SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
22   1      22   1
                                       −   <π <    −
                                    7 630       7 1260



         เปนที่ทราบกันดีวาผลลัพธที่ไดจากการหาปริพันธไมจํากัดเขต (infinite integral) จะอยูในรูปของ
ฟงกชั่นที่ขึ้นอยูกับคาคงที่ในการหาปริพันธ (constant of integration) ซึ่งแตกตางกับผลลัพธของปริพันธจํากัด
เขต (finite integral) ที่มีคาออกมาเปนจํานวนจริง นอกจากนั้น การหาคาปริพันธจํากัดเขตของบางฟงกชั่น ได
ใหผลลัพธที่นาสนใจ ในลักษณะที่เราสามารถนําผลลัพธนั้นมาประยุกตใชได
         บทความนี้ผูเขียนขอนําเสนอวิธีการประมาณคาขอบเขตของ π โดยอาศัยความรูเบื้องตนทางแคลคูลัส
เชิงปริพันธ (integral calculus) ซึ่งตัวถูกปริพันธในที่นี้เปนฟงกชั่นตรรกยะ
         พิจารณาฟงกชั่น f , g และ h ซึ่งกําหนดโดย
                                                             t 4 (1 − t )
                                                                         4
                                                    f (t ) =
                                                                1+ t2
                                                             t 4 (1 − t )
                                                                          4
                                                    g (t ) =
                                                                   2
                                                    h (t ) = t 4 (1 − t )
                                                                            4




       ฟงกชั่นดังกลาวเปนฟงกชั่นตอเนื่องบนเซตของจํานวนจริง ในการเปรียบเทียบฟงกชั่นนั้น เราสามารถ
ทําไดโดยพิจารณาที่ตัวสวนของฟงกชั่นตรรกยะ เนื่องจาก 1 ≤ 1 + t 2 ≤ 2 ∀t ∈ [0,1] ดังนั้น ฟงกชั่น
ดังกลาวมีความสัมพันธโดย
                                              t 4 (1 − t )     t 4 (1 − t )
                                                           4                4
                                                             ≤                ≤ t 4 (1 − t )   ∀t ∈ [0,1]
                                                                                             4

                                                2              1+ t2

หรือ                                                   g (t ) ≤ f (t ) ≤ h(t )                 ∀t ∈ [0,1]

เมื่อพิจารณาคาปริพันธจํากัดเขต บนโดเมน t ∈ [0,1] ของอสมการขางตน เราจําเปนตองอาศัยสมบัติการ
เปรียบเทียบ (comparison property) ของฟงกชั่น ดังทฤษฎีบทตอไปนี้ (โดยไมขอพิสูจน)

ทฤษฎีบท 1 ถา f และ g เปนฟงกชั่นที่สามารถหาปริพันธไดบนชวง [a, b] และ f (x ) ≤ g (x ) สําหรับทุก
คา x ∈ [a, b] แลว ∫a f (x ) dx ≤ ∫a g (x ) dx                                               □
                     b              b
จะไดวา อสมการขางตนสามารถเขียนไดในรูป
                                 t 4 (1 − t )        t 4 (1 − t )
                                1                       4           1           4       1

                               ∫ 2            dt ≤ ∫              dt ≤ ∫ t 4 (1 − t ) dt                                        (1)
                                                                                     4

                               0                   0    1+ t  2
                                                                       0



พิจารณาคาปริพันธจํากัดเขต ของแตละพจนในอสมการ (1) ดังตอไปนี้
                                    t 4 (1 − t )
                                        1                       4
พจนแรก กําหนดให            I1 = ∫              dt
                                  0
                                          2


                                                    (                   )
                                            1
                                1
                               = ∫ t 4 1 − 2t + t 2 dt
                                                    2

                                20

                                                    (                               )
                                            1
                                        1 4 4
                               =         ∫ t t − 4t + 6t − 4t + 1 dt
                                                   3    2

                                        20

                                                (                                   )
                                            1
                                        1 8
                                        2∫
                               =           t − 4t 7 + 6t 6 − 4t 5 + t 4 dt
                                         0
                                                                                            1
                                1⎛1    1    6    2    4 ⎞
                               = ⎜ t9 − t8 + t7 − t6 + t5 ⎟
                                2⎝9    2    7    3    5 ⎠ t =0
                                        1⎛1 1 6 2 4⎞
                               =         ⎜ − + − + ⎟
                                        2⎝9 2 7 3 5⎠

                                                           t 4 (1 − t )
                                                                1           4
                                                                               1
ดังนั้น                                             I1 = ∫              dt =                                                    (2)
                                                         0
                                                                 2           1260

                                t 4 (1 − t )
                                    1                       4
พจนกลาง พิจารณา         I2 = ∫              dt                     การหาปริพันธนี้สามารถทําไดอยางนอย 2 วิธีคือ
                              0    1+ t2

วิธีที่ 1 : โดยเทคนิคการหาปริพันธ ดวยการแทนคาฟงกชั่นตรีโกณมิติ และใชสูตรลดทอน (reduction formula)

เริ่มจากสมมติให   t = tan θ ⇒ dt = d (tan θ ) = sec 2 θ dθ

                 tan 4 θ (1 − tan θ )
               1                                    4
แทนคา    I2 = ∫                      sec 2 θ dθ
               0     1 + tan θ2

                     1
                   = ∫ tan 4 θ (1 − tan θ ) dθ                                                  {จากเอกลักษณ 1 + tan 2 θ = sec 2 θ }
                                                                4

                     0


                                        (                                   )
                     1
                   = ∫ tan 4 θ 1 − 2 tan θ + tan 2 θ dθ
                                                                            2

                     0


                                        (                                                           )
                     1
                   = ∫ tan 4 θ 1 − 4 tan θ + 6 tan 2 θ − 4 tan 3 θ + tan 4 θ dθ
                                                                                                     2

                     0


                         (                                                                          )
                     1
                   = ∫ tan 8 θ − 4 tan 7 θ + 6 tan 6 θ − 4 tan 5 θ + tan 4 θ dθ
                     0
1                  1                    1                       1              1
                 = ∫ tan 8 θ dθ − 4∫ tan 7 θ dθ + 6∫ tan 6 θ dθ − 4∫ tan 5 θ dθ + ∫ tan 4 θ dθ
                    0                  0                    0                       0              0

                 = I 21 − 4 I 22 + 6 I 23 − 4 I 24 + I 25                                                              (3)

     การหาคาปริพันธของฟงกชั่น tan k θ เมื่อ k เปนจํานวนเต็มบวก และ k > 1 โดยอาศัยสูตรลดทอน
(โดยไมขอพิสูจน และหากผูอานตองการทราบขั้นตอนการพิสูจน สามารถทําโดยอาศัยเทคนิคการหาปริพันธที
ละสวน (integration by parts) หรือศึกษาจากเอกสารอางอิงทายบทความ)

                         tan k −1 θ
จาก     ∫ tan θ dθ =
             k
                                    − ∫ tan k − 2 θ dθ + c          เมื่อ c เปนคาคงที่ของการหาปริพันธ และ k ≠ 1
                           k −1

จากสมการ (3) โดยพิจารณาปริพันธไมจํากัดเขต ดังตอไปนี้
                                           ⎛             ⎛                        ⎞⎞
       I 21 = ∫ tan 8 θ dθ = 1 tan 7 θ − ⎜ 1 tan 5 θ − ⎜ 1 tan 3 θ − ∫ tan 2 θ dθ ⎟ ⎟
                              7
                                           ⎜5            ⎜3                       ⎟⎟
                                           ⎝             ⎝                        ⎠⎠
                                ⎛             ⎛                               ⎞⎞
                     7
                                ⎜5            ⎜3
                                                                    (
                  = 1 tan 7 θ − ⎜ 1 tan 5 θ − ⎜ 1 tan 3 θ − ∫ sec 2 θ − 1 dθ ⎟ ⎟
                                                                              ⎟⎟
                                                                                )
                                ⎝             ⎝                               ⎠⎠

                   7           5           3
                                                                (
                 = 1 tan 7 θ − 1 tan 5 θ + 1 tan 3 θ − ∫ sec 2 θ − 1 dθ     )
                 = 1 tan 7 θ − 1 tan 5 θ + 1 tan 3 θ − tan θ + θ + c1
                   7           5           3
                                                                                                                       (3.1)
                                         ⎛             ⎛                        ⎞⎞
       I 22 = ∫ tan 7 θ dθ = 1 tan 6 θ − ⎜ 1 tan 4 θ − ⎜ 1 tan 2 θ − ∫ tan θ dθ ⎟ ⎟
                             6
                                         ⎜4            ⎜2                       ⎟⎟
                                         ⎝             ⎝                        ⎠⎠
                 = 1 tan 6 θ − 1 tan 4 θ + 1 tan 2 θ − ln secθ + c 2
                   6           4           2                                                                           (3.2)
                                         ⎛                          ⎞
       I 23 = ∫ tan 6 θ dθ = 1 tan 5 θ − ⎜ 1 tan 3 θ − ∫ tan 2 θ dθ ⎟
                             5
                                         ⎜3                         ⎟
                                         ⎝                          ⎠
                 = 1 tan 5 θ − 1 tan 3 θ + tan θ − θ + c3
                   5           3
                                                                                                                       (3.3)
                                         ⎛                        ⎞
       I 24 = ∫ tan 5 θ dθ = 1 tan 4 θ − ⎜ 1 tan 2 θ − ∫ tan θ dθ ⎟
                             4
                                         ⎜ 2
                                                                  ⎟
                                         ⎝                        ⎠
                 = 1 tan 4 θ − 1 tan 2 θ + ln secθ + c 4
                   4           2                                                                                       (3.4)
       I 25 = ∫ tan 4 θ dθ = 1 tan 3 θ − ∫ tan 2 θ dθ
                             3



                 = 1 tan 3 θ − tan θ + θ + c5
                   3
                                                                                                                       (3.5)

แทนคาสมการ (3.1) ถึง (3.5) ในสมการ (3) แลวจัดรูปจะได

I 2 = 1 tan 7 θ − 2 tan 6 θ + tan 5 θ − 4 tan 3 θ + 4 tan θ − 4θ + c
      7           3                     3
                                                                                เมื่อ   c = c1 + c 2 + c3 + c 4 + c5   (3.6)
โดยแทนคาตัวแปรเดิม t = tan θ ⇒ θ = arctan t และพิจารณาปริพันธจํากัดเขตที่มีขอบเขต t = 0
ถึง t = 1 จากสมการ (3.6) จะได
                                                                                1
                ⎛1     2           4                      ⎞
          I 2 = ⎜ t 7 − t 6 + t 5 − t 3 + 4t − 4 arctan t ⎟
                ⎝7     3           3                      ⎠ t =0
                 ⎛1 2                          ⎞
              = ⎜ − + 1 − + 4 − 4 arctan 1⎟ − (4 arctan 0 ) =
                             4                                   22
                                                                    −π
                 ⎝7 3        3                 ⎠                 7

ดังนั้น
                                                                  t 4 (1 − t )
                                                                1         4
                                                                                    22
                                                       I2 = ∫                  dt =    −π                                      (3.7)
                                                                0    1+ t  2
                                                                                    7

วิธีที่ 2 : โดยการกระจายฟงกชั่นตรรกยะของตัวถูกปริพันธ (integrand)

          I2 = ∫
                 t 4 (1 − t )
                   1          4      1
                                       ⎛
                                dt = ∫ ⎜ t 4 ⋅
                                                            (
                                               t 4 − 4t 3 + 6t 2 − 4t + 1            ) ⎞ dt =   1
                                                                                                       (                       ) ⎞ dt
                                                                                                  ⎛ 4 t 4 − 4t 3 + 6t 2 − 4t + 1
               0    1+ t 2           0⎝
                                       ⎜                  t2 +1                       ⎟
                                                                                      ⎠
                                                                                       ⎟        ∫ ⎜t ⋅
                                                                                                0⎝
                                                                                                  ⎜              t2 +1
                                                                                                                                 ⎟ ⎟
                                                                                                                                   ⎠

หารยาวพหุนาม t 4 − 4t 3 + 6t 2 − 4t + 1 ดวย t 2 + 1 จะได
                          t 2 − 4t + 5
          t + 1 t − 4t + 6t 2 − 4t + 1
           2            4       3



                       t4            + t2
                            − 4t 3 + 5t 2 − 4t
                            − 4t 3              − 4t
                                      5t 2             +1
                                      5t    2
                                                       +5
                                                       −4

นั่นคือ
                  ⎛ 4⎛ 2
                   1
                                       4 ⎞⎞
                                                  1
                                                    ⎛ 6                 4t 4 ⎞
          I 2 = ∫ ⎜ t ⎜ t − 4t + 5 − 2
                  ⎜                      ⎟ ⎟ dt = ∫ ⎜
                                                    ⎜ t − 4t 5 + 5t 4 − 2    ⎟ dt
                0⎝    ⎝             t + 1⎠⎟⎠      0⎝                   t + 1⎟⎠

                   (                       )
               1                                       1
                                                          4t 4
           = ∫ t 6 − 4t 5 + 5t 4 dt − ∫                        dt
                                                       0 t +1
                                                          2
               0
                                                1
             ⎛1                ⎞          tan 4 θ
                                                            1
                                                  d (tan θ )
                    2
           = ⎜ t 7 − t 6 + t 5 ⎟ − 4∫                                                       { เปลี่ยนเปนตัวแปรเดิม t = tan θ }
             ⎝7                ⎠ t =0 0 tan θ + 1
                                            2
                    3
             ⎛1 2 ⎞
                                        1
           = ⎜ − + 1⎟ − 4∫ tan 4 θ dθ
             ⎝7 3 ⎠           0


                − 4(1 tan 3 θ − tan θ + θ )
             10                             tan −1 1
           =
             21     3                       θ = tan −1 0
1
               10    ⎛1                   ⎞
           =      − 4⎜ t 3 − t + arctan t ⎟
               21 ⎝ 3                     ⎠   t =0

               10 ⎛ 4                ⎞
           =     − ⎜ − 4 + 4 arctan 1⎟ − (4 arctan 0 )
               21 ⎝ 3                ⎠

                   22
จะไดวา   I2 =       −π      เชนเดียวกับสมการ (3.7)
                   7

และ พจนสดทาย
         ุ
                                                     1
                                              I 3 = ∫ t 4 (1 − t ) dt = 2 I 1 =
                                                                                   1
                    พิจารณา                                     4
                                                                                                      (4)
                                                     0
                                                                                  630

แทนคาสมการ (2) ถึง (4) ในสมการ (1) จะได
                                                       1   22       1
                                                         ≤    −π ≤
                                                     1260 7        630

                                                    1   22         1   22
                                                      −    ≤ −π ≤    −
                                                  1260 7          630 7

เนื่องจาก คาพาย ( π ) เปนคาคงที่ ซึ่งมีอยูเพียงคาเดียว
                                                  22   1      22   1
ดังนั้น                                              −   <π <    −
                                                  7 630       7 1260

หรือ สามารถประมาณไดวา                                  3.1412 < π < 3.1421

      ในบทความนี้ เราจะเห็นวาความรูทางแคลคูลัสเชิงปริพันธ นอกจากการประยุกตในดานเรขาคณิต
ฟสิกส หรือปญหาทางกายภาพอื่นๆ ที่เรามักพบไดบอยแลว ยังสามารถนํามาใชแกปญหาในคณิตศาสตร
บริสุทธิ์ ตัวอยางเชน การประมาณคาขอบเขตของ π ในบทความนี้ ซึ่งพบวาใหคาการประมาณมีความถูกตอง
ถึงทศนิยมตําแหนงที่สอง

หมายเหตุ บทความนี้ผูเขียนตั้งใจทีจะนําเอาคําวา “ ปริพันธ ” มาใชแทนคําเดิมคือ “ อินทิเกรต ” ที่มีใชกันอยู
                                  ่
กอนซึ่งเปนทับศัพทมาจากภาษาอังกฤษ คือ integrate และคําวา “ ตัวถูกปริพันธ ” ในความหมายเดิมคือ ตัวถูก
อินทิเกรต (integrand) โดยตองการใหเกิดความคุนเคย และมีการนําคําดังกลาวไปใชกันมากขึ้น

เอกสารอางอิง
       1. James Stewart, Single Variable Calculus: Early Transcendentals (6th edition), Thomson
       Brooks/Cole, USA, 2008.
ขอมูลผูเขียน : นายอิทธิเดช มูลมั่งมี นักศึกษาปริญญาโท ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
                 คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

ชื่อบัญชี นายอิทธิเดช มูลมั่งมี เลขที่บัญชี 029-0-06107-5 ประเภทออมทรัพย ธนาคารกรุงไทย
สาขา ถนนสุขสวัสดิ์ ที่อยู 53/463 หมูบานสามัคคี (นวมินทร 105) ถนนนวมินทร ตําบลคลองกุม
                                     
เขตบึงกุม กทม. 10240 เบอรโทรศัพท 08-6579-4040 หรือ 02-5108103

More Related Content

What's hot

เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมJiraprapa Suwannajak
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล1
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล1ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล1
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล1Chay Nyx
 
Mas p anet_chiangmai2551
Mas p anet_chiangmai2551Mas p anet_chiangmai2551
Mas p anet_chiangmai2551adunjanthima
 
9789740331131
97897403311319789740331131
9789740331131CUPress
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005CUPress
 
Expor&log1 (1)
Expor&log1 (1)Expor&log1 (1)
Expor&log1 (1)Chay Nyx
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์krurutsamee
 
การอินทีเกรต
การอินทีเกรตการอินทีเกรต
การอินทีเกรตANNRockART
 
(Big One) C Language - 10 เทคนิคอัลกอริทึมแบบ divide-and-conquer
(Big One) C Language - 10 เทคนิคอัลกอริทึมแบบ divide-and-conquer(Big One) C Language - 10 เทคนิคอัลกอริทึมแบบ divide-and-conquer
(Big One) C Language - 10 เทคนิคอัลกอริทึมแบบ divide-and-conquerKittinan Noimanee
 
(Big One) C Language - 14 วิธีการเชิงตัวเลขแบบbisection
(Big One) C Language - 14 วิธีการเชิงตัวเลขแบบbisection(Big One) C Language - 14 วิธีการเชิงตัวเลขแบบbisection
(Big One) C Language - 14 วิธีการเชิงตัวเลขแบบbisectionKittinan Noimanee
 

What's hot (15)

Mo 5
Mo 5Mo 5
Mo 5
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล1
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล1ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล1
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล1
 
Cal
CalCal
Cal
 
Mas p anet_chiangmai2551
Mas p anet_chiangmai2551Mas p anet_chiangmai2551
Mas p anet_chiangmai2551
 
9789740331131
97897403311319789740331131
9789740331131
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005
 
Limit
LimitLimit
Limit
 
Expor&log1 (1)
Expor&log1 (1)Expor&log1 (1)
Expor&log1 (1)
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 
การอินทีเกรต
การอินทีเกรตการอินทีเกรต
การอินทีเกรต
 
(Big One) C Language - 10 เทคนิคอัลกอริทึมแบบ divide-and-conquer
(Big One) C Language - 10 เทคนิคอัลกอริทึมแบบ divide-and-conquer(Big One) C Language - 10 เทคนิคอัลกอริทึมแบบ divide-and-conquer
(Big One) C Language - 10 เทคนิคอัลกอริทึมแบบ divide-and-conquer
 
(Big One) C Language - 14 วิธีการเชิงตัวเลขแบบbisection
(Big One) C Language - 14 วิธีการเชิงตัวเลขแบบbisection(Big One) C Language - 14 วิธีการเชิงตัวเลขแบบbisection
(Big One) C Language - 14 วิธีการเชิงตัวเลขแบบbisection
 
1ลิมิต2ไว้สอนจริง
1ลิมิต2ไว้สอนจริง1ลิมิต2ไว้สอนจริง
1ลิมิต2ไว้สอนจริง
 

More from อิทธิเดช มูลมั่งมี

Tricks ทางคณิตศาสตร์กับการแก้ปัญหาฟิสิกส์
Tricks ทางคณิตศาสตร์กับการแก้ปัญหาฟิสิกส์Tricks ทางคณิตศาสตร์กับการแก้ปัญหาฟิสิกส์
Tricks ทางคณิตศาสตร์กับการแก้ปัญหาฟิสิกส์อิทธิเดช มูลมั่งมี
 
เรขาคณิตของการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์
เรขาคณิตของการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์เรขาคณิตของการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์
เรขาคณิตของการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์อิทธิเดช มูลมั่งมี
 

More from อิทธิเดช มูลมั่งมี (20)

Peaking phenomenon
Peaking phenomenonPeaking phenomenon
Peaking phenomenon
 
Constructive nonlinear smc
Constructive nonlinear smcConstructive nonlinear smc
Constructive nonlinear smc
 
A contribution to the control of the non holonomic integrator including drift...
A contribution to the control of the non holonomic integrator including drift...A contribution to the control of the non holonomic integrator including drift...
A contribution to the control of the non holonomic integrator including drift...
 
วารสารคณิตศาสตร์ ฉบับพิเศษ
วารสารคณิตศาสตร์ ฉบับพิเศษวารสารคณิตศาสตร์ ฉบับพิเศษ
วารสารคณิตศาสตร์ ฉบับพิเศษ
 
Sliding Mode Control Stability (Jan 19, 2013)
Sliding Mode Control Stability (Jan 19, 2013)Sliding Mode Control Stability (Jan 19, 2013)
Sliding Mode Control Stability (Jan 19, 2013)
 
Stabilization of Inertia Wheel Pendulum using Multiple Sliding Surface Contro...
Stabilization of Inertia Wheel Pendulum using Multiple Sliding Surface Contro...Stabilization of Inertia Wheel Pendulum using Multiple Sliding Surface Contro...
Stabilization of Inertia Wheel Pendulum using Multiple Sliding Surface Contro...
 
In–Cylinder Air Estimation on Diesel Dual Fuel Engine Using Kalman Filter
In–Cylinder Air Estimation on Diesel Dual Fuel Engine Using Kalman FilterIn–Cylinder Air Estimation on Diesel Dual Fuel Engine Using Kalman Filter
In–Cylinder Air Estimation on Diesel Dual Fuel Engine Using Kalman Filter
 
Sliding Mode Control of Air-Path in Diesel Dual-Fuel Engine
Sliding Mode Control of Air-Path in Diesel Dual-Fuel EngineSliding Mode Control of Air-Path in Diesel Dual-Fuel Engine
Sliding Mode Control of Air-Path in Diesel Dual-Fuel Engine
 
Tricks ทางคณิตศาสตร์กับการแก้ปัญหาฟิสิกส์
Tricks ทางคณิตศาสตร์กับการแก้ปัญหาฟิสิกส์Tricks ทางคณิตศาสตร์กับการแก้ปัญหาฟิสิกส์
Tricks ทางคณิตศาสตร์กับการแก้ปัญหาฟิสิกส์
 
Sliding mode control (revised march, 2012)
Sliding mode control (revised march, 2012)Sliding mode control (revised march, 2012)
Sliding mode control (revised march, 2012)
 
Robust and quadratic stabilization of tora system via dsc technique
Robust and quadratic stabilization of tora system via dsc techniqueRobust and quadratic stabilization of tora system via dsc technique
Robust and quadratic stabilization of tora system via dsc technique
 
Lyapunov stability 1
Lyapunov  stability 1Lyapunov  stability 1
Lyapunov stability 1
 
Lyapunov stability 2
Lyapunov stability 2Lyapunov stability 2
Lyapunov stability 2
 
Sliding mode control (revised march, 2012)
Sliding mode control (revised march, 2012)Sliding mode control (revised march, 2012)
Sliding mode control (revised march, 2012)
 
Calculus of variation ตอนที่ 2
Calculus of variation ตอนที่ 2Calculus of variation ตอนที่ 2
Calculus of variation ตอนที่ 2
 
Calculus of variation ตอนที่ 3 (จบ)
Calculus of variation ตอนที่ 3 (จบ)Calculus of variation ตอนที่ 3 (จบ)
Calculus of variation ตอนที่ 3 (จบ)
 
เรขาคณิตของการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์
เรขาคณิตของการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์เรขาคณิตของการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์
เรขาคณิตของการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์
 
Comparison Principle
Comparison PrincipleComparison Principle
Comparison Principle
 
สมการการแปลงพิกัด
สมการการแปลงพิกัดสมการการแปลงพิกัด
สมการการแปลงพิกัด
 
เรขาคณิตของการสะท้อนของแสง
เรขาคณิตของการสะท้อนของแสงเรขาคณิตของการสะท้อนของแสง
เรขาคณิตของการสะท้อนของแสง
 

การประมาณค่าพาย

  • 1. 22 1 22 1 − <π < − 7 630 7 1260 เปนที่ทราบกันดีวาผลลัพธที่ไดจากการหาปริพันธไมจํากัดเขต (infinite integral) จะอยูในรูปของ ฟงกชั่นที่ขึ้นอยูกับคาคงที่ในการหาปริพันธ (constant of integration) ซึ่งแตกตางกับผลลัพธของปริพันธจํากัด เขต (finite integral) ที่มีคาออกมาเปนจํานวนจริง นอกจากนั้น การหาคาปริพันธจํากัดเขตของบางฟงกชั่น ได ใหผลลัพธที่นาสนใจ ในลักษณะที่เราสามารถนําผลลัพธนั้นมาประยุกตใชได บทความนี้ผูเขียนขอนําเสนอวิธีการประมาณคาขอบเขตของ π โดยอาศัยความรูเบื้องตนทางแคลคูลัส เชิงปริพันธ (integral calculus) ซึ่งตัวถูกปริพันธในที่นี้เปนฟงกชั่นตรรกยะ พิจารณาฟงกชั่น f , g และ h ซึ่งกําหนดโดย t 4 (1 − t ) 4 f (t ) = 1+ t2 t 4 (1 − t ) 4 g (t ) = 2 h (t ) = t 4 (1 − t ) 4 ฟงกชั่นดังกลาวเปนฟงกชั่นตอเนื่องบนเซตของจํานวนจริง ในการเปรียบเทียบฟงกชั่นนั้น เราสามารถ ทําไดโดยพิจารณาที่ตัวสวนของฟงกชั่นตรรกยะ เนื่องจาก 1 ≤ 1 + t 2 ≤ 2 ∀t ∈ [0,1] ดังนั้น ฟงกชั่น ดังกลาวมีความสัมพันธโดย t 4 (1 − t ) t 4 (1 − t ) 4 4 ≤ ≤ t 4 (1 − t ) ∀t ∈ [0,1] 4 2 1+ t2 หรือ g (t ) ≤ f (t ) ≤ h(t ) ∀t ∈ [0,1] เมื่อพิจารณาคาปริพันธจํากัดเขต บนโดเมน t ∈ [0,1] ของอสมการขางตน เราจําเปนตองอาศัยสมบัติการ เปรียบเทียบ (comparison property) ของฟงกชั่น ดังทฤษฎีบทตอไปนี้ (โดยไมขอพิสูจน) ทฤษฎีบท 1 ถา f และ g เปนฟงกชั่นที่สามารถหาปริพันธไดบนชวง [a, b] และ f (x ) ≤ g (x ) สําหรับทุก คา x ∈ [a, b] แลว ∫a f (x ) dx ≤ ∫a g (x ) dx □ b b
  • 2. จะไดวา อสมการขางตนสามารถเขียนไดในรูป t 4 (1 − t ) t 4 (1 − t ) 1 4 1 4 1 ∫ 2 dt ≤ ∫ dt ≤ ∫ t 4 (1 − t ) dt (1) 4 0 0 1+ t 2 0 พิจารณาคาปริพันธจํากัดเขต ของแตละพจนในอสมการ (1) ดังตอไปนี้ t 4 (1 − t ) 1 4 พจนแรก กําหนดให I1 = ∫ dt 0 2 ( ) 1 1 = ∫ t 4 1 − 2t + t 2 dt 2 20 ( ) 1 1 4 4 = ∫ t t − 4t + 6t − 4t + 1 dt 3 2 20 ( ) 1 1 8 2∫ = t − 4t 7 + 6t 6 − 4t 5 + t 4 dt 0 1 1⎛1 1 6 2 4 ⎞ = ⎜ t9 − t8 + t7 − t6 + t5 ⎟ 2⎝9 2 7 3 5 ⎠ t =0 1⎛1 1 6 2 4⎞ = ⎜ − + − + ⎟ 2⎝9 2 7 3 5⎠ t 4 (1 − t ) 1 4 1 ดังนั้น I1 = ∫ dt = (2) 0 2 1260 t 4 (1 − t ) 1 4 พจนกลาง พิจารณา I2 = ∫ dt การหาปริพันธนี้สามารถทําไดอยางนอย 2 วิธีคือ 0 1+ t2 วิธีที่ 1 : โดยเทคนิคการหาปริพันธ ดวยการแทนคาฟงกชั่นตรีโกณมิติ และใชสูตรลดทอน (reduction formula) เริ่มจากสมมติให t = tan θ ⇒ dt = d (tan θ ) = sec 2 θ dθ tan 4 θ (1 − tan θ ) 1 4 แทนคา I2 = ∫ sec 2 θ dθ 0 1 + tan θ2 1 = ∫ tan 4 θ (1 − tan θ ) dθ {จากเอกลักษณ 1 + tan 2 θ = sec 2 θ } 4 0 ( ) 1 = ∫ tan 4 θ 1 − 2 tan θ + tan 2 θ dθ 2 0 ( ) 1 = ∫ tan 4 θ 1 − 4 tan θ + 6 tan 2 θ − 4 tan 3 θ + tan 4 θ dθ 2 0 ( ) 1 = ∫ tan 8 θ − 4 tan 7 θ + 6 tan 6 θ − 4 tan 5 θ + tan 4 θ dθ 0
  • 3. 1 1 1 1 1 = ∫ tan 8 θ dθ − 4∫ tan 7 θ dθ + 6∫ tan 6 θ dθ − 4∫ tan 5 θ dθ + ∫ tan 4 θ dθ 0 0 0 0 0 = I 21 − 4 I 22 + 6 I 23 − 4 I 24 + I 25 (3) การหาคาปริพันธของฟงกชั่น tan k θ เมื่อ k เปนจํานวนเต็มบวก และ k > 1 โดยอาศัยสูตรลดทอน (โดยไมขอพิสูจน และหากผูอานตองการทราบขั้นตอนการพิสูจน สามารถทําโดยอาศัยเทคนิคการหาปริพันธที ละสวน (integration by parts) หรือศึกษาจากเอกสารอางอิงทายบทความ) tan k −1 θ จาก ∫ tan θ dθ = k − ∫ tan k − 2 θ dθ + c เมื่อ c เปนคาคงที่ของการหาปริพันธ และ k ≠ 1 k −1 จากสมการ (3) โดยพิจารณาปริพันธไมจํากัดเขต ดังตอไปนี้ ⎛ ⎛ ⎞⎞ I 21 = ∫ tan 8 θ dθ = 1 tan 7 θ − ⎜ 1 tan 5 θ − ⎜ 1 tan 3 θ − ∫ tan 2 θ dθ ⎟ ⎟ 7 ⎜5 ⎜3 ⎟⎟ ⎝ ⎝ ⎠⎠ ⎛ ⎛ ⎞⎞ 7 ⎜5 ⎜3 ( = 1 tan 7 θ − ⎜ 1 tan 5 θ − ⎜ 1 tan 3 θ − ∫ sec 2 θ − 1 dθ ⎟ ⎟ ⎟⎟ ) ⎝ ⎝ ⎠⎠ 7 5 3 ( = 1 tan 7 θ − 1 tan 5 θ + 1 tan 3 θ − ∫ sec 2 θ − 1 dθ ) = 1 tan 7 θ − 1 tan 5 θ + 1 tan 3 θ − tan θ + θ + c1 7 5 3 (3.1) ⎛ ⎛ ⎞⎞ I 22 = ∫ tan 7 θ dθ = 1 tan 6 θ − ⎜ 1 tan 4 θ − ⎜ 1 tan 2 θ − ∫ tan θ dθ ⎟ ⎟ 6 ⎜4 ⎜2 ⎟⎟ ⎝ ⎝ ⎠⎠ = 1 tan 6 θ − 1 tan 4 θ + 1 tan 2 θ − ln secθ + c 2 6 4 2 (3.2) ⎛ ⎞ I 23 = ∫ tan 6 θ dθ = 1 tan 5 θ − ⎜ 1 tan 3 θ − ∫ tan 2 θ dθ ⎟ 5 ⎜3 ⎟ ⎝ ⎠ = 1 tan 5 θ − 1 tan 3 θ + tan θ − θ + c3 5 3 (3.3) ⎛ ⎞ I 24 = ∫ tan 5 θ dθ = 1 tan 4 θ − ⎜ 1 tan 2 θ − ∫ tan θ dθ ⎟ 4 ⎜ 2 ⎟ ⎝ ⎠ = 1 tan 4 θ − 1 tan 2 θ + ln secθ + c 4 4 2 (3.4) I 25 = ∫ tan 4 θ dθ = 1 tan 3 θ − ∫ tan 2 θ dθ 3 = 1 tan 3 θ − tan θ + θ + c5 3 (3.5) แทนคาสมการ (3.1) ถึง (3.5) ในสมการ (3) แลวจัดรูปจะได I 2 = 1 tan 7 θ − 2 tan 6 θ + tan 5 θ − 4 tan 3 θ + 4 tan θ − 4θ + c 7 3 3 เมื่อ c = c1 + c 2 + c3 + c 4 + c5 (3.6)
  • 4. โดยแทนคาตัวแปรเดิม t = tan θ ⇒ θ = arctan t และพิจารณาปริพันธจํากัดเขตที่มีขอบเขต t = 0 ถึง t = 1 จากสมการ (3.6) จะได 1 ⎛1 2 4 ⎞ I 2 = ⎜ t 7 − t 6 + t 5 − t 3 + 4t − 4 arctan t ⎟ ⎝7 3 3 ⎠ t =0 ⎛1 2 ⎞ = ⎜ − + 1 − + 4 − 4 arctan 1⎟ − (4 arctan 0 ) = 4 22 −π ⎝7 3 3 ⎠ 7 ดังนั้น t 4 (1 − t ) 1 4 22 I2 = ∫ dt = −π (3.7) 0 1+ t 2 7 วิธีที่ 2 : โดยการกระจายฟงกชั่นตรรกยะของตัวถูกปริพันธ (integrand) I2 = ∫ t 4 (1 − t ) 1 4 1 ⎛ dt = ∫ ⎜ t 4 ⋅ ( t 4 − 4t 3 + 6t 2 − 4t + 1 ) ⎞ dt = 1 ( ) ⎞ dt ⎛ 4 t 4 − 4t 3 + 6t 2 − 4t + 1 0 1+ t 2 0⎝ ⎜ t2 +1 ⎟ ⎠ ⎟ ∫ ⎜t ⋅ 0⎝ ⎜ t2 +1 ⎟ ⎟ ⎠ หารยาวพหุนาม t 4 − 4t 3 + 6t 2 − 4t + 1 ดวย t 2 + 1 จะได t 2 − 4t + 5 t + 1 t − 4t + 6t 2 − 4t + 1 2 4 3 t4 + t2 − 4t 3 + 5t 2 − 4t − 4t 3 − 4t 5t 2 +1 5t 2 +5 −4 นั่นคือ ⎛ 4⎛ 2 1 4 ⎞⎞ 1 ⎛ 6 4t 4 ⎞ I 2 = ∫ ⎜ t ⎜ t − 4t + 5 − 2 ⎜ ⎟ ⎟ dt = ∫ ⎜ ⎜ t − 4t 5 + 5t 4 − 2 ⎟ dt 0⎝ ⎝ t + 1⎠⎟⎠ 0⎝ t + 1⎟⎠ ( ) 1 1 4t 4 = ∫ t 6 − 4t 5 + 5t 4 dt − ∫ dt 0 t +1 2 0 1 ⎛1 ⎞ tan 4 θ 1 d (tan θ ) 2 = ⎜ t 7 − t 6 + t 5 ⎟ − 4∫ { เปลี่ยนเปนตัวแปรเดิม t = tan θ } ⎝7 ⎠ t =0 0 tan θ + 1 2 3 ⎛1 2 ⎞ 1 = ⎜ − + 1⎟ − 4∫ tan 4 θ dθ ⎝7 3 ⎠ 0 − 4(1 tan 3 θ − tan θ + θ ) 10 tan −1 1 = 21 3 θ = tan −1 0
  • 5. 1 10 ⎛1 ⎞ = − 4⎜ t 3 − t + arctan t ⎟ 21 ⎝ 3 ⎠ t =0 10 ⎛ 4 ⎞ = − ⎜ − 4 + 4 arctan 1⎟ − (4 arctan 0 ) 21 ⎝ 3 ⎠ 22 จะไดวา I2 = −π เชนเดียวกับสมการ (3.7) 7 และ พจนสดทาย ุ 1 I 3 = ∫ t 4 (1 − t ) dt = 2 I 1 = 1 พิจารณา 4 (4) 0 630 แทนคาสมการ (2) ถึง (4) ในสมการ (1) จะได 1 22 1 ≤ −π ≤ 1260 7 630 1 22 1 22 − ≤ −π ≤ − 1260 7 630 7 เนื่องจาก คาพาย ( π ) เปนคาคงที่ ซึ่งมีอยูเพียงคาเดียว 22 1 22 1 ดังนั้น − <π < − 7 630 7 1260 หรือ สามารถประมาณไดวา 3.1412 < π < 3.1421 ในบทความนี้ เราจะเห็นวาความรูทางแคลคูลัสเชิงปริพันธ นอกจากการประยุกตในดานเรขาคณิต ฟสิกส หรือปญหาทางกายภาพอื่นๆ ที่เรามักพบไดบอยแลว ยังสามารถนํามาใชแกปญหาในคณิตศาสตร บริสุทธิ์ ตัวอยางเชน การประมาณคาขอบเขตของ π ในบทความนี้ ซึ่งพบวาใหคาการประมาณมีความถูกตอง ถึงทศนิยมตําแหนงที่สอง หมายเหตุ บทความนี้ผูเขียนตั้งใจทีจะนําเอาคําวา “ ปริพันธ ” มาใชแทนคําเดิมคือ “ อินทิเกรต ” ที่มีใชกันอยู ่ กอนซึ่งเปนทับศัพทมาจากภาษาอังกฤษ คือ integrate และคําวา “ ตัวถูกปริพันธ ” ในความหมายเดิมคือ ตัวถูก อินทิเกรต (integrand) โดยตองการใหเกิดความคุนเคย และมีการนําคําดังกลาวไปใชกันมากขึ้น เอกสารอางอิง 1. James Stewart, Single Variable Calculus: Early Transcendentals (6th edition), Thomson Brooks/Cole, USA, 2008.
  • 6. ขอมูลผูเขียน : นายอิทธิเดช มูลมั่งมี นักศึกษาปริญญาโท ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ชื่อบัญชี นายอิทธิเดช มูลมั่งมี เลขที่บัญชี 029-0-06107-5 ประเภทออมทรัพย ธนาคารกรุงไทย สาขา ถนนสุขสวัสดิ์ ที่อยู 53/463 หมูบานสามัคคี (นวมินทร 105) ถนนนวมินทร ตําบลคลองกุม  เขตบึงกุม กทม. 10240 เบอรโทรศัพท 08-6579-4040 หรือ 02-5108103