SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
การดูแลรักษาเครืองดนตรีสากล
เครืองดนตรีสากลมีหลายประเภทเราควรดูแลรักษาให้ถูกต้องตามประเภท
ของเครืองดนตรีซึงจะทําให้มีอายุการใช้งานยาวนาน การดูแลรักษามีวิธีการง่าย ๆ ดังนี
1. เครืองสาย
ก่อนหรือหลังการเล่นให้ใช้ผ้าแห้งลูบเบาๆ
บนสายและตัวเครืองเพือขจัดฝุ่นคราบไคลต่าง ๆ
ถ้าเป็นเครืองสายทีใช้คันชักสี เมือเล่นเสร็จแล้ว
ต้องปรับคันชักไม่ให้สายตึงเกินไปก่อนทีจะนําไป
เก็บในกล่องเพราะหากปล่อยให้สายตึงเป็นเวลานาน
อาจชํารุดได้
วิธีการใช้และดูแลรักษาเครืองดนตรีประเภทเครืองสาย (String Instruments)
1. เครืองสายประเภทสี ได้แก่ ไวโอลิน(Violin) วิโอลา (Viola) วิโอลอนเชลโล
(Violoncello) และดับเบิลเบส(Double Bass) เป็นเครืองสายทีมีวิธีการเกิดเสียงโดยใช้
คันชักสีลงบนสายของเครืองดนตรี ในขณะบรรเลงควรคํานึงถึงการใช้คันชักอยู่เสมอ
เพราะวัสดุทีใช้สีกับสายเรียกว่า หางม้า ซึงมีความบอบบาง หากสีคันชักรุนแรงมาก
เกินไปอาจทําให้หางม้าขาดได้

6
2. ก่อนบรรเลงเครืองดนตรีทีใช้หางม้า ควรมีการถูยางสนก่อน เพือเพิมความ
ยืดให้แก่สาย
3. การถือไม่ควรแกว่งไปมา เพราะอาจกระแทกกับสิงของทําให้เกิดความ
เสียหายได้
4. ไม่ควรนําคันชักของเครืองสีมาใช้ในลักษณะอืน ๆ เช่น แกว่งเล่นไปมา
หรือนําไปเคาะ ตีทีพืนหรือนําไปเล่นหยอกล้อกัน เพราะอาจทําให้เกิดรอยร้าว หักและ
เกิดความเสียหายได้
5. เมือบรรเลงเสร็จ ควรนําผ้าทีมีความนุ่มเช็ดตัวเครือง เพือทําความสะอาด
คราบยางสนทีติดอยู่บริเวณตัวเครืองและคันชัก
6. การเก็บเครืองดนตรีประเภทสีนัน ควรมีกล่องใส่ทีพอเหมาะกับเครือง
ดนตรีนัน ๆ และไม่ควรแยกเก็บระหว่างคันชักกับตัวเครืองดนตรีเพราะอาจเกิดการสูญ
หายได้
7. กีตาร์ (Guitar) เป็นเครืองดนตรีประเภทเครืองสาย ทีมีลักษณะการดีด
เพือให้เกิดเสียง เมือบรรเลงเสร็จควรมีการเช็ดสายด้วยผ้านุ่มทุกครัง เนืองจากคราบเหงือ
จากนิวอาจสะสมและกัดสายกีตาร์ได้
8. การวางกีตาร์ควรวางควําด้านหน้าลงกับพืน เพือป้องกันลูกบิดทีใช้ปรับสาย
กระทบ-กระเทือนกับพืนทําให้สายคลายและเสียงเพียนได้
9. ควรเก็บกีตาร์ไว้ในกล่องทีมีความเหมาะสมกับเครืองดนตรีเพือป้องกันการ
กระทบกระเทือนจากสิงต่างๆ
10. เครืองดนตรีประเภทเครืองสายส่วนใหญ่นิยมสร้างจากวัสดุธรรมชาติ เช่น
ไม้ดังนันผิวของเครืองดนตรีมีความบอบบาง ในการวางเครืองดนตรี ควรวางด้วย
นําหนักมือทีเบา เพือป้องกันการกระแทกและรอยขีดข่วนไม่ควรวางพิงฝาผนังหรือในที
ทีอาจทําให้เครืองดนตรีเกิดการชํารุดเสียหาย
7
2. เครืองเป่ าลมไม้
การดูแลรักษาเครืองเป่าลมไม้ให้ใช้ผ้านุ่ม
เช็ดตัวเครือง ก่อนและหลังการเป่าส่วนเครืองเป่าที
เป็นโลหะให้ใช้ผ้านุ่มแตะนํามันสําหรับทําความ
สะอาดเครืองดนตรี แล้วลูบไปตามกระเดืองกลไก
และตัวเคลือนให้ทัวเพือทําให้กระเดืองกลไกเกิด
ความคล่องตัวในการใช้งานและช่วยไม่ให้เกิดสนิม
วิธีการใช้และดูแลรักษาเครืองดนตรีประเภทเครืองลมไม้ (Wood wind Instruments)
1. เครืองลมไม้ทีมีลิน ได้แก่ คลาริเน็ต(Clarinet) โอโบ (Oboe) และบาสซูน
(Bassoon) เป็นเครืองดนตรีสร้างจากไม้ในการเก็บรักษาควรไม่ให้เครืองดนตรีถูกนํา
เพราะอาจทําให้เกิดความเสียหายของตัวเครืองดนตรีและระบบเสียง
2. โอโบและบาสซูน เป็นเครืองดนตรีทีมีลินซึงทําด้วยไม้เหลาทีมีความบาง
มาก เมือบรรเลงเสร็จควรมีการดูแลรักษาส่วนนีเป็นพิเศษโดยการทําความสะอาดลิน
ด้วยนํายาล้างเฉพาะ จากนันนําลินเก็บใส่กล่องเฉพาะหรือกล่องทีมิดชิด
3. เครืองเป่าลมไม้ทีไม่มีลิน ได้แก่ ฟลูต(Flute) และปิกโคโล (Piccolo)
ในการดูแลรักษา ควรมีการดูแลเป็นพิเศษในการล้างตัวฟลูต คือ ใช้นํายาล้างเฉพาะ
เครืองและระมัดระวังในการล้างตัวเครือง อย่าให้นํายาโดนบริเวณนวมเพราะจะทําให้
นวมเกิดการพองหรือบิดเบียวได้
4. ควรใช้ผ้าแห้งเช็ดทุกครังหลังบรรเลงเสร็จ เนืองจากเหงือทีมือจะทําให้เกิด
ความชืนและอาจเกิดสนิมได้
5. เมือบรรเลงเสร็จหรือวางเครืองดนตรีระหว่างพักการบรรเลงควรเก็บเครือง
ดนตรีประเภทเครืองเป่าลมไม้ในกล่องเฉพาะของเครืองดนตรีนันๆ เพือป้องกัน
ไม่ให้เกิดการกระทบกระเทือน
8
3. เครืองเป่ าลมทองเหลือง
ใช้ผ้านุ่มเช็ดตัวเครืองให้
สะอาดก่อนและหลังการใช้เมือใช้เสร็จ
แล้วให้กดกระเดืองสําหรับไล่นําลาย
แล้วเป่าลมแรง ๆ เข้าไปตรงปากเป่าเพือ
ไล่หยดนําลายทีค้างอยู่ในท่อเสร็จแล้ว
ถอดปากเป่าออกมาทําความสะอาดโดยใช้ผ้าเช็ดและใช้เศษผ้าแตะครีมขัดโลหะลูบเก็บ
ใส่กล่องให้เรียบร้อย
วิธีการใช้และดูแลรักษาเครืองดนตรีประเภทเครืองเป่ าลมทองเหลือง(BrassInstruments)
1. เมือบรรเลงเครืองเป่าลมทองเหลือง ได้แก่ ทรัมเป็ต(Trumpet) ทรอมโบน
(Trombone) ทูบา (Tuba) และเฟรนช์ฮอร์น (French Horn) ควรมีการล้างโดยล้างด้วย
นํายาเฉพาะเครืองแล้วเช็ดด้วยผ้าแห้งทุกครัง เพือเป็นการซับนําลายและทําความสะอาด
ไม่ให้เกิดเชือโรค
2. การวางเครืองดนตรีควรมีขาตังหรือทีวางโดยเฉพาะ เพือป้องกันการ
กระทบกระเทือนของลําโพงและตัวเครืองดนตรี ยกเว้นทูบา (Tuba) เป็นเครืองดนตรีทีมี
ขนาดใหญ่ ควรใช้วิธีวางราบกับพืน ไม่ควรพิงฝาผนังเพราะอาจล้มจนเกิดความเสียหาย
ต่อตัวเครืองและทําให้เสียงของทูบาเพียนได้
4. เครืองดนตรีประเภทมีลิมนิว
ใช้ผ้าสักหลาดหรือผ้าแห้ง เช็ด
ถูทีตัวเครืองและบริเวณลิมนิวให้สะอาด
ปิดฝาครอบแล้วใช้ผ้าคลุมให้เรียบร้อย
9
วิธีการใช้และดูแลรักษาเครืองดนตรีประเภทคีย์บอร์ด (Keyboard Instruments)
1. ขณะบรรเลง เปียโน (Piano) หรืออิเล็กโทน (Electone) ซึงต้องใช้นิวในการ
กด ควรกดด้วยกําลังทีพอดีไม่รุนแรงจนเกินไป เพือป้องกันความเสียหายทีจะเกิดต่อลิม
นิว
2. เมือบรรเลงเสร็จ ควรปิดฝาลิมนิว หรือเก็บใส่กล่องให้เรียบร้อยเพือ
ป้องกันการกระทบกระเทือนจากสิงของ จนลิมนิวหรือตัวคีย์บอร์ดเสียหายได้
3. ควรมีผ้าสําหรับเช็ดเครืองดนตรีทุกครังหลังบรรเลงเสร็จ
4. ควรมีผ้าคลุมเครืองเพือป้องกันฝุ่นละออง
5. ไม่ควรนําวัสดุหรือภาชนะทีมีนําบรรจุอยู่
วางไว้บนตัวเครืองดนตรีเพราะ อาจเกิดการหก
หรือควํา ทําให้เกิดความเสียหายให้แก่ตัวเครืองได้
5. เครืองดนตรีประเภทเครืองตี
ใช้ผ้านุ่มเช็ดตัวเครืองและส่วนทีใช้ตีให้
สะอาด ก่อนและหลังการเล่นทุกครังและเก็บเครือง
ดนตรีใส่กล่องหรือใช้ผ้าคลุมทุกครังทีเล่นเสร็จแล้ว
วิธีการใช้และดูแลรักษาเครืองดนตรีประเภทเครืองตี (Percussion Instruments)
เครืองตีทีมีระดับเสียง
1. เครืองดนตรีประเภทตีทีมีระดับเสียง เช่น เบลล์(Bell) ไซโลโฟน
(xylophone) เมือบรรเลงเสร็จทุกครัง ควรใช้ผ้าทีนุ่มเช็ดทําความสะอาด เพือป้องกันฝุ่น
ละอองและคราบเหงือจากรอยนิวมือ
2. เมือบรรเลงกลองทิมปานี (Timpani) เสร็จควรปรับระดับเสียงให้ลดลง
เพราะการให้หน้ากลองตึงตลอดเวลา อาจทําให้หน้ากลองขาดความยืดหยุ่นและ
เสือมสภาพเร็วขึน
10
3. ควรมีผ้านุ่มสําหรับเช็ดเครืองดนตรีแต่ละชนิดทุกครังหลังบรรเลงเสร็จ
4. ควรมีถุงใส่เฉพาะหรือผ้าสําหรับคลุมเครืองดนตรีแต่ละชนิดเพือป้องกัน
ฝุ่นละออง
5. ไม่ควรนําสิงของวางบนเครืองดนตรี เพราะอาจทําให้เกิดความชํารุด
เสียหายได้
เครืองตีทีไม่มีระดับเสียง
1. กลองใหญ่(Bass drum) และกลองแต๊ก (Snare drum) เป็นเครืองดนตรี
ทีขึงหน้ากลองด้วยพลาสติกพิเศษ ขณะบรรเลงควรตีด้วยความระมัดระวัง และใช้ไม้ตี
เฉพาะของแต่ละเครืองเท่านัน เพือป้องกันหน้ากลองแตกหรือเสียหายจากการตี
2. รํามะนา (Tambourine) เป็นเครืองดนตรีทีขึงหน้ากลองด้วยหนังสัตว์การ
ดูแลรักษาควรระมัดระวังอย่าให้หน้ากลองโดนนําเพราะจะทําให้หน้ากลองหย่อนหรือ
ชืนและขึนราได้
3. ฉาบ (Cymbals) เมือบรรเลงเสร็จควรเก็บใส่ถุงให้เรียบร้อยเพราะเป็น
เครืองดนตรีมีความบางและคม อาจทําให้เกิดอันตรายแก่ผู้บรรเลงได้
4. สามเหลียมและลูกแซก หลังจากบรรเลงเสร็จควรใช้ผ้านุ่มเช็ดทําความ
สะอาด
5. ควรมีผ้าคลุมกล่องหรือถุงใส่เครืองดนตรีแต่ละอย่างโดยเฉพาะเพือป้องกัน
ฝุ่นละออง
6. การวางเครืองตี ไม่ควรนํามาวางซ้อนกัน เพราะนําหนักของสิงของทีวาง
ทับหน้ากลอง อาจทําให้หน้ากลองหย่อนหรือเกิดความเสียหายได้
7. ควรมีถุงหรือกล่องสําหรับใส่ไม้ตีของแต่ละเครืองดนตรี
11

More Related Content

More from pinglada

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdfpinglada
 
ThaiMusic8.doc
ThaiMusic8.docThaiMusic8.doc
ThaiMusic8.docpinglada
 
ThaiMusic5.doc
ThaiMusic5.docThaiMusic5.doc
ThaiMusic5.docpinglada
 
ThaiMusic10.doc
ThaiMusic10.docThaiMusic10.doc
ThaiMusic10.docpinglada
 
ThaiMusic11.doc
ThaiMusic11.docThaiMusic11.doc
ThaiMusic11.docpinglada
 
ThaiMusic6.doc
ThaiMusic6.docThaiMusic6.doc
ThaiMusic6.docpinglada
 
ThaiMusic13.doc
ThaiMusic13.docThaiMusic13.doc
ThaiMusic13.docpinglada
 
ThaiMusic1.doc
ThaiMusic1.docThaiMusic1.doc
ThaiMusic1.docpinglada
 
ThaiMusic9.doc
ThaiMusic9.docThaiMusic9.doc
ThaiMusic9.docpinglada
 
ThaiMusic7.doc
ThaiMusic7.docThaiMusic7.doc
ThaiMusic7.docpinglada
 
ThaiMusic2.doc
ThaiMusic2.docThaiMusic2.doc
ThaiMusic2.docpinglada
 
ThaiMusic14.doc
ThaiMusic14.docThaiMusic14.doc
ThaiMusic14.docpinglada
 
ThaiMusic3.doc
ThaiMusic3.docThaiMusic3.doc
ThaiMusic3.docpinglada
 

More from pinglada (20)

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
 
ThaiMusic8.doc
ThaiMusic8.docThaiMusic8.doc
ThaiMusic8.doc
 
ThaiMusic5.doc
ThaiMusic5.docThaiMusic5.doc
ThaiMusic5.doc
 
ThaiMusic10.doc
ThaiMusic10.docThaiMusic10.doc
ThaiMusic10.doc
 
ThaiMusic11.doc
ThaiMusic11.docThaiMusic11.doc
ThaiMusic11.doc
 
ThaiMusic6.doc
ThaiMusic6.docThaiMusic6.doc
ThaiMusic6.doc
 
ThaiMusic13.doc
ThaiMusic13.docThaiMusic13.doc
ThaiMusic13.doc
 
ThaiMusic1.doc
ThaiMusic1.docThaiMusic1.doc
ThaiMusic1.doc
 
ThaiMusic9.doc
ThaiMusic9.docThaiMusic9.doc
ThaiMusic9.doc
 
ThaiMusic7.doc
ThaiMusic7.docThaiMusic7.doc
ThaiMusic7.doc
 
ThaiMusic2.doc
ThaiMusic2.docThaiMusic2.doc
ThaiMusic2.doc
 
ThaiMusic14.doc
ThaiMusic14.docThaiMusic14.doc
ThaiMusic14.doc
 
ThaiMusic3.doc
ThaiMusic3.docThaiMusic3.doc
ThaiMusic3.doc
 

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdf

  • 1. การดูแลรักษาเครืองดนตรีสากล เครืองดนตรีสากลมีหลายประเภทเราควรดูแลรักษาให้ถูกต้องตามประเภท ของเครืองดนตรีซึงจะทําให้มีอายุการใช้งานยาวนาน การดูแลรักษามีวิธีการง่าย ๆ ดังนี 1. เครืองสาย ก่อนหรือหลังการเล่นให้ใช้ผ้าแห้งลูบเบาๆ บนสายและตัวเครืองเพือขจัดฝุ่นคราบไคลต่าง ๆ ถ้าเป็นเครืองสายทีใช้คันชักสี เมือเล่นเสร็จแล้ว ต้องปรับคันชักไม่ให้สายตึงเกินไปก่อนทีจะนําไป เก็บในกล่องเพราะหากปล่อยให้สายตึงเป็นเวลานาน อาจชํารุดได้ วิธีการใช้และดูแลรักษาเครืองดนตรีประเภทเครืองสาย (String Instruments) 1. เครืองสายประเภทสี ได้แก่ ไวโอลิน(Violin) วิโอลา (Viola) วิโอลอนเชลโล (Violoncello) และดับเบิลเบส(Double Bass) เป็นเครืองสายทีมีวิธีการเกิดเสียงโดยใช้ คันชักสีลงบนสายของเครืองดนตรี ในขณะบรรเลงควรคํานึงถึงการใช้คันชักอยู่เสมอ เพราะวัสดุทีใช้สีกับสายเรียกว่า หางม้า ซึงมีความบอบบาง หากสีคันชักรุนแรงมาก เกินไปอาจทําให้หางม้าขาดได้  6
  • 2. 2. ก่อนบรรเลงเครืองดนตรีทีใช้หางม้า ควรมีการถูยางสนก่อน เพือเพิมความ ยืดให้แก่สาย 3. การถือไม่ควรแกว่งไปมา เพราะอาจกระแทกกับสิงของทําให้เกิดความ เสียหายได้ 4. ไม่ควรนําคันชักของเครืองสีมาใช้ในลักษณะอืน ๆ เช่น แกว่งเล่นไปมา หรือนําไปเคาะ ตีทีพืนหรือนําไปเล่นหยอกล้อกัน เพราะอาจทําให้เกิดรอยร้าว หักและ เกิดความเสียหายได้ 5. เมือบรรเลงเสร็จ ควรนําผ้าทีมีความนุ่มเช็ดตัวเครือง เพือทําความสะอาด คราบยางสนทีติดอยู่บริเวณตัวเครืองและคันชัก 6. การเก็บเครืองดนตรีประเภทสีนัน ควรมีกล่องใส่ทีพอเหมาะกับเครือง ดนตรีนัน ๆ และไม่ควรแยกเก็บระหว่างคันชักกับตัวเครืองดนตรีเพราะอาจเกิดการสูญ หายได้ 7. กีตาร์ (Guitar) เป็นเครืองดนตรีประเภทเครืองสาย ทีมีลักษณะการดีด เพือให้เกิดเสียง เมือบรรเลงเสร็จควรมีการเช็ดสายด้วยผ้านุ่มทุกครัง เนืองจากคราบเหงือ จากนิวอาจสะสมและกัดสายกีตาร์ได้ 8. การวางกีตาร์ควรวางควําด้านหน้าลงกับพืน เพือป้องกันลูกบิดทีใช้ปรับสาย กระทบ-กระเทือนกับพืนทําให้สายคลายและเสียงเพียนได้ 9. ควรเก็บกีตาร์ไว้ในกล่องทีมีความเหมาะสมกับเครืองดนตรีเพือป้องกันการ กระทบกระเทือนจากสิงต่างๆ 10. เครืองดนตรีประเภทเครืองสายส่วนใหญ่นิยมสร้างจากวัสดุธรรมชาติ เช่น ไม้ดังนันผิวของเครืองดนตรีมีความบอบบาง ในการวางเครืองดนตรี ควรวางด้วย นําหนักมือทีเบา เพือป้องกันการกระแทกและรอยขีดข่วนไม่ควรวางพิงฝาผนังหรือในที ทีอาจทําให้เครืองดนตรีเกิดการชํารุดเสียหาย 7
  • 3. 2. เครืองเป่ าลมไม้ การดูแลรักษาเครืองเป่าลมไม้ให้ใช้ผ้านุ่ม เช็ดตัวเครือง ก่อนและหลังการเป่าส่วนเครืองเป่าที เป็นโลหะให้ใช้ผ้านุ่มแตะนํามันสําหรับทําความ สะอาดเครืองดนตรี แล้วลูบไปตามกระเดืองกลไก และตัวเคลือนให้ทัวเพือทําให้กระเดืองกลไกเกิด ความคล่องตัวในการใช้งานและช่วยไม่ให้เกิดสนิม วิธีการใช้และดูแลรักษาเครืองดนตรีประเภทเครืองลมไม้ (Wood wind Instruments) 1. เครืองลมไม้ทีมีลิน ได้แก่ คลาริเน็ต(Clarinet) โอโบ (Oboe) และบาสซูน (Bassoon) เป็นเครืองดนตรีสร้างจากไม้ในการเก็บรักษาควรไม่ให้เครืองดนตรีถูกนํา เพราะอาจทําให้เกิดความเสียหายของตัวเครืองดนตรีและระบบเสียง 2. โอโบและบาสซูน เป็นเครืองดนตรีทีมีลินซึงทําด้วยไม้เหลาทีมีความบาง มาก เมือบรรเลงเสร็จควรมีการดูแลรักษาส่วนนีเป็นพิเศษโดยการทําความสะอาดลิน ด้วยนํายาล้างเฉพาะ จากนันนําลินเก็บใส่กล่องเฉพาะหรือกล่องทีมิดชิด 3. เครืองเป่าลมไม้ทีไม่มีลิน ได้แก่ ฟลูต(Flute) และปิกโคโล (Piccolo) ในการดูแลรักษา ควรมีการดูแลเป็นพิเศษในการล้างตัวฟลูต คือ ใช้นํายาล้างเฉพาะ เครืองและระมัดระวังในการล้างตัวเครือง อย่าให้นํายาโดนบริเวณนวมเพราะจะทําให้ นวมเกิดการพองหรือบิดเบียวได้ 4. ควรใช้ผ้าแห้งเช็ดทุกครังหลังบรรเลงเสร็จ เนืองจากเหงือทีมือจะทําให้เกิด ความชืนและอาจเกิดสนิมได้ 5. เมือบรรเลงเสร็จหรือวางเครืองดนตรีระหว่างพักการบรรเลงควรเก็บเครือง ดนตรีประเภทเครืองเป่าลมไม้ในกล่องเฉพาะของเครืองดนตรีนันๆ เพือป้องกัน ไม่ให้เกิดการกระทบกระเทือน 8
  • 4. 3. เครืองเป่ าลมทองเหลือง ใช้ผ้านุ่มเช็ดตัวเครืองให้ สะอาดก่อนและหลังการใช้เมือใช้เสร็จ แล้วให้กดกระเดืองสําหรับไล่นําลาย แล้วเป่าลมแรง ๆ เข้าไปตรงปากเป่าเพือ ไล่หยดนําลายทีค้างอยู่ในท่อเสร็จแล้ว ถอดปากเป่าออกมาทําความสะอาดโดยใช้ผ้าเช็ดและใช้เศษผ้าแตะครีมขัดโลหะลูบเก็บ ใส่กล่องให้เรียบร้อย วิธีการใช้และดูแลรักษาเครืองดนตรีประเภทเครืองเป่ าลมทองเหลือง(BrassInstruments) 1. เมือบรรเลงเครืองเป่าลมทองเหลือง ได้แก่ ทรัมเป็ต(Trumpet) ทรอมโบน (Trombone) ทูบา (Tuba) และเฟรนช์ฮอร์น (French Horn) ควรมีการล้างโดยล้างด้วย นํายาเฉพาะเครืองแล้วเช็ดด้วยผ้าแห้งทุกครัง เพือเป็นการซับนําลายและทําความสะอาด ไม่ให้เกิดเชือโรค 2. การวางเครืองดนตรีควรมีขาตังหรือทีวางโดยเฉพาะ เพือป้องกันการ กระทบกระเทือนของลําโพงและตัวเครืองดนตรี ยกเว้นทูบา (Tuba) เป็นเครืองดนตรีทีมี ขนาดใหญ่ ควรใช้วิธีวางราบกับพืน ไม่ควรพิงฝาผนังเพราะอาจล้มจนเกิดความเสียหาย ต่อตัวเครืองและทําให้เสียงของทูบาเพียนได้ 4. เครืองดนตรีประเภทมีลิมนิว ใช้ผ้าสักหลาดหรือผ้าแห้ง เช็ด ถูทีตัวเครืองและบริเวณลิมนิวให้สะอาด ปิดฝาครอบแล้วใช้ผ้าคลุมให้เรียบร้อย 9
  • 5. วิธีการใช้และดูแลรักษาเครืองดนตรีประเภทคีย์บอร์ด (Keyboard Instruments) 1. ขณะบรรเลง เปียโน (Piano) หรืออิเล็กโทน (Electone) ซึงต้องใช้นิวในการ กด ควรกดด้วยกําลังทีพอดีไม่รุนแรงจนเกินไป เพือป้องกันความเสียหายทีจะเกิดต่อลิม นิว 2. เมือบรรเลงเสร็จ ควรปิดฝาลิมนิว หรือเก็บใส่กล่องให้เรียบร้อยเพือ ป้องกันการกระทบกระเทือนจากสิงของ จนลิมนิวหรือตัวคีย์บอร์ดเสียหายได้ 3. ควรมีผ้าสําหรับเช็ดเครืองดนตรีทุกครังหลังบรรเลงเสร็จ 4. ควรมีผ้าคลุมเครืองเพือป้องกันฝุ่นละออง 5. ไม่ควรนําวัสดุหรือภาชนะทีมีนําบรรจุอยู่ วางไว้บนตัวเครืองดนตรีเพราะ อาจเกิดการหก หรือควํา ทําให้เกิดความเสียหายให้แก่ตัวเครืองได้ 5. เครืองดนตรีประเภทเครืองตี ใช้ผ้านุ่มเช็ดตัวเครืองและส่วนทีใช้ตีให้ สะอาด ก่อนและหลังการเล่นทุกครังและเก็บเครือง ดนตรีใส่กล่องหรือใช้ผ้าคลุมทุกครังทีเล่นเสร็จแล้ว วิธีการใช้และดูแลรักษาเครืองดนตรีประเภทเครืองตี (Percussion Instruments) เครืองตีทีมีระดับเสียง 1. เครืองดนตรีประเภทตีทีมีระดับเสียง เช่น เบลล์(Bell) ไซโลโฟน (xylophone) เมือบรรเลงเสร็จทุกครัง ควรใช้ผ้าทีนุ่มเช็ดทําความสะอาด เพือป้องกันฝุ่น ละอองและคราบเหงือจากรอยนิวมือ 2. เมือบรรเลงกลองทิมปานี (Timpani) เสร็จควรปรับระดับเสียงให้ลดลง เพราะการให้หน้ากลองตึงตลอดเวลา อาจทําให้หน้ากลองขาดความยืดหยุ่นและ เสือมสภาพเร็วขึน 10
  • 6. 3. ควรมีผ้านุ่มสําหรับเช็ดเครืองดนตรีแต่ละชนิดทุกครังหลังบรรเลงเสร็จ 4. ควรมีถุงใส่เฉพาะหรือผ้าสําหรับคลุมเครืองดนตรีแต่ละชนิดเพือป้องกัน ฝุ่นละออง 5. ไม่ควรนําสิงของวางบนเครืองดนตรี เพราะอาจทําให้เกิดความชํารุด เสียหายได้ เครืองตีทีไม่มีระดับเสียง 1. กลองใหญ่(Bass drum) และกลองแต๊ก (Snare drum) เป็นเครืองดนตรี ทีขึงหน้ากลองด้วยพลาสติกพิเศษ ขณะบรรเลงควรตีด้วยความระมัดระวัง และใช้ไม้ตี เฉพาะของแต่ละเครืองเท่านัน เพือป้องกันหน้ากลองแตกหรือเสียหายจากการตี 2. รํามะนา (Tambourine) เป็นเครืองดนตรีทีขึงหน้ากลองด้วยหนังสัตว์การ ดูแลรักษาควรระมัดระวังอย่าให้หน้ากลองโดนนําเพราะจะทําให้หน้ากลองหย่อนหรือ ชืนและขึนราได้ 3. ฉาบ (Cymbals) เมือบรรเลงเสร็จควรเก็บใส่ถุงให้เรียบร้อยเพราะเป็น เครืองดนตรีมีความบางและคม อาจทําให้เกิดอันตรายแก่ผู้บรรเลงได้ 4. สามเหลียมและลูกแซก หลังจากบรรเลงเสร็จควรใช้ผ้านุ่มเช็ดทําความ สะอาด 5. ควรมีผ้าคลุมกล่องหรือถุงใส่เครืองดนตรีแต่ละอย่างโดยเฉพาะเพือป้องกัน ฝุ่นละออง 6. การวางเครืองตี ไม่ควรนํามาวางซ้อนกัน เพราะนําหนักของสิงของทีวาง ทับหน้ากลอง อาจทําให้หน้ากลองหย่อนหรือเกิดความเสียหายได้ 7. ควรมีถุงหรือกล่องสําหรับใส่ไม้ตีของแต่ละเครืองดนตรี 11