SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
รายงานการนําเสนอผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice)
ชื่อผลงาน รูปแบบการจัดการเรียนรู้หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
ชื่อผู้เสนอผลงาน นางพรพนา สมัยรัฐ
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์
สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13 (ตรัง-กระบี่)
โทรศัพท์ 075-289423 โทรสาร 075-288257 โทรศัพท์มือถือ 084-898-0154
e-mail: pornpanasamairath@gmail.com, samairath@gmail.com
รายละเอียดการนําเสนอผลงาน
1. ความสําคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นําเสนอ
การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 หมวด 4
มาตรา 24 ต้องจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดย
คํานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ให้ผู้เรียนฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์
และการประยุกต์ความรู้ มาใช้เพื่อป้องกันและการแก้ไขปัญหา จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จาก
ประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทําได้ คิดเป็นและทําเป็น รักการอ่านและเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกันรวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม
ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนจัดบรรยากาศ
สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนรู้ และอํานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และมีความรอบรู้
รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกัน
จากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่างๆ และจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ได้
ทุกที่ ทุกเวลาส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นคนดี คนเก่ง และสามารถดําเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ผู้สอนจึงได้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ซึ่งได้ออกแบบตามทฤษฎีระบบ 4 ขั้นตอน (สุคนธ์
ภูริเวทย์, 2442, หน้า 52) ได้แก่ ขั้น INPUT ซึ่งประกอบด้วยการวิเคราะห์ผู้เรียนและวิเคราะห์หลักสูตร
กําหนดเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ กําหนดเนื้อหาวิชา กําหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ กําหนดกิจกรรม
การเรียนรู้ กําหนดสื่อและแหล่งเรียนรู้ กําหนดกระบวนการวัดและประเมินผล ขั้น PROCESS
ประกอบด้วย การดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน 6 ขั้นตอน คือ กําหนดปัญหา
ทําความเข้าใจกับปัญหา ดําเนินการศึกษาค้นคว้า สังเคราะห์ความรู้ สรุปและประเมินค่าของคําตอบ
นําเสนอและประเมินผลงาน ขั้น OUTPUT ประกอบด้วยการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ
วิเคราะห์ผลการเรียน โดยการทดสอบก่อนเรียน ประเมินชิ้นงานตามใบกิจกรรม ประเมินทักษะการทํางาน
กลุ่ม ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ทําแบบฝึกหัดทบทวน ทําแบบทดสอบหลังเรียน ขั้น FEEDBACK
ประกอบด้วย การปรับปรุง แก้ไข พัฒนาทุกขั้นตอน ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้ 9 ขั้น ของกาเย่ และบริกส์
(Gagne’ and Briggs, 1979 อ้างถึงในไชยยศ เรืองสุวรรณ, 2531, หน้า 66-67) คือ ต้องมีสิ่งเร้าให้ผู้เรียน
2
เกิดความสนใจ ต้องแจ้งจุดประสงค์ให้ผู้เรียนทราบ ต้องสร้างสถานการณ์เพื่อเชื่อมโยงเข้าหาความรู้เดิม
ทําการเสนอบทเรียน แนะนําแนวทางในการเรียน หลังจากผู้เรียนเข้าใจแล้วให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ ให้ข้อมูล
ย้อนกลับ ประเมินผลการปฏิบัติ ทบทวนเพื่อให้เกิดความแม่นยําและการถ่ายโอนความรู้ ทฤษฎีการสื่อสาร
มีองค์ประกอบ 3 ประการ คือ ผู้ส่งสาร ตัวสารหรือตัวกลาง หรือช่องทางในการสื่อสาร และผู้รับสาร
(สุคนธ์ ภูริเวทย์, 2552, หน้า 70) อีกทั้งรูปแบบการจัดการเรียนรู้ฝึกให้ผู้เรียนทํากิจกรรมสร้างสรรค์
ตามวงจรคุณภาพ PDCA คือขั้น P(PLAN) หรือวางแผนการทํากิจกรรมสร้างสรรค์ ขั้น D(DO) เป็นการ
ดําเนินกิจกรรมสร้างสรรค์ที่ได้วางแผนไว้ ขั้น C(CHECK) เป็นขั้นติดตามความก้าวหน้าจากการดําเนิน
กิจกรรม และขั้น A(ACTION) เป็นขั้นที่ต้องพัฒนาแก้ไข ตลอดจนรูปแบบการจัดการเรียนรู้ยังบูรณาการให้
ผู้เรียนฝึกวิเคราะห์บทเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งเป็นแนวพระราชดําริใน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล อดุลยเดชฯ เป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ
ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาทโดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผลการสร้าง
ภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบและคุณธรรมประกอบการวางแผนการตัดสินใจและการกระทํา
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นเป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่สามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของผู้เรียน ให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้จากกระบวนการทํางานกลุ่มจากการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา
เป็นฐาน ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิดแก้ปัญหาตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์และวงจรคุณภาพ
PDCAจากปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวันของผู้เรียนทั้งที่บ้าน โรงเรียน และชุมชน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
การแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนซึ่งจะต้องสร้างความตระหนักให้ผู้เรียนรู้จักคิดแก้ปัญหาโดยเริ่มต้นที่ตนเอง
2. จุดประสงค์และเป้าหมาย ของการดําเนินงาน
2.1 เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่าง
ยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน โดยมีวัตถุประสงค์ย่อย ดังนี้
1) ตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการจัดการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้
2) ตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
3) ประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
4) ประเมินทักษะการทํางานกลุ่มร่วมคิดร่วมทํากิจกรรมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม
5) ประเมินเจตคติที่ดีต่อการเรียนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
6) ประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อม
อย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
2.2 เพื่อสร้างความตระหนักให้กับนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียน ตลอดจนชุมชนในการรักษา
สิ่งแวดล้อมของโรงเรียน และท้องถิ่นโดยการจัดกิจกรรมที่ทุกคนมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์ และรักษา
สิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืน โดยบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3. กร
ศึกษา
1. วิเค
วิเค
2. กําห
ในก
3. กําห
4. กําห
การ
5. กําห
6. กําห
แหล
7. กําห
และ
ความสามา
ผลสัม
ระบวนการผ
ร่วมสร้างส
โดยใช้ปัญ
ข้อมูลพื้นฐาน
INPUT
ราะห์ผู้เรียนแล
ราะห์หลักสูตร
หนดเป้าหมาย
การจัดการเรียน
หนดเนื้อหาวิชา
หนดจุดประสงค
รเรียนรู้
หนดกิจกรรมกา
หนดสื่อและ
ล่งเรียนรู้
หนดกระบวนกา
ะประเมินผล
ารถในการคิด
ฤทธิ์ทางการเรี
กําหนดหลัก
ผลิตผลงาน ห
สรรค์ ท.ศ. รัก
ญหาเป็นฐาน
สภ
ละ
นรู้
า
ค์
ารเรียนรู้
ารวัด
ยน
ดี
กิจก
การ
ปร
หรือขั้นตอนก
รูปแบบการจั
กษ์สิ่งแวดล้อม
ชั้นมัธยมศึก
ภาพปัญหาและค
8. ดําเนิน
หน่วยบูรณ
8.1 ก
8.2 ท
8.3 ด
8.4 ส
8.5
8.6 น
10. ปร
โรงเรี
กรรมร่วมสร้า
กําหน
ระเมินรูปแบบ
การดําเนินงา
จัดการเรียนรู้
มอย่างยั่งยืน
กษาปีที่ 3 แล
ศึกษาข้อมูลพื้
ความต้องการจ
PROCE
การจัดกิจกรรม
ณาการโดยใช้ปั
กําหนดปัญหา
ทําความเข้าใจ
ดําเนินการศึกษ
สังเคราะห์ควา
สรุปและประเมิ
นําเสนอและปร
FEEDBA
รับปรุง แก้ไข พ
รียนต้นแบบสถา
คุณภาพ
มีสุข
งสรรค์ ท.ศ.รั
นดรูปแบบการ
บการจัดการเ ี
าน
หน่วยบูรณา
ตามหลักปรั
ะนักเรียนแกน
พื้นฐาน
จําเป็นของสถา
ESS
มการเรียนรู้
ปัญหาเป็นฐาน
กับปัญหา
ษาค้นคว้า
มรู้
มินค่าของคําตอ
ระเมินผลงาน
ACK
พัฒนาทุกขั้นตอ
านศึกษาพอเพี
พผู้เรียน
ข
รักษ์สิ่งแวดล้
รจัดการเรียน
รียนรู้ แบบ C
าการ
ัชญาของเศร
นนํา ท.ศ.รักษ
นศึกษา
อบ
อน
ยง
อมอย่างยั่งยืน
นรู้
CIPP Model
รษฐกิจพอเพีย
ษ์สิ่งแวดล้อม
9. ประเมินผ
และวิเคราะห
- ทดส
- ประ
กิจก
- ประ
กลุ่ม
วิทย
- ประ
- ทําแ
พฤติกร
เก่ง
น
กําหนดจ
l
สภาพปัญ
3
ยง
ม
OUTPUT
ผลสัมฤทธิ์ทางก
ห์ผลการเรียน
สอบก่อนเรียน
เมินชิ้นงานตาม
รรม
เมินทักษะการท
มตามวิธีการทาง
ยาศาสตร์
เมินคุณลักษณ
แบบทดสอบหลั
รรมการเรียน ก
จุดม่งหมาย 
ญหาในโรงเรียน
การเรียน
มใบ
ทํางาน
ง
ะ
ังเรียน
การมีวินัย
น
4
4. ผลการดําเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับ
การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ พบว่าการตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการจัดการเรียนรู้ และ
แผนการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ผลการตรวจสอบความสอดคล้องขององค์ประกอบของรูปแบบการจัดการเรียนรู้
และแผนการจัดการเรียนรู้ พบว่าทุกข้อมีค่าความสอดคล้อง (IOC) เท่ากับ 1.00 ผลการตรวจสอบความถูกต้อง
ขององค์ประกอบของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้ พบว่า ค่าเฉลี่ยโดยรวมทั้งฉบับ
อยู่ในระดับมากที่สุด ผลการตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบว่า ผลการ
ตรวจสอบความสอดคล้องของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างข้อคําถามกับจุดประสงค์
จํานวน 61 ข้อ พบว่าทุกข้อมีค่าความสอดคล้อง (IOC) เท่ากับ 1.00 ข้อสอบที่มีความยาก (P) ตั้งแต่ 0.20
ถึง 0.80 และค่าอํานาจจําแนก (r) ตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป ได้ข้อสอบที่ดี จํานวน 45 ข้อ ผลการหาค่าความเชื่อมั่น
ของแบบทดสอบทั้งฉบับ โดยใช้วิธีของวิชาร์ดสัน (Richardson) KR-20 (Kuder Richardson-๒๐) ได้ค่า
ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ ทั้งฉบับเท่ากับ .8162 ผลการประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหา
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน จากการประเมิน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และคะแนนหลังเรียน
มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 80.90 สูงกว่าเกณฑ์ที่กําหนดคือร้อยละ 80 ผลการประเมินทักษะการทํางานกลุ่ม
พบว่าในภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ 3 ผลการประเมินเจตคติที่ดีต่อการจัดการเรียนรู้หน่วยบูรณาการ
ค่าเฉลี่ยโดยรวมทั้งฉบับผู้เรียนเห็นด้วยและผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้พบว่าใน
ภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ3ผลการประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้ พบว่าค่าเฉลี่ยโดยรวมทั้งฉบับอยู่ในระดับมาก
การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ส่งผลให้นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียน ตลอดจนชุมชน
ตระหนักถึงการรักษาสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน และท้องถิ่นจากกิจกรรมที่ทุกคนมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์
และรักษาสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืน โดยบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
5. ปัจจัยความสําเร็จ
ผลการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ ได้นวัตกรรมรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่มีคุณภาพตาม
วัตถุประสงค์ในการออกแบบการเรียนรู้ ต้องฝึกฝนให้ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิดแก้ปัญหาสิ่งที่อยู่ใกล้ตัว
ที่เกิดขึ้นในโรงเรียน สร้างความตระหนักให้ผู้เรียนได้คิดกิจกรรมต่อยอดสู่การปฏิบัติจริงในชีวิตประจําวัน
ทั้งในโรงเรียน ชุมชน เพื่อจะได้ร่วมกันสร้างสรรค์ให้ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นหน่วยบูรณาการการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ในการดําเนินงานและการต่อยอดรูปแบบการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติจริงของผู้เรียน อาศัยการมี
ส่วนร่วมของฝ่ายต่างๆ ของโรงเรียน ดังนี้ คณะกรรมการอํานวยการ คณะกรรมการวิเคราะห์หน่วยการ
เรียนรู้ วางแผนการจัดการเรียนรู้ และจัดการเรียนรู้หน่วยบูรณาการ คณะกรรมการประกวด “Mind
Map” คณะกรรมการจัดประกวดคําขวัญรณรงค์แก้ปัญหาขยะในโรงเรียน คณะกรรมการจัดประกวด
การถอดบทเรียนวิเคราะห์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข 4 มิติ
คณะกรรมการดูแลช่วยเหลือนักเรียน อํานวยความสะดวก ให้คําปรึกษา ชี้แนะแนวทาง สร้างความ
5
ตระหนักปลูกจิตสํานึกให้กับผู้เรียนร่วมกันรักษาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนทั้งห้องเรียน และพื้นที่ 5 ส และ
บริเวณโรงเรียน ตลอดจนชุมชนใกล้เคียง จัดกิจกรรมสารธารณะในคาบจิตสาธารณะ คัดเลือกนักเรียน
จิตสาธารณะดีเด่น คณะกรรมการจัดกิจกรรมเสียงตามสาย กิจกรรมหน้าเสาธง ประชาสัมพันธ์กิจกรรม
คณะกรรมการประกวด “The Best of the Best Classroom of the Public Consciousness”
คณะกรรมการจัดทําป้ายรณรงค์ที่เกี่ยวกับกิจกรรม คณะกรรมการจัดบอร์ดนิทรรศการประชาสัมพันธ์ผล
การดําเนินกิจกรรม คณะกรรมการฝ่ายสรุปประเมินผลกิจกรรม ส่งผลให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ทั้งด้านพุทธิพิสัย
(Knowledge) ทักษะทักษะพิสัย (Process) และด้านจิตพิสัย (Attitude) ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรู้ ตลอดจนฝึกประสบการณ์การเรียนรู้ที่สร้างสรรค์ให้เกิดกับผู้เรียนองค์กรและชุมชน
6. บทเรียนที่ได้รับ (Lesson Learned)
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นออกแบบการเรียนรู้ตามทฤษฎีระบบ จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย
ใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อฝึกให้ผู้เรียนได้นําทักษะการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน สร้างภูมิคุ้มกันให้กับ
ตัวเองที่ต้องเจอกับปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของสังคม บูรณาการมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ต่างๆและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนครอบคลุมทั้งด้านพุทธิพิสัย ทักษะ
พิสัย และจิตพิสัย และประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ CIPP Model ซึ่งสามารถนําไปออกแบบ
พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้รูปแบบอื่นๆ ที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนได้บรรลุตามเป้าหมายของหลักสูตร
อย่างไรก็ตามรูปแบบการจัดการเรียนรู้หน่วยบูรณาการดังกล่าวข้างต้นต้องใช้เวลาให้ผู้เรียนได้ฝึก
ประสบการณ์ อย่างหลากหลายจากกิจกรรมต่อยอดการศึกษาปัญหาหรือกิจกรรมที่กลุ่มสนใจ ผู้เรียนต้องใช้
เวลานอกทํากิจกรรมแก้ปัญหา กิจกรรมรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชน และกิจกรรมสร้างความตระหนักให้กับ
ผู้เรียนในโรงเรียน แต่เวลาเรียนมีจํากัดเพราะผู้สอนใช้จัดกิจกรรมในหน่วยสุดท้ายของภาคเรียนที่ 2 การจัด
กิจกรรมที่กลุ่มผู้เรียนคิดไว้บางกิจกรรมจึงไม่เป็นไปตามแผน ผู้สอนควรนําหน่วยบูรณาการไปจัดกิจกรรมใน
หน่วยแรกของภาคเรียนที่ 1 หรือภาคเรียนที่ 2 ของแต่ละปีการศึกษาจะสามารถให้ผู้เรียนได้จัดกิจกรรม
อย่างหลากหลายในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในโรงเรียน และสามารถจัดกิจกรรมรณรงค์ต่างๆ สร้างความ
ตระหนักให้กับผู้เรียนตลอดภาคเรียน หรือตลอดปีการศึกษา โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายของ
โรงเรียน และสามารถลงพื้นที่สู่ชุมชนได้มากขึ้น อีกทั้งการจัดกิจกรรมการเรียนรู้หน่วยบูรณาการใช้จัด
กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็นหลัก บูรณาการกับสาระมาตรฐาน
การเรียนรู้ต่างๆ ควรมีการพัฒนาต่อยอดให้ทุกกลุ่มสาระได้จัดกิจกรรมบูรณาการในปีการศึกษาต่อไป
7. การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ/รางวัลที่ได้รับ
นวัตกรรมรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ได้เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ทางเว็บไซต์โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ เว็บบล็อก
ครูพรพนาhttp://krupornpana2555.wordpress.com และประชาสัมพันธ์กิจกรรมเสียงตามสายและเผยแพร่ในการประชุม
เพื่อนครู นักเรียนผู้ปกครองคณะกรรมการสถานศึกษาผู้ปกครองเครือข่ายและจัดนิทรรศการการดําเนินกิจกรรมตลอดจน
ส่งนวัตกรรมเข้าร่วมการคัดสรรรางวัลผลงานหนึ่งโรงเรียนหนึ่งนวัตกรรมระดับเขตพื้นที่ของคุรุสภาเขตพื้นที่การศึกษาตรัง
เขต1เพื่อรับการประเมินผลงานนวัตกรรมระดับประเทศ ของสํานักงานเลขาธิการคุรุสภากระทรวงศึกษาธิการ

More Related Content

Viewers also liked

33อบรมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
33อบรมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง33อบรมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
33อบรมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
25รักษืสิ่งแวดล้อมร่วมกับชุมชน
25รักษืสิ่งแวดล้อมร่วมกับชุมชน25รักษืสิ่งแวดล้อมร่วมกับชุมชน
25รักษืสิ่งแวดล้อมร่วมกับชุมชนkrupornpana55
 
งานนำเสนอBest
งานนำเสนอBestงานนำเสนอBest
งานนำเสนอBestkrupornpana55
 
14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก
14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก
14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลกkrupornpana55
 
7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
2กรรมการชุดใหม่เสนอนโยบายโรงเรียน
2กรรมการชุดใหม่เสนอนโยบายโรงเรียน2กรรมการชุดใหม่เสนอนโยบายโรงเรียน
2กรรมการชุดใหม่เสนอนโยบายโรงเรียนkrupornpana55
 
แบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์
ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์
ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์krupornpana55
 
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม 4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม krupornpana55
 
1ปกเอกสารประกอบ
1ปกเอกสารประกอบ1ปกเอกสารประกอบ
1ปกเอกสารประกอบkrupornpana55
 
ประวัติย่อผู้ศึกษา
ประวัติย่อผู้ศึกษาประวัติย่อผู้ศึกษา
ประวัติย่อผู้ศึกษาkrupornpana55
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
ไฟล์วิเคราะห์หลักสูตรหน่วยบูรณาการแนวนอน
ไฟล์วิเคราะห์หลักสูตรหน่วยบูรณาการแนวนอนไฟล์วิเคราะห์หลักสูตรหน่วยบูรณาการแนวนอน
ไฟล์วิเคราะห์หลักสูตรหน่วยบูรณาการแนวนอนkrupornpana55
 
สื่อ ประกอบบทเรียน
สื่อ ประกอบบทเรียนสื่อ ประกอบบทเรียน
สื่อ ประกอบบทเรียนkrupornpana55
 
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการkrupornpana55
 
ผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเอง
ผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเองผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเอง
ผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเองkrupornpana55
 
เผยแพร่รูปแบบ
เผยแพร่รูปแบบเผยแพร่รูปแบบ
เผยแพร่รูปแบบkrupornpana55
 

Viewers also liked (20)

33อบรมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
33อบรมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง33อบรมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
33อบรมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
25รักษืสิ่งแวดล้อมร่วมกับชุมชน
25รักษืสิ่งแวดล้อมร่วมกับชุมชน25รักษืสิ่งแวดล้อมร่วมกับชุมชน
25รักษืสิ่งแวดล้อมร่วมกับชุมชน
 
1ปก
1ปก1ปก
1ปก
 
งานนำเสนอBest
งานนำเสนอBestงานนำเสนอBest
งานนำเสนอBest
 
14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก
14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก
14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก
 
7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
2กรรมการชุดใหม่เสนอนโยบายโรงเรียน
2กรรมการชุดใหม่เสนอนโยบายโรงเรียน2กรรมการชุดใหม่เสนอนโยบายโรงเรียน
2กรรมการชุดใหม่เสนอนโยบายโรงเรียน
 
แบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์
ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์
ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์
 
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม 4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม
 
1ปกเอกสารประกอบ
1ปกเอกสารประกอบ1ปกเอกสารประกอบ
1ปกเอกสารประกอบ
 
29หลัก 3 rs
29หลัก 3 rs29หลัก 3 rs
29หลัก 3 rs
 
ประวัติย่อผู้ศึกษา
ประวัติย่อผู้ศึกษาประวัติย่อผู้ศึกษา
ประวัติย่อผู้ศึกษา
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
ไฟล์วิเคราะห์หลักสูตรหน่วยบูรณาการแนวนอน
ไฟล์วิเคราะห์หลักสูตรหน่วยบูรณาการแนวนอนไฟล์วิเคราะห์หลักสูตรหน่วยบูรณาการแนวนอน
ไฟล์วิเคราะห์หลักสูตรหน่วยบูรณาการแนวนอน
 
สื่อ ประกอบบทเรียน
สื่อ ประกอบบทเรียนสื่อ ประกอบบทเรียน
สื่อ ประกอบบทเรียน
 
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
 
ผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเอง
ผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเองผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเอง
ผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเอง
 
2คำนำ
2คำนำ2คำนำ
2คำนำ
 
เผยแพร่รูปแบบ
เผยแพร่รูปแบบเผยแพร่รูปแบบ
เผยแพร่รูปแบบ
 

More from krupornpana55

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ krupornpana55
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...krupornpana55
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมkrupornpana55
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกkrupornpana55
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะkrupornpana55
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายkrupornpana55
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็กkrupornpana55
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตยkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 

More from krupornpana55 (20)

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลก
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะ
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่าย
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 

2แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศโรงเรียนในฝันครูพรพนา 11 ก.ค. 2556

  • 1. รายงานการนําเสนอผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ชื่อผลงาน รูปแบบการจัดการเรียนรู้หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ชื่อผู้เสนอผลงาน นางพรพนา สมัยรัฐ โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13 (ตรัง-กระบี่) โทรศัพท์ 075-289423 โทรสาร 075-288257 โทรศัพท์มือถือ 084-898-0154 e-mail: pornpanasamairath@gmail.com, samairath@gmail.com รายละเอียดการนําเสนอผลงาน 1. ความสําคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นําเสนอ การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 หมวด 4 มาตรา 24 ต้องจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดย คํานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ให้ผู้เรียนฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้ มาใช้เพื่อป้องกันและการแก้ไขปัญหา จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จาก ประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทําได้ คิดเป็นและทําเป็น รักการอ่านและเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกันรวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนรู้ และอํานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกัน จากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่างๆ และจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ได้ ทุกที่ ทุกเวลาส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นคนดี คนเก่ง และสามารถดําเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ผู้สอนจึงได้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ซึ่งได้ออกแบบตามทฤษฎีระบบ 4 ขั้นตอน (สุคนธ์ ภูริเวทย์, 2442, หน้า 52) ได้แก่ ขั้น INPUT ซึ่งประกอบด้วยการวิเคราะห์ผู้เรียนและวิเคราะห์หลักสูตร กําหนดเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ กําหนดเนื้อหาวิชา กําหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ กําหนดกิจกรรม การเรียนรู้ กําหนดสื่อและแหล่งเรียนรู้ กําหนดกระบวนการวัดและประเมินผล ขั้น PROCESS ประกอบด้วย การดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน 6 ขั้นตอน คือ กําหนดปัญหา ทําความเข้าใจกับปัญหา ดําเนินการศึกษาค้นคว้า สังเคราะห์ความรู้ สรุปและประเมินค่าของคําตอบ นําเสนอและประเมินผลงาน ขั้น OUTPUT ประกอบด้วยการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ วิเคราะห์ผลการเรียน โดยการทดสอบก่อนเรียน ประเมินชิ้นงานตามใบกิจกรรม ประเมินทักษะการทํางาน กลุ่ม ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ทําแบบฝึกหัดทบทวน ทําแบบทดสอบหลังเรียน ขั้น FEEDBACK ประกอบด้วย การปรับปรุง แก้ไข พัฒนาทุกขั้นตอน ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้ 9 ขั้น ของกาเย่ และบริกส์ (Gagne’ and Briggs, 1979 อ้างถึงในไชยยศ เรืองสุวรรณ, 2531, หน้า 66-67) คือ ต้องมีสิ่งเร้าให้ผู้เรียน
  • 2. 2 เกิดความสนใจ ต้องแจ้งจุดประสงค์ให้ผู้เรียนทราบ ต้องสร้างสถานการณ์เพื่อเชื่อมโยงเข้าหาความรู้เดิม ทําการเสนอบทเรียน แนะนําแนวทางในการเรียน หลังจากผู้เรียนเข้าใจแล้วให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ ให้ข้อมูล ย้อนกลับ ประเมินผลการปฏิบัติ ทบทวนเพื่อให้เกิดความแม่นยําและการถ่ายโอนความรู้ ทฤษฎีการสื่อสาร มีองค์ประกอบ 3 ประการ คือ ผู้ส่งสาร ตัวสารหรือตัวกลาง หรือช่องทางในการสื่อสาร และผู้รับสาร (สุคนธ์ ภูริเวทย์, 2552, หน้า 70) อีกทั้งรูปแบบการจัดการเรียนรู้ฝึกให้ผู้เรียนทํากิจกรรมสร้างสรรค์ ตามวงจรคุณภาพ PDCA คือขั้น P(PLAN) หรือวางแผนการทํากิจกรรมสร้างสรรค์ ขั้น D(DO) เป็นการ ดําเนินกิจกรรมสร้างสรรค์ที่ได้วางแผนไว้ ขั้น C(CHECK) เป็นขั้นติดตามความก้าวหน้าจากการดําเนิน กิจกรรม และขั้น A(ACTION) เป็นขั้นที่ต้องพัฒนาแก้ไข ตลอดจนรูปแบบการจัดการเรียนรู้ยังบูรณาการให้ ผู้เรียนฝึกวิเคราะห์บทเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งเป็นแนวพระราชดําริใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล อดุลยเดชฯ เป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาทโดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผลการสร้าง ภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบและคุณธรรมประกอบการวางแผนการตัดสินใจและการกระทํา รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นเป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่สามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผู้เรียน ให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้จากกระบวนการทํางานกลุ่มจากการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา เป็นฐาน ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิดแก้ปัญหาตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์และวงจรคุณภาพ PDCAจากปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวันของผู้เรียนทั้งที่บ้าน โรงเรียน และชุมชน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนซึ่งจะต้องสร้างความตระหนักให้ผู้เรียนรู้จักคิดแก้ปัญหาโดยเริ่มต้นที่ตนเอง 2. จุดประสงค์และเป้าหมาย ของการดําเนินงาน 2.1 เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่าง ยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน โดยมีวัตถุประสงค์ย่อย ดังนี้ 1) ตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการจัดการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้ 2) ตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) ประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน 4) ประเมินทักษะการทํางานกลุ่มร่วมคิดร่วมทํากิจกรรมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม 5) ประเมินเจตคติที่ดีต่อการเรียนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 6) ประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อม อย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 2.2 เพื่อสร้างความตระหนักให้กับนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียน ตลอดจนชุมชนในการรักษา สิ่งแวดล้อมของโรงเรียน และท้องถิ่นโดยการจัดกิจกรรมที่ทุกคนมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์ และรักษา สิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืน โดยบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
  • 3. 3. กร ศึกษา 1. วิเค วิเค 2. กําห ในก 3. กําห 4. กําห การ 5. กําห 6. กําห แหล 7. กําห และ ความสามา ผลสัม ระบวนการผ ร่วมสร้างส โดยใช้ปัญ ข้อมูลพื้นฐาน INPUT ราะห์ผู้เรียนแล ราะห์หลักสูตร หนดเป้าหมาย การจัดการเรียน หนดเนื้อหาวิชา หนดจุดประสงค รเรียนรู้ หนดกิจกรรมกา หนดสื่อและ ล่งเรียนรู้ หนดกระบวนกา ะประเมินผล ารถในการคิด ฤทธิ์ทางการเรี กําหนดหลัก ผลิตผลงาน ห สรรค์ ท.ศ. รัก ญหาเป็นฐาน สภ ละ นรู้ า ค์ ารเรียนรู้ ารวัด ยน ดี กิจก การ ปร หรือขั้นตอนก รูปแบบการจั กษ์สิ่งแวดล้อม ชั้นมัธยมศึก ภาพปัญหาและค 8. ดําเนิน หน่วยบูรณ 8.1 ก 8.2 ท 8.3 ด 8.4 ส 8.5 8.6 น 10. ปร โรงเรี กรรมร่วมสร้า กําหน ระเมินรูปแบบ การดําเนินงา จัดการเรียนรู้ มอย่างยั่งยืน กษาปีที่ 3 แล ศึกษาข้อมูลพื้ ความต้องการจ PROCE การจัดกิจกรรม ณาการโดยใช้ปั กําหนดปัญหา ทําความเข้าใจ ดําเนินการศึกษ สังเคราะห์ควา สรุปและประเมิ นําเสนอและปร FEEDBA รับปรุง แก้ไข พ รียนต้นแบบสถา คุณภาพ มีสุข งสรรค์ ท.ศ.รั นดรูปแบบการ บการจัดการเ ี าน หน่วยบูรณา ตามหลักปรั ะนักเรียนแกน พื้นฐาน จําเป็นของสถา ESS มการเรียนรู้ ปัญหาเป็นฐาน กับปัญหา ษาค้นคว้า มรู้ มินค่าของคําตอ ระเมินผลงาน ACK พัฒนาทุกขั้นตอ านศึกษาพอเพี พผู้เรียน ข รักษ์สิ่งแวดล้ รจัดการเรียน รียนรู้ แบบ C าการ ัชญาของเศร นนํา ท.ศ.รักษ นศึกษา อบ อน ยง อมอย่างยั่งยืน นรู้ CIPP Model รษฐกิจพอเพีย ษ์สิ่งแวดล้อม 9. ประเมินผ และวิเคราะห - ทดส - ประ กิจก - ประ กลุ่ม วิทย - ประ - ทําแ พฤติกร เก่ง น กําหนดจ l สภาพปัญ 3 ยง ม OUTPUT ผลสัมฤทธิ์ทางก ห์ผลการเรียน สอบก่อนเรียน เมินชิ้นงานตาม รรม เมินทักษะการท มตามวิธีการทาง ยาศาสตร์ เมินคุณลักษณ แบบทดสอบหลั รรมการเรียน ก จุดม่งหมาย  ญหาในโรงเรียน การเรียน มใบ ทํางาน ง ะ ังเรียน การมีวินัย น
  • 4. 4 4. ผลการดําเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับ การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ พบว่าการตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการจัดการเรียนรู้ และ แผนการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ผลการตรวจสอบความสอดคล้องขององค์ประกอบของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้ พบว่าทุกข้อมีค่าความสอดคล้อง (IOC) เท่ากับ 1.00 ผลการตรวจสอบความถูกต้อง ขององค์ประกอบของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้ พบว่า ค่าเฉลี่ยโดยรวมทั้งฉบับ อยู่ในระดับมากที่สุด ผลการตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบว่า ผลการ ตรวจสอบความสอดคล้องของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างข้อคําถามกับจุดประสงค์ จํานวน 61 ข้อ พบว่าทุกข้อมีค่าความสอดคล้อง (IOC) เท่ากับ 1.00 ข้อสอบที่มีความยาก (P) ตั้งแต่ 0.20 ถึง 0.80 และค่าอํานาจจําแนก (r) ตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป ได้ข้อสอบที่ดี จํานวน 45 ข้อ ผลการหาค่าความเชื่อมั่น ของแบบทดสอบทั้งฉบับ โดยใช้วิธีของวิชาร์ดสัน (Richardson) KR-20 (Kuder Richardson-๒๐) ได้ค่า ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ ทั้งฉบับเท่ากับ .8162 ผลการประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหา สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน จากการประเมิน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และคะแนนหลังเรียน มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 80.90 สูงกว่าเกณฑ์ที่กําหนดคือร้อยละ 80 ผลการประเมินทักษะการทํางานกลุ่ม พบว่าในภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ 3 ผลการประเมินเจตคติที่ดีต่อการจัดการเรียนรู้หน่วยบูรณาการ ค่าเฉลี่ยโดยรวมทั้งฉบับผู้เรียนเห็นด้วยและผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้พบว่าใน ภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ3ผลการประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้ พบว่าค่าเฉลี่ยโดยรวมทั้งฉบับอยู่ในระดับมาก การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ส่งผลให้นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียน ตลอดจนชุมชน ตระหนักถึงการรักษาสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน และท้องถิ่นจากกิจกรรมที่ทุกคนมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์ และรักษาสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืน โดยบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5. ปัจจัยความสําเร็จ ผลการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ ได้นวัตกรรมรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่มีคุณภาพตาม วัตถุประสงค์ในการออกแบบการเรียนรู้ ต้องฝึกฝนให้ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิดแก้ปัญหาสิ่งที่อยู่ใกล้ตัว ที่เกิดขึ้นในโรงเรียน สร้างความตระหนักให้ผู้เรียนได้คิดกิจกรรมต่อยอดสู่การปฏิบัติจริงในชีวิตประจําวัน ทั้งในโรงเรียน ชุมชน เพื่อจะได้ร่วมกันสร้างสรรค์ให้ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง เป็นหน่วยบูรณาการการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ในการดําเนินงานและการต่อยอดรูปแบบการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติจริงของผู้เรียน อาศัยการมี ส่วนร่วมของฝ่ายต่างๆ ของโรงเรียน ดังนี้ คณะกรรมการอํานวยการ คณะกรรมการวิเคราะห์หน่วยการ เรียนรู้ วางแผนการจัดการเรียนรู้ และจัดการเรียนรู้หน่วยบูรณาการ คณะกรรมการประกวด “Mind Map” คณะกรรมการจัดประกวดคําขวัญรณรงค์แก้ปัญหาขยะในโรงเรียน คณะกรรมการจัดประกวด การถอดบทเรียนวิเคราะห์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข 4 มิติ คณะกรรมการดูแลช่วยเหลือนักเรียน อํานวยความสะดวก ให้คําปรึกษา ชี้แนะแนวทาง สร้างความ
  • 5. 5 ตระหนักปลูกจิตสํานึกให้กับผู้เรียนร่วมกันรักษาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนทั้งห้องเรียน และพื้นที่ 5 ส และ บริเวณโรงเรียน ตลอดจนชุมชนใกล้เคียง จัดกิจกรรมสารธารณะในคาบจิตสาธารณะ คัดเลือกนักเรียน จิตสาธารณะดีเด่น คณะกรรมการจัดกิจกรรมเสียงตามสาย กิจกรรมหน้าเสาธง ประชาสัมพันธ์กิจกรรม คณะกรรมการประกวด “The Best of the Best Classroom of the Public Consciousness” คณะกรรมการจัดทําป้ายรณรงค์ที่เกี่ยวกับกิจกรรม คณะกรรมการจัดบอร์ดนิทรรศการประชาสัมพันธ์ผล การดําเนินกิจกรรม คณะกรรมการฝ่ายสรุปประเมินผลกิจกรรม ส่งผลให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ทั้งด้านพุทธิพิสัย (Knowledge) ทักษะทักษะพิสัย (Process) และด้านจิตพิสัย (Attitude) ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรู้ ตลอดจนฝึกประสบการณ์การเรียนรู้ที่สร้างสรรค์ให้เกิดกับผู้เรียนองค์กรและชุมชน 6. บทเรียนที่ได้รับ (Lesson Learned) รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นออกแบบการเรียนรู้ตามทฤษฎีระบบ จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย ใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อฝึกให้ผู้เรียนได้นําทักษะการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน สร้างภูมิคุ้มกันให้กับ ตัวเองที่ต้องเจอกับปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของสังคม บูรณาการมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระ การเรียนรู้ต่างๆและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนครอบคลุมทั้งด้านพุทธิพิสัย ทักษะ พิสัย และจิตพิสัย และประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ CIPP Model ซึ่งสามารถนําไปออกแบบ พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้รูปแบบอื่นๆ ที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนได้บรรลุตามเป้าหมายของหลักสูตร อย่างไรก็ตามรูปแบบการจัดการเรียนรู้หน่วยบูรณาการดังกล่าวข้างต้นต้องใช้เวลาให้ผู้เรียนได้ฝึก ประสบการณ์ อย่างหลากหลายจากกิจกรรมต่อยอดการศึกษาปัญหาหรือกิจกรรมที่กลุ่มสนใจ ผู้เรียนต้องใช้ เวลานอกทํากิจกรรมแก้ปัญหา กิจกรรมรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชน และกิจกรรมสร้างความตระหนักให้กับ ผู้เรียนในโรงเรียน แต่เวลาเรียนมีจํากัดเพราะผู้สอนใช้จัดกิจกรรมในหน่วยสุดท้ายของภาคเรียนที่ 2 การจัด กิจกรรมที่กลุ่มผู้เรียนคิดไว้บางกิจกรรมจึงไม่เป็นไปตามแผน ผู้สอนควรนําหน่วยบูรณาการไปจัดกิจกรรมใน หน่วยแรกของภาคเรียนที่ 1 หรือภาคเรียนที่ 2 ของแต่ละปีการศึกษาจะสามารถให้ผู้เรียนได้จัดกิจกรรม อย่างหลากหลายในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในโรงเรียน และสามารถจัดกิจกรรมรณรงค์ต่างๆ สร้างความ ตระหนักให้กับผู้เรียนตลอดภาคเรียน หรือตลอดปีการศึกษา โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายของ โรงเรียน และสามารถลงพื้นที่สู่ชุมชนได้มากขึ้น อีกทั้งการจัดกิจกรรมการเรียนรู้หน่วยบูรณาการใช้จัด กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็นหลัก บูรณาการกับสาระมาตรฐาน การเรียนรู้ต่างๆ ควรมีการพัฒนาต่อยอดให้ทุกกลุ่มสาระได้จัดกิจกรรมบูรณาการในปีการศึกษาต่อไป 7. การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ/รางวัลที่ได้รับ นวัตกรรมรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ได้เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ทางเว็บไซต์โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ เว็บบล็อก ครูพรพนาhttp://krupornpana2555.wordpress.com และประชาสัมพันธ์กิจกรรมเสียงตามสายและเผยแพร่ในการประชุม เพื่อนครู นักเรียนผู้ปกครองคณะกรรมการสถานศึกษาผู้ปกครองเครือข่ายและจัดนิทรรศการการดําเนินกิจกรรมตลอดจน ส่งนวัตกรรมเข้าร่วมการคัดสรรรางวัลผลงานหนึ่งโรงเรียนหนึ่งนวัตกรรมระดับเขตพื้นที่ของคุรุสภาเขตพื้นที่การศึกษาตรัง เขต1เพื่อรับการประเมินผลงานนวัตกรรมระดับประเทศ ของสํานักงานเลขาธิการคุรุสภากระทรวงศึกษาธิการ