเข้าอย่างเป็นธรรมชาติ ควรฝึกเป่าให้เกิดความเคยชินจนชานาญ แบบฝึกที่ 2 ฝึกเป่ำเสียง ซอล (ซ ซ) เป็นกระสวนจังหวะช้ำๆ โน้ต - - - ซ - ซ - ซ - ซ - ซ - ซ - ซ - - - ซ - ซ - ซ - ซ - ซ - ซ - ซ การปฏิบัติ 1. ฝึกร้องโน้ต เสียงซอล พร้อมเคำะจังหวะให้ถูกต้อง 2. ปิดรูนับเสียงซอล คู่ 8 (ซ ซ) แล้วเป่ำลมเข้ำหรือดูดลมออกคล้ำยกับจะเปล่งเสียง พยัญชนะ “ ด ” ด้วยคำว่ำ “ แด ” หรือ “ แดน ” ฝึกเป่ำตัดลมเป็นช่วงสั้นๆ ต่อเนื่องกันตำมช่วงลม หำยใจออก และหำยใจเข้ำอย่ำงเป็นธรรมชำติ ฝึกเป่ำตัดลมด้วยกำรเป่ำลมเข้ำหรือดูดลมออกเป็น กระสวนจังหวะ โดยเป่ำให้เสียงของโน้ตตัวสุดท้ำยตรงกับจังหวะตก(เสียงหนัก) แบบฝึกที่ 3 ฝึกเป่ำเสียงซอล (ซ ซ) เป็นกระสวนจังหวะให้เร็วขึ้น โน้ต - - - ซ - ซ - ซ ซ ซ - ซ - ซ - ซ - - - ซ ซ ซ - ซ ซ ซ - ซ - ซ - ซ โน้ต - - - ซ - ซ - ซ ซ ซ - ซ ซ ซ - ซ - - - ซ - ซ - ซ ซ ซ - ซ ซ ซ - ซ โน้ต - - - ซ - ซ - ซ ซ ซ - ซ ซ ซ - ซ - - - ซ ซ ซ ซซ ซ ซซ ซ ซ ซซ ซ
  • 3. 16 วิธีปฏิบัติ 1. ฝึกร้องโน้ตเสียง ซอล พร้อมเคำะจังหวะให้ถูกต้อง 2. ปิดรูนับเสียงซอล คู่ 8 (ซ ซ) แล้วฝึกเป่ำตัดลมโดยเป่ำลมเข้ำหรือดูดลมออกเป็น กระสวนจังหวะให้ถี่ขึ้น ทั้งกำรเป่ำเสียงยำว(คำว่ำ แด) และเสียงสั้น(คำว่ำ แดน) สลับกันไปตำมระดับ เสียงในแต่ละห้องเพลง ฝึกเป่าตัดลมเป็นช่วงจังหวะสั้นๆ ต่อเนื่องกันตลอดช่วงลมหายใจทั้งหายใจ เข้าและหายใจออกอย่างเป็นธรรมชาติ ข้อสังเกต 1. การเป่าตัดลม โดยใช้ปลายลิ้นแบ่งลมเป่าให้มีความสั้นยาวต่างๆ กันในแต่ละ จังหวะย่อยของห้องเพลงจะทาให้เกิดเสียงหนัก-เบาและอารมณ์เพลงในลักษณะที่แตกต่ำงกันออกไป ตามจุดประสงค์ของผู้เป่า 2.แบบฝึกดังกล่าวเป็นเพียงตัวอย่างหรือแนวทางการฝีกหัดเท่านั้น ผู้ฝึกเป่าสามารถ กาหนดรูปแบบเองได้ที่สาคัญคือพยายามฝึกปิดรูนับให้สัมพันธ์กับการเป่าลมเข้าหรือดูดลมออกตาม ลมหายใจอย่างเป็นธรรมชาติ