SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
PMQA(Public sector Management Quality Award)
PMQA(Public sector management quality award) ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วนคือ1.
ลักษณะสาคัญขององค์กรแสดงถึงภาพรวมที่สาคัญของส่วนราชการที่มีผลต่อการดาเนินการ
และความท้าทายที่ส่วนราชการเผชิญอยู่ในสภาวะปัจจุบัน 2.เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ
ภาครัฐเป็นแนวทางการตรวจประเมินการดาเนินการชองส่วนราชการทั้งในส่วนของ
กระบวนการ(process)และผลลัพธ์(output)เพื่อทาให้เห็นจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง
องค์กร ประกอบด้วยเกณฑ์ 7 หมวด ได้แก่ หมวด1 การนาองค์กร เป็นการตรวจประเมินว่า
ผู้บริหารของส่วนราชการดาเนินการอย่างไรในเรื่องของวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม เป้าประสงค์
ระยะสั้นและระยะยาว และความคาดหวังในผลการดาเนินการ เรื่องการให้ความสาคัญกับ
ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหลาย เรื่องการกากับตนเองและการดาเนินการเกี่ยวกับ
ความรับผิดชอบต่อสาธารณชนและชุมชน หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ เป็นการตรวจ
ประเมินวิธีการกาหนดเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
รวมทั้งการถ่ายทอดเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ และการนาแผนปฏิบัติการที่เลือกไว้ไปปฏิบัติ
และการวัดผลความก้าวหน้า หมวด 3 การให้ความสาคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
เป็นการตรวจประเมินว่าส่วนราชการกาหนดความต้องการ ความคาดหวัง และความนิยม
ชมชอบของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างไร รวมถึงส่วนราชการมีการดาเนินการ
อย่างไรในการสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การกาหนดปัจจัยที่
สาคัญที่ทาให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความพึงพอใจและนาไปสู่การกล่าวถึงในสิ่ง
ที่ดี หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ เป็นการตรวจประเมินว่าส่วนราชการ
เลือก รวบรวม วิเคราะห์ จัดการ และปรับปรุงข้อมูลสารสนเทศ และจัดการความรู้อย่างไร
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล เป็นการตรวจประเมินการจัดระบบงานและระบบการ
เรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจขององค์กรที่มีต่อบุคลากร การสร้างและรักษา
สภาพแวดล้อมในการทางาน สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการปฏิบัติการของบุคลากร หมวด 6 การ
จัดการเชิงกระบวนการ เป็นการตรวจประเมินแง่มุมที่สาคัญทั้งหมดของการจัดการ
กระบวนการ การให้บริการ และกระบวนการอื่นที่สาคัญ ที่ช่วยสร้างคุณค่าที่สาคัญแก่
ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และส่วนราชการ ตลอดจนกระบวนการสนับสนุนที่สาคัญต่าง
ๆ หมวด 7 ผลลัพธ์การดาเนินการ เป็นการตรวจประเมินผลการดาเนินการ และแนวโน้มของ
ส่วนราชการ ในมิติด้านต่าง ๆ ได้แก่ด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ด้านคุณภาพการ
ให้บริการ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ และด้านการพัฒนาองค์กร .
ในการนาเกณฑ์ไปใช้นั้นส่วนราชการจะต้องประเมินตนเองตามเกณฑ์ 7 หมวด โดย
จะต้องตอบคาถามในแต่ละหมวดรวม 90 ข้อและอีก 15 ข้อในส่วนที่ 1 รวมเป็น 105 ข้อ คาถาม
จะมี 2 ลักษณะคือถามว่าอย่างไร และถามว่าอะไร ถ้าถามว่าอย่างไร (How) ให้ใช้ADLI ถ้าถาม
ว่าอะไร (What) ก็ตอบง่ายหน่อย และแสดงผลลัพธ์ด้วย LeTCLi(เล็ทซีลิ) แล้วมาประเมินจุด
แข็งจุดอ่อนแล้วทารายงานหาOFI (opportunity for improvement) จัดลาดับความสาคัญ เพื่อ
นาไปสู่การวางแผนในการปรับปรุง แล้วดาเนินการปรับปรุงตามแผนด้วยการเลือกเครื่องมือ
ทางการบริหารจัดการที่เหมาะสมกับหน่วยงานและภารกิจของตนเอง เมื่อปรับปรุงไประยะหนึ่ง
แล้ว ก็จะกลับเข้าสู่วงจรการประเมินตนเองอีกครั้งหนึ่ง และเมื่อพบโอกาสในการปรับปรุงอีกก็
จะปรับปรุงต่อไป เมื่อส่วนราชการได้พัฒนาตนเองจนมั่นใจว่ามีการบริหารจัดการที่มีคุณภาพดี
เยี่ยมแล้ว ก็จะสามารถสมัครเข้ารับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ หรือ PMQA Public
sector management quality award เพื่อให้องค์กรภายนอกมาประเมินต่อไป

More Related Content

More from สมิทธิ์ สร้อยมาดี

Pmqa รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
Pmqa รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐPmqa รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
Pmqa รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสมิทธิ์ สร้อยมาดี
 

More from สมิทธิ์ สร้อยมาดี (14)

ศิลปะการพูดสำหรับนักบริหาร
ศิลปะการพูดสำหรับนักบริหารศิลปะการพูดสำหรับนักบริหาร
ศิลปะการพูดสำหรับนักบริหาร
 
ศิลปะการพูดสำหรับนักบริหาร
ศิลปะการพูดสำหรับนักบริหารศิลปะการพูดสำหรับนักบริหาร
ศิลปะการพูดสำหรับนักบริหาร
 
ศิลปะการพูดสำหรับนักบริหาร
ศิลปะการพูดสำหรับนักบริหารศิลปะการพูดสำหรับนักบริหาร
ศิลปะการพูดสำหรับนักบริหาร
 
จิตวิทยาการบริหาร สมวงค์
จิตวิทยาการบริหาร สมวงค์จิตวิทยาการบริหาร สมวงค์
จิตวิทยาการบริหาร สมวงค์
 
Pmqa5นาที
Pmqa5นาทีPmqa5นาที
Pmqa5นาที
 
Pmqa รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
Pmqa รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐPmqa รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
Pmqa รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
 
Pmqa5นาที
Pmqa5นาทีPmqa5นาที
Pmqa5นาที
 
A
AA
A
 
A
AA
A
 
นำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วม
นำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วมนำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วม
นำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
นำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วม
นำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วมนำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วม
นำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
นำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วม
นำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วมนำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วม
นำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
นำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วม
นำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วมนำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วม
นำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
Pbl1
Pbl1Pbl1
Pbl1
 

การตรวจสุขภาพองค์กร โดยการตอบคำถาม15

  • 1. PMQA(Public sector Management Quality Award) PMQA(Public sector management quality award) ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วนคือ1. ลักษณะสาคัญขององค์กรแสดงถึงภาพรวมที่สาคัญของส่วนราชการที่มีผลต่อการดาเนินการ และความท้าทายที่ส่วนราชการเผชิญอยู่ในสภาวะปัจจุบัน 2.เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐเป็นแนวทางการตรวจประเมินการดาเนินการชองส่วนราชการทั้งในส่วนของ กระบวนการ(process)และผลลัพธ์(output)เพื่อทาให้เห็นจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง องค์กร ประกอบด้วยเกณฑ์ 7 หมวด ได้แก่ หมวด1 การนาองค์กร เป็นการตรวจประเมินว่า ผู้บริหารของส่วนราชการดาเนินการอย่างไรในเรื่องของวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม เป้าประสงค์ ระยะสั้นและระยะยาว และความคาดหวังในผลการดาเนินการ เรื่องการให้ความสาคัญกับ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหลาย เรื่องการกากับตนเองและการดาเนินการเกี่ยวกับ ความรับผิดชอบต่อสาธารณชนและชุมชน หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ เป็นการตรวจ ประเมินวิธีการกาหนดเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการ รวมทั้งการถ่ายทอดเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ และการนาแผนปฏิบัติการที่เลือกไว้ไปปฏิบัติ และการวัดผลความก้าวหน้า หมวด 3 การให้ความสาคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เป็นการตรวจประเมินว่าส่วนราชการกาหนดความต้องการ ความคาดหวัง และความนิยม ชมชอบของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างไร รวมถึงส่วนราชการมีการดาเนินการ อย่างไรในการสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การกาหนดปัจจัยที่ สาคัญที่ทาให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความพึงพอใจและนาไปสู่การกล่าวถึงในสิ่ง ที่ดี หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ เป็นการตรวจประเมินว่าส่วนราชการ เลือก รวบรวม วิเคราะห์ จัดการ และปรับปรุงข้อมูลสารสนเทศ และจัดการความรู้อย่างไร หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล เป็นการตรวจประเมินการจัดระบบงานและระบบการ เรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจขององค์กรที่มีต่อบุคลากร การสร้างและรักษา สภาพแวดล้อมในการทางาน สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการปฏิบัติการของบุคลากร หมวด 6 การ จัดการเชิงกระบวนการ เป็นการตรวจประเมินแง่มุมที่สาคัญทั้งหมดของการจัดการ
  • 2. กระบวนการ การให้บริการ และกระบวนการอื่นที่สาคัญ ที่ช่วยสร้างคุณค่าที่สาคัญแก่ ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และส่วนราชการ ตลอดจนกระบวนการสนับสนุนที่สาคัญต่าง ๆ หมวด 7 ผลลัพธ์การดาเนินการ เป็นการตรวจประเมินผลการดาเนินการ และแนวโน้มของ ส่วนราชการ ในมิติด้านต่าง ๆ ได้แก่ด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ด้านคุณภาพการ ให้บริการ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ และด้านการพัฒนาองค์กร . ในการนาเกณฑ์ไปใช้นั้นส่วนราชการจะต้องประเมินตนเองตามเกณฑ์ 7 หมวด โดย จะต้องตอบคาถามในแต่ละหมวดรวม 90 ข้อและอีก 15 ข้อในส่วนที่ 1 รวมเป็น 105 ข้อ คาถาม จะมี 2 ลักษณะคือถามว่าอย่างไร และถามว่าอะไร ถ้าถามว่าอย่างไร (How) ให้ใช้ADLI ถ้าถาม ว่าอะไร (What) ก็ตอบง่ายหน่อย และแสดงผลลัพธ์ด้วย LeTCLi(เล็ทซีลิ) แล้วมาประเมินจุด แข็งจุดอ่อนแล้วทารายงานหาOFI (opportunity for improvement) จัดลาดับความสาคัญ เพื่อ นาไปสู่การวางแผนในการปรับปรุง แล้วดาเนินการปรับปรุงตามแผนด้วยการเลือกเครื่องมือ ทางการบริหารจัดการที่เหมาะสมกับหน่วยงานและภารกิจของตนเอง เมื่อปรับปรุงไประยะหนึ่ง แล้ว ก็จะกลับเข้าสู่วงจรการประเมินตนเองอีกครั้งหนึ่ง และเมื่อพบโอกาสในการปรับปรุงอีกก็ จะปรับปรุงต่อไป เมื่อส่วนราชการได้พัฒนาตนเองจนมั่นใจว่ามีการบริหารจัดการที่มีคุณภาพดี เยี่ยมแล้ว ก็จะสามารถสมัครเข้ารับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ หรือ PMQA Public sector management quality award เพื่อให้องค์กรภายนอกมาประเมินต่อไป