SlideShare a Scribd company logo
1 of 66
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์
Computer Architecture


โครงสร้างหน่วยประมวล
ผลกลาง
Central Processing Unit Structure

วิเชษฐ์ พลายมาศ
wichet.p@gmail.com
Facebook: Wichet.RMUTT
Microchip
CPU
Memory Unit
Machine Cycle
Processing Speed
Data Representation
Bites, Bytes, and Word
Binary Coding Scheme
System Unit

AGENDA


                         วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                         คอมพิว เตอร์ | CPU | 2
ไมโครชิพ (Microchip)

• Transistor
   – ทรานซิสเตอร์คือส่วนประกอบสำาคัญของสวิทซ์เล็กๆ
     ที่ถูกปฏิบัติการด้วยสัญญาณไฟฟ้าที่สามารถเลือก
     ระหว่างสัญญาณเปิดและปิดได้หลายล้านครั้งในหนึ่ง
     วินาที
   – เป็นส่วนสำาคัญของวงจรรวม (Integrated Circuit:
     IC) ซึ่งเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด ประกอบด้วย
     สายโลหะขึ้นรูปเข้าด้วยกันบนชิพเดี่ยวๆ ของวัสดุ
     พิเศษที่เรียกว่า ซิลิกอน
   – เทคนิคการขึ้นรูปวงจรรวมเรียกว่า เทคโนโลยี solid-
     state ซึ่งหมายความว่า อิเล็กตรอนจะวิ่งไปมาบนวัสดุ
     ของแข็งไม่ใช่เคลื่อนที่ในสุญญากาศอย่างเช่นหลอด
     สุญญากาศในวิทยุสมัยก่อน

                               วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                               คอมพิว เตอร์ | CPU | 3
ไมโครชิพ (Microchip)

• Solid-State
   – อิเล็กตรอนที่วิ่งไปมาบนวัตถุที่มีความหนาแน่น
• Silicon
   – ซิลิกอน เป็นวัตถุธรรมชาติที่พบได้ทั่วไปในดินและ
     ทราย
• Semiconductor
   – ตัวนำากึ่งยิ่งยวด คือ วัตถุที่มีคุณสมบัติทางไฟฟ้าอยู่
     ระหว่างสื่อนำาไฟฟ้าที่ดีกับฉนวนไฟฟ้า




                                  วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                  คอมพิว เตอร์ | CPU | 4
Transistor vs. Vacuum tube
การย่อส่วนประกอบ จากหลอดสุญญากาศขนาดเท่ากับหลอดไฟในปี 1940
ถูกแทนที่ด้วยทรานซิสเตอร์ขนาดที่เล็กลงประมาณหนึ่งพันเท่าในปี 1950
ปัจจุบัน ขนาดของทรานซิสเตอร์ยิ่งเล็กลงๆ กว่าเดิมหลายล้านเท่า

                                     วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                     คอมพิว เตอร์ | CPU | 5
ไมโครชิพ (Microchip)
• ไมโครชิพ (microchip or chip) หรือชิพ
   – มีหลายประเภท เช่น ไมโครโปรเซสเซอร์, ชิพหน่วย
     ตรรกะ, ชิพการสื่อสาร, ชิพกราฟิก, ชิพตัวประมวลผล
     ร่วมคณิตศาสตร์ เป็นต้น ชิพเหล่านี้มีหน้าที่แตกต่าง
     กัน แต่ชิพที่มีส่วนสำาคัญต่อการปฏิวัติด้าน
     คอมพิวเตอร์คือ ไมโครโปรเซสเซอร์ชิพ
• ไมโครโปรเซสเซอร์ (microprocessor)
   – มาจากคำาว่า microscopic processor หมายถึง ตัว
     ประมวลผลขนาดเล็กมาก หรือบางทีเรียกว่า ตัว
     ประมวลผลบนชิพ (processor on a chip)
   – คือวงจรที่ถูกย่อส่วนให้มีขนาดเล็กมากของตัว
     ประมวลผลคอมพิวเตอร์ เป็นส่วนที่ทำาหน้าที่ประมวล
     ผลหรือจัดการเปลี่ยนข้อมูลไปเป็นสารสนเทศ
                               วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                               คอมพิว เตอร์ | CPU | 6
ไมโครชิพ (Microchip)
  – กระบวนการย่อส่วนที่มีอยู่ในไมโครแมชิน
    (micromachine) ซึ่งเป็นอุปกรณ์ขนาดเล็กมากมี
    ขนาดน้อยกว่ามิลลิเมตร ที่ผนวกทั้งส่วนประกอบ
    เชิงกลไกและอิเล็กทรอนิกส์เข้าด้วยกัน
  – เช่น อุปกรณ์ที่ใช้ในเครื่องมือแพทย์หลายชนิด หรือ
    ตัวตรวจจับ (sensor) ในชิพที่ใช้ในถุงลมนิรภัยของ
    รถยนต์




                              วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                              คอมพิว เตอร์ | CPU | 7
การผลิต ชิพ
(บนซ้าย) แผ่นเวเฟอร์ที่ถูกพิมพ์ไว้ด้วยไมโครโปรเซสเซอร์หลายชิ้น (บนขวา) ชิพ
ไมโครโปรเซสเซอร์ที่ถูกขึ้นรูปภายในเฟรมป้องกันด้วยขาที่เสียบไว้สามารถเชือมต่อเข้า
                                                                       ่
กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่างเช่นไมโครคอมพิวเตอร์ (ล่างสุด) การเพิ่มขนาดของแผ่น
เวเฟอร์ ซึ่งเป็นวิธีที่จะช่วยลดต้นทุน (ชิพแต่ละชินจะมีขนาด 20x20 มม.)
                                                 ้

                                             วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                             คอมพิว เตอร์ | CPU | 8
หน่วยประมวลผลกลาง
• CPU (Central Processing Unit)
• เป็นกลุ่มของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ซับซ้อน ซึ่ง
  กระทำาการชุดโปรแกรมคำาสั่ง
• คอมพิวเตอร์ทกขนาดทั้งใหญ่และเล็กจะต้องมี
                ุ
  ซีพียูอย่างน้อยหนึ่งซีพยู
                         ี
• ประกอบด้วยส่วนสำาคัญ 2 ส่วน ได้แก่ หน่วย
  ควบคุม (control unit-CU) และหน่วย
  คำานวณ/ตรรกะ (arithmetic/logic unit-ALU)




                            วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                            คอมพิว เตอร์ | CPU | 9
หน่วยประมวลผลกลาง
• CPU (Central Processing Unit)
   – เป็นกลุ่มของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ซับซ้อน ซึ่งกระทำา
     การชุดโปรแกรมคำาสั่ง
   – ประกอบด้วยส่วนสำาคัญ 2 ส่วน ได้แก่ หน่วยควบคุม
     (control unit-CU) และหน่วยคำานวณ/ตรรกะ
     (arithmetic/logic unit-ALU)
• คอมพิวเตอร์ใช้หน่วยเก็บ 2 ชนิด ได้แก่ หน่วย
  เก็บหลักและรอง (primary storage and
  secondary storage)
   – ซีพียูจะปฏิสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับหน่วยเก็บหลักหรือ
     หน่วยความจำา (memory) ซึ่งมีการอ้างอิงทั้งในส่วน
     ของคำาสั่งและข้อมูล

                                วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                คอมพิว เตอร์ | CPU | 10
ซีพ ีย แ ละหน่ว ยความจำา หลัก
       ู
หน่วยควบคุมและ ALU, เรจิสเตอร์ และหน่วยความจำาหลัก เชื่อมต่อกันโดย
อาศัยเส้นทางอิเล็กทรอนิกส์ที่เรียกว่าบัส (เรจิสเตอร์เป็นพื้นที่ใช้เก็บข้อมูล
ชั่วคราว)

                                           วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                           คอมพิว เตอร์ | CPU | 11
หน่วยประมวลผลกลาง
•   Control Unit หน่วยควบคุม
    – บรรจุด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์
                                  ี่
      ทำาหน้าที่คอยประสานงานส่วนต่างของระบบคอมพิวเตอร์ใน
      การกระทำาการกับชุดโปรแกรมคำาสั่ง
•   ALU: Arithmetic/Logic Unit หน่วยคำานวณ/ตรรกะ
    – ทำาหน้าที่ปฏิบัติการด้านคำานวณและตรรกะ และคอยควบคุม
      ความเร็วของปฏิบัติการเหล่านั้น
    – ปฏิบัติการด้านคำานวณ (arithmetic operations) เป็นการ
      ทำางานด้านคำานวณพื้นฐาน ประกอบด้วย การบวก, ลบ, คูณ
      และหาร
    – ปฏิบัติการด้านตรรกะ (logical operations) เป็นการทำางาน
      ด้านการเปรียบเทียบ




                                  วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                  คอมพิว เตอร์ | CPU | 12
หน่วยประมวลผลกลาง
• Register เรจิสเตอร์
   – เป็นที่พักพิเศษความเร็วสูงที่ใช้เก็บข้อมูลและคำาสั่งไว้
     ชั่วคราวในระหว่างการประมวลผล




                                  วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                  คอมพิว เตอร์ | CPU | 13
หน่วยความจำา (Memory unit)
• มักใช้คำาว่าหน่วยความจำาหลัก (main memory)
  หรือแรม (RAM)
• คือหน่วยเก็บ ที่ปฏิบัติภารกิจหลัก 3 ประการ
   – เก็บข้อมูลที่ใช้สำาหรับการประมวลผล
   – เก็บชุดคำาสั่งหรือโปรแกรมสำาหรับประมวลผลข้อมูล
     นั้น และ
   – เก็บข้อมูลหรือสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผล รอ
     การเคลือนย้ายไปสู่อุปกรณ์แสดงผลหรือหน่วยเก็บ
             ่
     รอง




                             วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                             คอมพิว เตอร์ | CPU | 14
หน่วยความจำา (Memory unit)
• มีชื่อเรียกหลายชื่อ ได้แก่
   –   หน่วยเก็บปฐมภูมิ (primary storage)
   –   หน่วยความจำาปฐมภูมิ (primary memory)
   –   หน่วยความจำาภายใน (internal memory)
   –   หน่วยเก็บหลัก (main storage)
   –   หน่วยเก็บภายใน (internal storage)
   –   หน่วยความจำาหลัก (main memory)
• ผู้ผลิตจะใช้คำาว่า แรม (RAM) ซึ่งมาจากคำาว่า
  random-access memory เพราะหน่วยความ
  จำาถูกบรรจุอยู่บนชิพที่เรียกว่า แรมชิพ (RAM
  chip)

                               วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                               คอมพิว เตอร์ | CPU | 15
รอบเครื่อง (Machine Cycle)
• คือลำาดับของปฏิบัติการในการกระทำาการกับ
  หนึ่งโปรแกรมคำาสั่ง
• ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่
   – รอบคำาสั่งเครื่อง (instruction cycle) เรียกว่า I-cycle
     หรือ I-time กระทำาโดยหน่วยควบคุม ประกอบด้วย
       • (1) ไปนำามา -fetch, ไปนำาคำาสั่งมาจากหน่วยความจำา
       • (2) ถอดรหัส -decode, แปลความหมายตามคำาสั่ง
   – รอบการกระทำาการ (execution cycle) เรียกว่า E-
     cycle หรือ E-time กระทำาโดยหน่วยคำานวณ/ตรรกะ
     ประกอบด้วย
       • (3) กระทำาการ –execute, ปฏิบัติการกับข้อมูล
       • (4) เก็บ –store, จัดเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล
         ลงในหน่วยความจำาหรือเรจิสเตอร์
                                 วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                 คอมพิว เตอร์ | CPU | 16
รอบเครื่อง (Machine Cycle)
• ซีพียูจะมีนาฬิการะบบ (system clock) ภายใน
  ที่คอยให้จังหวะด้วยเวลาที่เท่ากันแก่ทุกการ
  ปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์
• ความเร็วรอบของนาฬิกาจะมีผลโดยตรงต่อ
  ความเร็วของคอมพิวเตอร์




                          วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                          คอมพิว เตอร์ | CPU | 17
ตัวอย่างการทำางานของรอบเครื่อง จาก 4 ขั้นตอนในรอบเครื่อง
(1) Fetch: หน่วยควบคุมจะไปหยิบคำาสั่งมาจากหน่วยความจำา
(2) decode: หน่วยควบคุมจะถอดรหัสโดยแปลความหมายเป็นคำาสั่งเครื่อง โดยพิจารณาว่าการเพิ่มค่า
ตามคำาสั่งนี้ทำาได้โดยการนำาค่าตัวเลขถัดไปคือ 76 ไปใส่ไว้ในเรจิสเตอร์เพื่อการนี้ ในขณะที่ค่าของ 88
ถูกเก็บไว้เรจิสเตอร์อีกตัวหนึ่งเรียบร้อยแล้ว
(3) execute: หน่วยคำานวณและตรรกะจะทำาการบวกค่าของผลรวมด้วย 76 ผลรวมที่ได้คือ 164
(4) store: เก็บค่า 164 ไว้ในเรจิสเตอร์และนำาค่าไปแทนที่ผลรวมเดิม (88) ในหน่วยความจำาหลัก


                                                     วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                                     คอมพิว เตอร์ | CPU | 18
ความเร็วในการประมวลผล
(Processing Speeds)
•   Megahertz (MHz)
    – เมกะเฮิรตซ์ เป็นเวลาหนึ่งล้านรอบเครื่องต่อวินาที
•   MIPS (Million Instructions Per Second)
    – มิปส์ หนึ่งล้านคำาสั่งต่อวินาที
•   FLOPS (Floating-Point Operations Per Second)
    – ฟล็อปส์ เวลาในการปฏิบัติการจุดลอยตัวเสร็จสิ้นในหนึ่ง
      วินาที
         • เมกะฟล็อปส์ (megaflops หรือ mflops คือหนึ่งล้าน) คือการ
           ปฏิบัตการจุดลอยตัวหนึ่งล้านครั้งต่อวินาที
                 ิ
         • กิกะฟล็อปส์ (gigaflops หรือ gflops คือพันล้าน)
         • ทีราฟล็อปส์ (teraflops หรือ tflops คือล้านล้าน)
         • พีทาฟล็อปส์ (petaflops หรือ pflops คือ พันล้านล้าน)




                                        วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                        คอมพิว เตอร์ | CPU | 19
ความเร็วในการประมวลผล
(Processing Speeds)
•   หน่วยวัดอื่นๆ—เวลาที่รอบเครื่องเสร็จสิ้นในเสี้ยววินาที
•   เป็นความเร็วของการเสร็จสิ้นในหนึ่งรอบของเครื่อง
•   มีหน่วยวัดความเร็วเป็น
     – มิลลิวินาที (millisecond) หนึ่งในพันวินาที เป็นหน่วย
       ความเร็วที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ยุคแรกๆ
     – ไมโครวินาที (microsecond) หนึ่งในล้านวินาที เป็นหน่วย
       ความเร็วที่ใช้ในไมโครคอมพิวเตอร์
     – นาโนวินาที (nanosecond) หนึ่งในพันล้านวินาที เป็น
       หน่วยความเร็วทีใช้ในเมนเฟรม
                         ่
     – ไพโควินาที (picosecond) หนึ่งในล้านล้านวินาที เป็น
       หน่วยความเร็วทีใช้คอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูง ที่ใช้ใน
                           ่
       งานทดลองและวิจย       ั



                                   วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                   คอมพิว เตอร์ | CPU | 20
การแทนข้อมูล: เปิด/ปิด
(Data Representation: On/Off)
• ระบบเปิด/ปิดสองสถานะนี้เรียกว่า ระบบฐานสอง
  (binary system)
• การใช้สองสถานะแทนสัญญาณไฟฟ้าเปิด/ปิด นี้
  สามารถใช้แทนข้อมูลหรือภาษาของมนุษย์ใน
  ระบบคอมพิวเตอร์




                         วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                         คอมพิว เตอร์ | CPU | 21
การแทนข้อ มูล แบบฐานสอง
แสดงตัวอย่างการแทนตัวอักษร H-E-R-O ในรูปแบบของการปิด/เปิด หรือ
0/1 ในรหัสฐานสอง (แอสกี-8)



                                   วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                   คอมพิว เตอร์ | CPU | 22
บิต, ไบต์ และเวิร์ด (Bites, Bytes, and
Word)
• ในระบบฐานสอง 0 หรือ 1 แต่ละจำานวนเรียกว่า
  บิต (bit) ซึ่งมาจากคำาว่า binary digit
• บิตเป็นหน่วยพื้นฐานการจัดเก็บข้อมูลในหน่วย
  ความจำาคอมพิวเตอร์
• แต่บิตเพียงหนึ่งบิต ย่อมไม่สามารถใช้แทน
  ตัวเลข, ตัวอักษร และอักขระพิเศษได้เพียงพอที่
  คอมพิวเตอร์จะประมวลผลได้ พบว่าเมื่อรวบรวม
  กลุมของบิตขนาดทีเหมาะสมจำานวนหนึ่ง
     ่                ่
  ประมาณ 7-8 บิตเข้าด้วยกัน เรียกว่าไบต์ (byte)



                           วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                           คอมพิว เตอร์ | CPU | 23
บิต, ไบต์ และเวิร์ด (Bites, Bytes, and
Word)
• เวิร์ด (word) คือกลุ่มของบิตที่ถูกจัดการ หรือจัด
  เก็บไว้ได้ ณ เวลาหนึงๆ โดยซีพียู
                        ่
• เวิร์ดเป็นขนาดของเรจิสเตอร์ที่จะใช้อางอิง
                                        ้
  หน่วยของข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ ขนาด
  ของเวิร์ดจะแปรเปลี่ยนไปตามชนิดของ
  คอมพิวเตอร์ เช่น 16 บิต, 32 บิต, 64 บิต
  เป็นต้น
• เครื่อง 32 บิต หมายถึงมีการอ้างอิงตำาแหน่ง
  (addressing) ครั้งละ 32 บิตในการทำางานครั้ง
  หนึ่งๆ


                             วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                             คอมพิว เตอร์ | CPU | 24
เค้าร่างการเข้ารหัสฐานสอง (Binary
Coding Scheme)
•   EBCDIC เอ็บซีดิก
     – มาจากคำาว่า Extended Binary Coded Decimal
       Interchange Code เป็นเค้าร่างของรหัสที่ใช้ใน
       คอมพิวเตอร์เมนเฟรมของไอบีเอ็ม และเครื่องเข้ากันได้กับ
       ไอบีเอ็ม
•   ASCII แอสกี
     – มาจากคำาว่า American Standard Code Information for
       Interchange เป็นรหัสฐานสองทีใช้กันแพร่หลายในไมโคร
                                    ่
       คอมพิวเตอร์ ASCII-7 ใช้แทนข้อมูลได้ 128 รูปแบบ
       ASCII-8 ใช้แทนข้อมูลได้ 256 รูปแบบ
•   Unicode ยูนิโค้ด
     – ใช้สองไบต์ (16 บิต) สำาหรับอักขระแต่ละตัว สามารถแทน
       ได้ถึง 65,536 รูปแบบ


                                    วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                    คอมพิว เตอร์ | CPU | 25
เค้าร่างการเข้ารหัสฐานสอง ECDIC และ ASCII-8 มีอักขระอีกหลาย
ตัวทีไม่ถูกแสดงในที่นี้ ทังเครื่องหมายวรรคตอน, อักษรกรีก,
     ่                    ้
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ และสัญลักษณ์ภาษาต่างประเทศ

                                   วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                   คอมพิว เตอร์ | CPU | 26
บิตภาวะคู่หรือคี่ (Parity Bit)
• บิตภาวะคู่หรือคี่ หรือบางทีเรียกว่าบิตตรวจสอบ
  (parity bit or check bit) เป็นบิตที่เพิมต่อท้าย
                                         ่
  ไบต์เพื่อใช้ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล
  แต่ละไบต์
• อาจเป็นภาวะคู่ (even parity) หรือคี่ (odd
  parity) ก็ได้
• การตรวจสอบความถูกต้องที่แม่นยำากว่าเรียกว่า
  CRC (Cyclic Redundancy Check)




                            วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                            คอมพิว เตอร์ | CPU | 27
Parity bit ตัวอย่างของการใช้เค้าร่างของพาริตี้แบบภาวะบิตคู่




                                      วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                      คอมพิว เตอร์ | CPU | 28
หน่วยระบบ
(The System Unit)
• หน่วยระบบ หรือตัวเครื่อง
   – เป็นกล่องซึ่งบรรจุไว้ด้วยส่วนประกอบทางไฟฟ้าที่
     ทำาให้คอมพิวเตอร์สามารถทำางานได้
• ประกอบด้วย
   – แหล่งจ่ายไฟฟ้า (power supply)
   – แผงหลัก (motherboard)
   – ซีพียู (CPU)
   – ชิพประมวลผลเฉพาะงาน (specialized processor
     chips)
   – นาฬิการะบบ (system clock)
   – แรมชิพ (RAM chips)
   – รอมชิพ (ROM chips)
                               วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                               คอมพิว เตอร์ | CPU | 29
วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
คอมพิว เตอร์ | CPU | 30
ภาพจำาลองเมนบอร์ด (mainboard or mother board)

                                   วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                   คอมพิว เตอร์ | CPU | 31
หน่วยระบบ
(The System Unit)
   – รูปแบบอื่นของหน่วยความจำา ได้แก่ แคช (cache), วี
     แรม (VRAM), แฟลช (flash)
   – สล็อตและบอร์ดขยาย (expansion slots and
     boards)
   – เส้นบัส (bus lines)
   – พอร์ต (ports)
   – สล็อตและการ์ด PCMCIA (PCMCIA slots and
     cards)
• Peripheral Devices อุปกรณ์รอบข้าง
   – หมายถึง ฮาร์ดแวร์ที่อยูภายนอกซีพียู
                            ่




                               วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                               คอมพิว เตอร์ | CPU | 32
หน่วยระบบและแผงหลัก (system unit and motherboard) (บน) หน่วยระบบ
(ล่าง) แผงหลัก
                                  วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                  คอมพิว เตอร์ | CPU | 33
ไมโครคอมพิวเตอร์และไมโครโปรเซสเซอร์ ไมโครคอมพิวเตอร์และชิพทีนิยม
                                                            ่
ใช้กนแพร่หลาย
    ั


                                  วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                  คอมพิว เตอร์ | CPU | 34
วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
คอมพิว เตอร์ | CPU | 35
แรมชิพ (RAM Chips)
• SIMM-ซิม (single in-line memory module)
   – แรมชิพรุ่นก่อนๆ มักผนวกเป็นแถวเดี่ยวๆ บนบนแผง
     แล้วเสียบลงในช่องเสียบ (socket) บนเมนบอร์ด ซิม
     จะใช้แรมชิพหลายอันผนึกลงบนด้านเดียว
• DIMM-ดิม (dual in-line memory module)
   – แรมชิพรุ่นใหม่นิยมใช้ ซึ่งจะผนึกแรมชิพหลายอันลง
     บนทั้งสองด้าน
• แรมชิพมีหลายชนิด
   – DRAM-ดีแรม(dynamic ram) เป็นชิพที่จำาเป็นต้อง
     ถูกรีเฟรช (refresh) เพื่อประจุไฟฟ้าใหม่บ่อยๆ โดย
     ซีพียู
   – SRAM-เอสแรม (static RAM) เป็นชิพความเร็วสูง
     เพราะไม่จำาเป็นต้อง refresh ใช้สำาหรับงานบางอย่าง
     ในหน่วยความจำา ด้วยข้อจำาวิเดด้านขนาดและราคา ต ยกรรม
                                กั ชษฐ์ พลายมาศ | สถาปั
                              คอมพิว เตอร์ | CPU | 36
วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
คอมพิว เตอร์ | CPU | 37
แรมชิพ (RAM Chips)
   – EDO RAM-อีดีโอแรม (extended data-out RAM)
     เป็นดีแรมชนิดใหม่ ซึ่งมีประสิทธิภาพใกล้เคียงเอ็ส
     แรม มีขาจำานวน 72 ขา ความเร็วประมาณ 60 ns
   – SDRAM-เอสดีแรม (synchronous DRAM) มีขา
     จำานวน 168 ขา ความเร็วประมาณ 6-10 ns สามารถ
     เพิ่มอัตราความเร็วของบัสส่วนหน้า (FSB: front side
     bus) ได้ถึง 100-133 MHz.
• SDRAM บางชนิดยังมีคุณสมบัติที่เรียกว่า ECC
  (Error Checking & Correcting) เป็นแรมชนิด
  ที่มีการตรวจและแก้ไขข้อผิดพลาดในหน่วย
  ความจำาให้โดยอัตโนมัติ


                               วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                               คอมพิว เตอร์ | CPU | 38
รอมชิพ (ROM chip)
•   รอม-ROM มาจากคำาว่า read-only memory หน่วยความ
    จำาที่อ่านได้อย่างเดียว ที่มักรู้จักในชื่อเฟิร์มแวร์
    (firmware) ไม่สามารถเขียนหรือลบได้โดยผู้ใช้
•   แบ่งออกเป็น
     – PROM-พรอม (programmable read-only memory) เป็น
       รอมชิพเปล่าๆ ทีสามารถเขียนโปรแกรมลงไปได้โดยอาศัย
                        ่
       เครื่องมือพิเศษ และหลังจากเขียนแล้วไม่สามารถลบได้
     – EPROM-อีพรอม (erasable PROM) เช่นเดียวกับพรอม
       เป็นรอมชิพทีสามารถใช้เครื่องมือพิเศษเขียนโปรแกรมลง
                     ่
       ไปและได้ แต่การลบจะอาศัยอุปกรณ์พิเศษทีใช้แสงอัลทรา
                                                ่
       ไวโอเล็ต
     – EEPROM-อีอีพรอม (electrically EPROM)เป็นรอมชิพที่
       สามารถเขียนและลบโดยอาศัยกระบวนการทางไฟฟ้า



                                 วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                 คอมพิว เตอร์ | CPU | 39
หน่วยความจำาแคช (cache memory)
•   หน่วยความจำาแคช เป็นพื้นที่หน่วยความจำาความเร็วสูง
    พิเศษที่ซีพียสามารถเข้าถึงได้อย่างรวดเร็วกว่าแรม มี
                 ู
    ราคาแพงกว่า ขนาดเล็กกว่า
     – Primary cache เรียกว่า cache level 1 หรือ L1 เป็นหน่วย
       ความจำาแคชทีอยู่ภายในตัวซีพียู (internal cache) อยู่ใน
                     ่
       ตำาแหน่งที่ใกล้กับซีพียูมากทีสุด มีความเร็วเท่ากับความเร็ว
                                    ่
       ของซีพียู
     – Secondary cache เรียกว่า cache level 2 หรือ L2 เป็น
       หน่วยความจำาแคชทีอยู่ภายนอกตัวซีพยู (external cache)
                            ่                 ี
       ติดตั้งบนเมนบอร์ด อยู่ในตำาแหน่งถัดจาก cache L1 แต่
       ใกล้ซพียูกว่าแรม
              ี
     – Cache L3 (Level 3) เป็นหน่วยความจำาทีอยู่ภายนอกซีพียู
                                                  ่
       บนเมนบอร์ดแต่อยู่ใกล้กับซีพียูมาก มีความเร็วมากกว่าแรม
       แต่ช้ากว่า cache L1 และ L2 แต่ขนาดใหญ่กว่า


                                     วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                     คอมพิว เตอร์ | CPU | 40
แสดงการทำางานอย่างง่ายของแคชประเภทต่างๆ



                               วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                               คอมพิว เตอร์ | CPU | 41
เส้นบัส (Bus Lines)
• เรียกสั้นๆ ว่า บัส
• คือเส้นทางผ่านของไฟฟ้าที่จัดเตรียมไว้สำาหรับ
  การส่งผ่านบิตภายในซีพียู และระหว่างซีพียูกับ
  อุปกรณ์อื่นๆ ในหน่วยระบบ
• ในระบบคอมพิวเตอร์มีบัสหลายชนิด เช่น
   – บัสแอดเดรส (address bus)
   – บัสควบคุม (control bus),
   – บัสข้อมูล (data bus)
• ในไมโครคอมพิวเตอร์ บัสที่สำาคัญเรียกว่า บัส
  ขยาย (expansion bus) ที่ใช้ขนถ่ายข้อมูล
  ระหว่างแรมกับสล็อตขยาย
                            วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                            คอมพิว เตอร์ | CPU | 42
บัส เส้นทางผ่านไฟฟ้าทีส่งผ่านบิตภายในซีพียและระหว่างซีพียูกับอุปกรณ์
                      ่                   ู
รอบข้าง บัสขยายใช้เชื่อมต่อแรมกับสล็อตขยาย โลคัลบัสใช้เชื่อมต่อสล็อต
ขยายไปยังซีพียูโดยตรง


                                      วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                      คอมพิว เตอร์ | CPU | 43
บัส (bus)
•   แอดเดรสบัส (Address Bus)
    –    ใช้สงข้อมูลประเภทที่อยูของอุปกรณ์ตนทางและอุปกรณ์ปลายทาง
             ่                  ่            ้
        เพือเป็นแหล่งอ้างอิงก่อนทีจะทำาการส่งข้อมูลบนบัสข้อมูล
           ่                      ่

• บัสข้อมูล (Data Bus)
    – คือเส้นทางที่เชือมระหว่างโพรเซสเซอร์กับหน่วยความจำา
                      ่
      หรือหน่วยความจำากับอุปกรณ์อินพุต/เอาต์พุต
• คอนโทรลบัส (Control Bus)
    – คือทางเดินสำาหรับสัญญาณควบคุมการทำางานของส่วนต่างๆ




                                     วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                     คอมพิว เตอร์ | CPU | 44
บัสแอดแดรส (address bus) บัสข้อมูล (data bus) และบัสควบคุม (control
bus) ใช้เชื่อมต่อระหว่างโพรเซสเซอร์ (ALU + Control unit) กับหน่วย
ความจำาหลัก และใช้เชื่อมต่อกับ I/O ผ่านขยายหรือ I/O bus


                                      วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                      คอมพิว เตอร์ | CPU | 45
วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
คอมพิว เตอร์ | CPU | 46
วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
คอมพิว เตอร์ | CPU | 47
วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
คอมพิว เตอร์ | CPU | 48
วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
คอมพิว เตอร์ | CPU | 49
วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
คอมพิว เตอร์ | CPU | 50
วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
คอมพิว เตอร์ | CPU | 51
พอร์ต (Ports) (1)
• คือซ็อกเก็ตทีอยู่ด้านนอกของตัวเครื่องที่ถูก
               ่
  เชื่อมต่อไปยังส่วนบอร์ดขยายด้านในของตัว
  เครื่อง
• พอร์ตมีหลายชนิด ได้แก่
   – Parallel Port พอร์ตขนาน หรือ LPT: port
       • เป็นสายเชื่อมต่อทีอนุญาตให้มีการส่งผ่านข้อมูลทีละ 8
                             ่
         บิตอย่างต่อเนื่อง จึงส่งได้เร็วกว่าพอร์ตอนุกรม ระยะ
         ทางไม่เกิน 15 ฟุต ดังนั้น จึงมักนิยมใช้เป็นสายเชื่อมต่อ
         กับเครื่องพิมพ์
       • มีรู 25 รู (พอร์ตนี้จะเป็นตัวเมีย หมายถึงมีรูทตัวพอร์ต)
                                                       ี่
       • พอร์ตนี้จะต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เครื่องพิมพ์ เทป
         ไดร์ฟ สแกนเนอร์ เป็นต้น สามารถต่อความยาวไม่มาก
         นัก มีราคาแพงกว่าสายของพอร์ตอนุกรมด้วย

                                   วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                   คอมพิว เตอร์ | CPU | 52
พอร์ต (Ports) (2)
   – Serial Port พอร์ตอนุกรม หรือ COM port หรือพอร์ต
     RS-232
      • เป็นสายเชื่อมต่อทีส่งบิตทีละ 1 บิตบนสายเพียงเส้น
                           ่
        เดียว
      • พอร์ตอนุกรมจะมีหวเข็ม 9 เข็ม หรือ 25 เข็ม (พอร์ตนี้
                             ั
        จะเป็นตัวผู้ เพราะมีเข็มยื่นออกมา)
      • ใช้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เม้าส์ โมเด็ม สแกน
        เนอร์ เป็นต้น
      • สามารถต่อความยาวได้ถง 6 เมตร และราคาสายก็ไม่
                                   ึ
        แพงนัก




                                  วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                  คอมพิว เตอร์ | CPU | 53
พอร์ต
•   Video Adapter Port
     – ใช้เชื่อมต่อระหว่างจอภาพซึ่งอยู่ภายนอกเข้ากับการ์ด
        แสดงผลที่อยู่ภายในตัวเครื่อง
•   SCSI สกัซซี่
     – มาจากคำาว่า Small Computer System Interface
        พอร์ตแบบสกัซซี่สามารถเชื่อมต่อเพื่อรับส่งแบบความเร็ว
        สูงเข้ากับอุปกรณ์แบบสกัซซี่อนๆ ได้ 7-15 ตัว
                                     ื่
•   Infrared Port พอร์ตอินฟราเรด
     – จะอนุญาตให้คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์
        อืนๆ โดยปราศจากสายได้
          ่
•   USB Port ยูเอสบี
     – พอร์ตที่อนุญาตให้อปกรณ์จำานวนถึง 127 อุปกรณ์
                           ุ
        สามารถเชื่อมต่อผ่านพอร์ตทั่วไปเพียงหนึ่งพอร์ต
•   PCMCIA หรือพีซีการ์ด
         • มาจากคำาว่า Personal Computer Card Memory International
           Association


                                     วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                     คอมพิว เตอร์ | CPU | 54
พอร์ต
• พอร์ต USB (Universal Serial Bus Port)
• พอร์ตชนิดใหม่รับส่งความเร็วได้สูงกว่าพอร์ต
  ทั่วไป
• สามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่อเนื่องได้ 127 ตัว
• เป็นมาตรฐานใหม่ที่มีมากับเครื่องคอมพิวเตอร์
• การติดตั้ง เพียงต่ออุปกรณ์เข้ากับ USB port ก็
  สามารถใช้งานอุปกรณ์นั้นๆ ได้ โดยไม่จำาเป็น
  ต้อง boot เครื่องใหม่
• นอกจากพอร์ตอนุกรมและขนานแล้ว ยังมีพอร์ต
  อืน ๆ อีกได้แก่ พอร์ตคีย์บอร์ด, พอร์ตเกมส์,
    ่
  พอร์ตจอ เป็นต้น

                           วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                           คอมพิว เตอร์ | CPU | 55
พอร์ตด้านหลังของพีซและแมคอินทอช (ล่าง)
                     ี
สายโซ่ 2 แบบ อุปกรณ์แบบสกัซซีสามารถต่อ
เข้ากับด้านในหรือด้านของคอมพิวเตอร์กได้
                                    ็




วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
คอมพิว เตอร์ | CPU | 56
สายโซ่ 2 แบบ อุปกรณ์แบบสกัซซีสามารถต่อเข้ากับด้านในหรือด้านของ
คอมพิวเตอร์ก็ได้
                                     วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                     คอมพิว เตอร์ | CPU | 57
พีซการ์ด มีขนาดพอๆ กับบัตรเครดิต ส่วนใหญ่
    ี
ใช้เสียบลงในสล็อตของโน้ตบุ้คเพื่อแรมหรือเป็น
แฟ็กซ์/โมเด็ม



                                     วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                     คอมพิว เตอร์ | CPU | 58
สล็อต (slot)
•   ISA Slots ( Industrial                  •   AGP Slots (Accelerated
    Standard Architecture)                      Graphics Port)
     –   เป็น Slots ที่มีการเชื่อมต่อแบบ         –   เป็น Slots ทีมีการเชื่อมต่อแบบ
                                                                  ่
         16 บิต เป็นมาตราฐานแบบเก่า ที่              32 บิต สำาหรับอุปกรณ์ตอพ่วงที่
                                                                             ่
         ต่อเชื่อมกับอุปกรณ์ที่มการรับส่ง
                                 ี                   ใช้ความเร็วสูงขึ้น เช่น การ์ด
         ไม่มาก เช่น โมเด็ม การ์ดจอ                  เสียง การ์ดจอ ให้มประสิทธิภาพ
                                                                         ี
•   PCI Slots (Peripheral                            ในระดับ Graphics ทั้ง 2 และ 3
                                                     มิติ ในระดับ 64 บิต
    Connection Interface)
     –   เป็น Slots ที่มีการเชื่อมต่อแบบ    •   IDE Connector
         32 บิต สำาหรับอุปกรณ์ตอพ่วงที่
                                  ่              –   เป็น Connector ที่ใช้ตอกับ
                                                                           ่
         ใช้ความเร็วสูงขึ้น เช่น การ์ด               Hard Disk และ CD-Rom
         เสียง การ์ดจอ ให้มีประสิทธิภาพ     •   Battery Backup
         ในระดับ Graphics
                                                 –   ใช้สำาหรับรักษา เวลาและข้อมูล
•   Communication Port (Com                          ของอุปกรณ์ตางๆ ทีจำาเป็นใน
                                                                     ่  ่
    port)                                            เวลาที่ปิดเครือง
                                                                   ่
     –   เป็น Port ที่ใช้ตอกับอุปกรณ์
                          ่
         ภายนอก ทั้ง Serial Port (ได้แก่
         เม้าส์ โมเด็ม) และ Parallel Port
         (ได้แก่ เครืองพิมพ์)
                     ่




                                                วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                                คอมพิว เตอร์ | CPU | 59
USB
•   Universal Serial Bus (USB - ยูเอสบี) เป็นข้อกำาหนดมาตรฐาน
    ของบัสการสื่อสารแบบอนุกรม เพื่อใช้ในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ ซึ่ง
    โดยทั่วไปจะใช้กับคอมพิวเตอร์ แต่สามารถใช้ได้กับอุปกรณ์อื่น เช่น
    เซตทอปบอกซ์ (set-top boxes), เครื่องเล่นเกม (game consoles)
    และพีดีเอ (PDAs).
•   ยูเอสบีได้กลายเป็นรูปแบบการเชื่อมต่อมาตรฐานสำาหรับอุปกรณ์
    มัลติมีเดีย เช่น สแกนเนอร์ หรือกล้องถ่ายรูปดิจิตอล
•   นิยมนำาไปทดแทนการเชือมต่อแบบเดิม เช่น การเชื่อมต่อแบบ
                              ่
    ขนาน (parallel) สำาหรับเครื่องพิมพ์ การเชื่อมต่อแบบ
    อนุกรม(serial) สำาหรับโมเด็ม
•   เนื่องจากยูเอสบีช่วยลดข้อจำากัดหลาย ๆ ด้านของการเชื่อมต่อแบบ
    เดิม เช่น การเชื่อมต่อเครื่องพิมพ์หลาย ๆ เครื่องเข้ากับคอมพิวเตอร์
    เครื่องเดียว
•   มีเพียงอุปกรณ์ที่ต้องการความสามารถในการส่งผ่านข้อมูลมาก ๆ
    เท่านั้นที่ไม่สามารถใช้ยูเอสบี เช่น จอภาพแสดงผล หรือ
    มอนิเตอร์ และอุปกรณ์ดิจิตอลวีดีโอคุณภาพสูง เป็นต้น




                                        วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                        คอมพิว เตอร์ | CPU | 60
(A)   (B) คอนเนคเตอร์ USB แบบ A   (C) USB hub




                        อัต ราความเร็ว
                        USB 1.0 200 Mbps
                        USB 2.0 480 Mbps
                        USB 3.0 5,000 Mbps




       วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
       คอมพิว เตอร์ | CPU | 61
FireWire (1)
•   ไฟร์ไ วร์ (FireWire) อาจรู้จักในชื่อ i.Link และ IEEE 1394
    เป็นข้อกำาหนดมาตรฐานการเชือมต่อบัสการสื่อสารแบบอนุกรมของ
                                    ่
    คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
•   อุปกรณ์ที่นิยมใช้ FireWire มากที่สุดคือ กล้องวิดีโอดิจิทัล ซึ่งมีช่อง
    เสียบ FireWire มาตั้งแต่ ค.ศ. 1995 เครื่องคอมพิวเตอร์บางยี่ห้อ
    เช่น แอปเปิล คอมพิวเตอร์ หรือ โซนี่ ได้รวม FireWire เป็นอุปกรณ์
    มาตรฐานเช่นกัน
•   FireWire รุ่นแรกเรียกว่า FireWire 400 สามารถส่งข้อมูลได้
    100, 200, 400 Mbps (ในความเป็นจริงจะส่งได้ 98.304,
    196.608, 393.216 Mbit/s ตามลำาดับ) สามารถต่อพ่วงอุปกรณ์ได้
    สูงสุด 63 ชิ้น (โดยใช้ฮับเข้าช่วย) สามารถเชือมต่อแบบ peer-to-
                                                ่
    peer เช่น เชื่อมระหว่างเครื่องพิมพ์และสแกนเนอร์ โดยไม่ต้องผ่าน
    คอมพิวเตอร์ FireWire ยังสามารถจ่ายพลังงานได้ 45 วัตต์ต่อพอร์
    ทอีกด้วย
•   FireWire 800 เป็นมาตรฐานที่แอปเปิลพัฒนาเพิ่มเติมจาก
    IEEE1394b ในปี ค.ศ. 2003 โดยพัฒนาให้มีความเร็วเพิ่มขึ้นเป็น
    786.432 Mbit/s โดยที่ยังเข้ากันได้กับ FireWire 400 รุ่นเก่า




                                          วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                          คอมพิว เตอร์ | CPU | 62
FireWire (2)
                                       •   ด้วยการพัฒนาตามหลักการของการส่งข้อมูล
                                           แบบใหม่โดยการส่งแบบคู่ขนาน 9 พิน จะช่วย
                                           ในการส่งผ่านข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว
                                           โดยFirewire 2008 ความเร็ว 3.2Gbit/s ได้รบ  ั
                                           การรับรองแล้ว จากสมาพันธ์ IEEE โดยได้
                                           ทำาการรับรองมาตราฐาน IEEE 1394 แล้ว
                                           หรือทีรู้จักกันในนาม Firewire โดยมาตราฐาน
                                                   ่
                                           นี้ได้ถูกเรียกว่า IEEE 1394-2008
                                       •   จะมีสเปคความเร็วอยู่ที่ 1.6 Gbit/s และ 3.2
                                           Gbit/s โดย Firewire ใหม่นี้จะใช้เคเบิลแบบ 9
ตัวอย่างหัวเสียบ FireWire แบบ 6 พิน        pin เหมือนกับ Firewire 800 แต่กลับเป็นที่
                                           นิยมมากกว่า หากดูในกลุมกล้องถ่ายวีดีโอ
                                                                     ่
อัต ราความเร็ว FireWire                    ประเภท DV แต่สำาหรับ Firewire 800 นั้นกลุ่ม
FireWire 1.0       400 Mbps                ผู้ใช้มีอยูจำากัดมากIEEE กล่าวว่ามาตรฐาน
                                                      ่
FireWire 2.0       800 Mbps
                                           ใหม่นี้นำาออกมาใช้ตั้งแต่ตุลาคมปี 2551

                                      วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                      คอมพิว เตอร์ | CPU | 63
ชิปเซ็ต (chipset)
•   ชิพเซ็ตเป็นเสมือนหัวใจของเมนบอร์ด มีหน้าที่หลักเป็น
    เหมือนทั้ง อุปกรณ์ แปลภาษา ให้อุปกรณ์ต่างๆ ที่อยู่บน
    เมนบอร์ดสามารถทำางานร่วมกันได้ และทำาหน้าที่ควบคุม
    อุปกรณ์ต่างๆ ให้ทำางานได้ตามต้องการ
•   ชิปเซ็ตประกอบด้วย
     – System Controller (Intel เรียกว่า North Bridge นอร์ธบริดจ์)
       หรือ Memory Controller Hub (MCH) ทำาหน้าที่ควบคุมการ
       สื่อสารระหว่างหน่วยความจำาของระบบ, โปรเซสเซอร์, AGP
     – PCI to ISA Bridge (หรือ Intel เรียกว่า South Bridge เซาธ์
       บริดจ์) หรือ I/O Controller Hub (ICH) ทำาหน้าที่ในการ
       ควบคุมการสื่อสารระหว่างอุปกรณ์ PCI, ระบบควบคุมบัส,
       อุปกรณ์ ATA, AC'97, USB, IEEE1397 (firewire) และ LPC
       controller [อุปกรณ์คอนโทรลเลอร์เหล่านี้ถูกบัดกรีติดอยู่บนมา
       เธอร์บอร์ดและไม่สามารถเปลี่ยนหรือทำาการอัพเกรดได้]หรือ
       อุปกรณ์ที่มีความเร็วตำ่ากว่า เช่น ระบบบัสแบบ ISA ระบบบัส
       อนุกรมแบบ USB ชิพคอนโทรลเลอร์ IDE ชิพหน่วยความจำา
       รอมไออส ฟล็อบปี้ดิกส์ คีย์บอร์ด พอร์ตอนุกรม และพอร์ตขนาน



                                      วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                      คอมพิว เตอร์ | CPU | 64
Front Side Bus (FSB) บัสส่วนหน้า
• FSB เป็นอินเตอร์เฟซระหว่างโปรเซสเซอร์กับ
  ชิปเซ็ต North Bridge ของเมนบอร์ด นาฬิกา
  ของบัสยิ่งเร็วก็ยิ่งมีแบนด์วธมากขึ้น
                              ิ
• FSB คือความเร็วบัสซึ่งใช้ในการเชื่อมต่อ
  โปรเซสเซอร์เข้ากันหน่วยความจำาหลัก (RAM)
  เนื่องจากโปรเซสเซอร์มีความเร็วสูงขึ้นเรื่อยๆ
  ความเร็วบัสของระบบจึงกลายเป็นปัญหาคอขวด
  สำาหรับพีซียุคใหม่ โดยทั่วไปแล้วความเร็วบัส
  ของระบบคือ 400 MHz, 533 MHz, 667 MHz,
  และ 800 MHz 


                          วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                          คอมพิว เตอร์ | CPU | 65
FSB = คือ Front Side
         Bus หมายถึง การส่งข้อมูล
         ระหว่าง CPU และ ชิพเซ็ต
         NorthBridge




วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
คอมพิว เตอร์ | CPU | 66

More Related Content

What's hot

อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)Araya Chiablaem
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์Benyapar Yuki
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมSupanut Boonlert
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-7 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-7 (Group2)หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-7 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-7 (Group2)Supaksorn Tatongjai
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Natchanan Mankhong
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ กิตติธัช งามดี
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpointอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpointกิตติธัช งามดี
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2กิตติธัช งามดี
 
งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3Araya Chiablaem
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์Looknam Kamonchanok
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ กิตติธัช งามดี
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555ปรีชาพล ยานะกุล
 

What's hot (16)

อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-7 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-7 (Group2)หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-7 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-7 (Group2)
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpointอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpoint
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
 
งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบสาระสนเทศ
องค์ประกอบสาระสนเทศองค์ประกอบสาระสนเทศ
องค์ประกอบสาระสนเทศ
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
 

Viewers also liked

5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuret5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuretkrissapat
 
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)krissapat
 
Power BI Desktop screen tour in Thai
Power BI Desktop screen tour in ThaiPower BI Desktop screen tour in Thai
Power BI Desktop screen tour in ThaiPanaEk Warawit
 
5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuret5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuretkrissapat
 
9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)krissapat
 
10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)krissapat
 
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการkanlayarat
 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้panisa thepthawat
 
4 ca-process structure
4 ca-process structure4 ca-process structure
4 ca-process structurekrissapat
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Natcha Wannakot
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้panisa thepthawat
 

Viewers also liked (12)

5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuret5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuret
 
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
 
Power BI Desktop screen tour in Thai
Power BI Desktop screen tour in ThaiPower BI Desktop screen tour in Thai
Power BI Desktop screen tour in Thai
 
Ict
IctIct
Ict
 
5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuret5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuret
 
9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
 
10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
 
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
 
4 ca-process structure
4 ca-process structure4 ca-process structure
4 ca-process structure
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 

Similar to 1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)

3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structure3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structurekrissapat
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์supatra2011
 
3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์PongPang
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1Noomim
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1Pheeranan Thetkham
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1Pheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)Supaksorn Tatongjai
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1MilkSick
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1MilkSick
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์pui3327
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Orapan Chamnan
 
Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]twatfangmin
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์prakaipet
 
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นโครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นBeerza Kub
 
หลักการทำงานของระบบคอม
หลักการทำงานของระบบคอมหลักการทำงานของระบบคอม
หลักการทำงานของระบบคอมฐนกร คำเรือง
 
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...ฐนกร คำเรือง
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์wannuka24
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์wannuka24
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์wannuka24
 

Similar to 1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17) (20)

3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structure3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structure
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1
 
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นโครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
 
Cpu
CpuCpu
Cpu
 
หลักการทำงานของระบบคอม
หลักการทำงานของระบบคอมหลักการทำงานของระบบคอม
หลักการทำงานของระบบคอม
 
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 

1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)

  • 2. Microchip CPU Memory Unit Machine Cycle Processing Speed Data Representation Bites, Bytes, and Word Binary Coding Scheme System Unit AGENDA วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 2
  • 3. ไมโครชิพ (Microchip) • Transistor – ทรานซิสเตอร์คือส่วนประกอบสำาคัญของสวิทซ์เล็กๆ ที่ถูกปฏิบัติการด้วยสัญญาณไฟฟ้าที่สามารถเลือก ระหว่างสัญญาณเปิดและปิดได้หลายล้านครั้งในหนึ่ง วินาที – เป็นส่วนสำาคัญของวงจรรวม (Integrated Circuit: IC) ซึ่งเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด ประกอบด้วย สายโลหะขึ้นรูปเข้าด้วยกันบนชิพเดี่ยวๆ ของวัสดุ พิเศษที่เรียกว่า ซิลิกอน – เทคนิคการขึ้นรูปวงจรรวมเรียกว่า เทคโนโลยี solid- state ซึ่งหมายความว่า อิเล็กตรอนจะวิ่งไปมาบนวัสดุ ของแข็งไม่ใช่เคลื่อนที่ในสุญญากาศอย่างเช่นหลอด สุญญากาศในวิทยุสมัยก่อน วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 3
  • 4. ไมโครชิพ (Microchip) • Solid-State – อิเล็กตรอนที่วิ่งไปมาบนวัตถุที่มีความหนาแน่น • Silicon – ซิลิกอน เป็นวัตถุธรรมชาติที่พบได้ทั่วไปในดินและ ทราย • Semiconductor – ตัวนำากึ่งยิ่งยวด คือ วัตถุที่มีคุณสมบัติทางไฟฟ้าอยู่ ระหว่างสื่อนำาไฟฟ้าที่ดีกับฉนวนไฟฟ้า วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 4
  • 5. Transistor vs. Vacuum tube การย่อส่วนประกอบ จากหลอดสุญญากาศขนาดเท่ากับหลอดไฟในปี 1940 ถูกแทนที่ด้วยทรานซิสเตอร์ขนาดที่เล็กลงประมาณหนึ่งพันเท่าในปี 1950 ปัจจุบัน ขนาดของทรานซิสเตอร์ยิ่งเล็กลงๆ กว่าเดิมหลายล้านเท่า วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 5
  • 6. ไมโครชิพ (Microchip) • ไมโครชิพ (microchip or chip) หรือชิพ – มีหลายประเภท เช่น ไมโครโปรเซสเซอร์, ชิพหน่วย ตรรกะ, ชิพการสื่อสาร, ชิพกราฟิก, ชิพตัวประมวลผล ร่วมคณิตศาสตร์ เป็นต้น ชิพเหล่านี้มีหน้าที่แตกต่าง กัน แต่ชิพที่มีส่วนสำาคัญต่อการปฏิวัติด้าน คอมพิวเตอร์คือ ไมโครโปรเซสเซอร์ชิพ • ไมโครโปรเซสเซอร์ (microprocessor) – มาจากคำาว่า microscopic processor หมายถึง ตัว ประมวลผลขนาดเล็กมาก หรือบางทีเรียกว่า ตัว ประมวลผลบนชิพ (processor on a chip) – คือวงจรที่ถูกย่อส่วนให้มีขนาดเล็กมากของตัว ประมวลผลคอมพิวเตอร์ เป็นส่วนที่ทำาหน้าที่ประมวล ผลหรือจัดการเปลี่ยนข้อมูลไปเป็นสารสนเทศ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 6
  • 7. ไมโครชิพ (Microchip) – กระบวนการย่อส่วนที่มีอยู่ในไมโครแมชิน (micromachine) ซึ่งเป็นอุปกรณ์ขนาดเล็กมากมี ขนาดน้อยกว่ามิลลิเมตร ที่ผนวกทั้งส่วนประกอบ เชิงกลไกและอิเล็กทรอนิกส์เข้าด้วยกัน – เช่น อุปกรณ์ที่ใช้ในเครื่องมือแพทย์หลายชนิด หรือ ตัวตรวจจับ (sensor) ในชิพที่ใช้ในถุงลมนิรภัยของ รถยนต์ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 7
  • 8. การผลิต ชิพ (บนซ้าย) แผ่นเวเฟอร์ที่ถูกพิมพ์ไว้ด้วยไมโครโปรเซสเซอร์หลายชิ้น (บนขวา) ชิพ ไมโครโปรเซสเซอร์ที่ถูกขึ้นรูปภายในเฟรมป้องกันด้วยขาที่เสียบไว้สามารถเชือมต่อเข้า ่ กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่างเช่นไมโครคอมพิวเตอร์ (ล่างสุด) การเพิ่มขนาดของแผ่น เวเฟอร์ ซึ่งเป็นวิธีที่จะช่วยลดต้นทุน (ชิพแต่ละชินจะมีขนาด 20x20 มม.) ้ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 8
  • 9. หน่วยประมวลผลกลาง • CPU (Central Processing Unit) • เป็นกลุ่มของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ซับซ้อน ซึ่ง กระทำาการชุดโปรแกรมคำาสั่ง • คอมพิวเตอร์ทกขนาดทั้งใหญ่และเล็กจะต้องมี ุ ซีพียูอย่างน้อยหนึ่งซีพยู ี • ประกอบด้วยส่วนสำาคัญ 2 ส่วน ได้แก่ หน่วย ควบคุม (control unit-CU) และหน่วย คำานวณ/ตรรกะ (arithmetic/logic unit-ALU) วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 9
  • 10. หน่วยประมวลผลกลาง • CPU (Central Processing Unit) – เป็นกลุ่มของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ซับซ้อน ซึ่งกระทำา การชุดโปรแกรมคำาสั่ง – ประกอบด้วยส่วนสำาคัญ 2 ส่วน ได้แก่ หน่วยควบคุม (control unit-CU) และหน่วยคำานวณ/ตรรกะ (arithmetic/logic unit-ALU) • คอมพิวเตอร์ใช้หน่วยเก็บ 2 ชนิด ได้แก่ หน่วย เก็บหลักและรอง (primary storage and secondary storage) – ซีพียูจะปฏิสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับหน่วยเก็บหลักหรือ หน่วยความจำา (memory) ซึ่งมีการอ้างอิงทั้งในส่วน ของคำาสั่งและข้อมูล วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 10
  • 11. ซีพ ีย แ ละหน่ว ยความจำา หลัก ู หน่วยควบคุมและ ALU, เรจิสเตอร์ และหน่วยความจำาหลัก เชื่อมต่อกันโดย อาศัยเส้นทางอิเล็กทรอนิกส์ที่เรียกว่าบัส (เรจิสเตอร์เป็นพื้นที่ใช้เก็บข้อมูล ชั่วคราว) วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 11
  • 12. หน่วยประมวลผลกลาง • Control Unit หน่วยควบคุม – บรรจุด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ี่ ทำาหน้าที่คอยประสานงานส่วนต่างของระบบคอมพิวเตอร์ใน การกระทำาการกับชุดโปรแกรมคำาสั่ง • ALU: Arithmetic/Logic Unit หน่วยคำานวณ/ตรรกะ – ทำาหน้าที่ปฏิบัติการด้านคำานวณและตรรกะ และคอยควบคุม ความเร็วของปฏิบัติการเหล่านั้น – ปฏิบัติการด้านคำานวณ (arithmetic operations) เป็นการ ทำางานด้านคำานวณพื้นฐาน ประกอบด้วย การบวก, ลบ, คูณ และหาร – ปฏิบัติการด้านตรรกะ (logical operations) เป็นการทำางาน ด้านการเปรียบเทียบ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 12
  • 13. หน่วยประมวลผลกลาง • Register เรจิสเตอร์ – เป็นที่พักพิเศษความเร็วสูงที่ใช้เก็บข้อมูลและคำาสั่งไว้ ชั่วคราวในระหว่างการประมวลผล วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 13
  • 14. หน่วยความจำา (Memory unit) • มักใช้คำาว่าหน่วยความจำาหลัก (main memory) หรือแรม (RAM) • คือหน่วยเก็บ ที่ปฏิบัติภารกิจหลัก 3 ประการ – เก็บข้อมูลที่ใช้สำาหรับการประมวลผล – เก็บชุดคำาสั่งหรือโปรแกรมสำาหรับประมวลผลข้อมูล นั้น และ – เก็บข้อมูลหรือสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผล รอ การเคลือนย้ายไปสู่อุปกรณ์แสดงผลหรือหน่วยเก็บ ่ รอง วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 14
  • 15. หน่วยความจำา (Memory unit) • มีชื่อเรียกหลายชื่อ ได้แก่ – หน่วยเก็บปฐมภูมิ (primary storage) – หน่วยความจำาปฐมภูมิ (primary memory) – หน่วยความจำาภายใน (internal memory) – หน่วยเก็บหลัก (main storage) – หน่วยเก็บภายใน (internal storage) – หน่วยความจำาหลัก (main memory) • ผู้ผลิตจะใช้คำาว่า แรม (RAM) ซึ่งมาจากคำาว่า random-access memory เพราะหน่วยความ จำาถูกบรรจุอยู่บนชิพที่เรียกว่า แรมชิพ (RAM chip) วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 15
  • 16. รอบเครื่อง (Machine Cycle) • คือลำาดับของปฏิบัติการในการกระทำาการกับ หนึ่งโปรแกรมคำาสั่ง • ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ – รอบคำาสั่งเครื่อง (instruction cycle) เรียกว่า I-cycle หรือ I-time กระทำาโดยหน่วยควบคุม ประกอบด้วย • (1) ไปนำามา -fetch, ไปนำาคำาสั่งมาจากหน่วยความจำา • (2) ถอดรหัส -decode, แปลความหมายตามคำาสั่ง – รอบการกระทำาการ (execution cycle) เรียกว่า E- cycle หรือ E-time กระทำาโดยหน่วยคำานวณ/ตรรกะ ประกอบด้วย • (3) กระทำาการ –execute, ปฏิบัติการกับข้อมูล • (4) เก็บ –store, จัดเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล ลงในหน่วยความจำาหรือเรจิสเตอร์ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 16
  • 17. รอบเครื่อง (Machine Cycle) • ซีพียูจะมีนาฬิการะบบ (system clock) ภายใน ที่คอยให้จังหวะด้วยเวลาที่เท่ากันแก่ทุกการ ปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ • ความเร็วรอบของนาฬิกาจะมีผลโดยตรงต่อ ความเร็วของคอมพิวเตอร์ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 17
  • 18. ตัวอย่างการทำางานของรอบเครื่อง จาก 4 ขั้นตอนในรอบเครื่อง (1) Fetch: หน่วยควบคุมจะไปหยิบคำาสั่งมาจากหน่วยความจำา (2) decode: หน่วยควบคุมจะถอดรหัสโดยแปลความหมายเป็นคำาสั่งเครื่อง โดยพิจารณาว่าการเพิ่มค่า ตามคำาสั่งนี้ทำาได้โดยการนำาค่าตัวเลขถัดไปคือ 76 ไปใส่ไว้ในเรจิสเตอร์เพื่อการนี้ ในขณะที่ค่าของ 88 ถูกเก็บไว้เรจิสเตอร์อีกตัวหนึ่งเรียบร้อยแล้ว (3) execute: หน่วยคำานวณและตรรกะจะทำาการบวกค่าของผลรวมด้วย 76 ผลรวมที่ได้คือ 164 (4) store: เก็บค่า 164 ไว้ในเรจิสเตอร์และนำาค่าไปแทนที่ผลรวมเดิม (88) ในหน่วยความจำาหลัก วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 18
  • 19. ความเร็วในการประมวลผล (Processing Speeds) • Megahertz (MHz) – เมกะเฮิรตซ์ เป็นเวลาหนึ่งล้านรอบเครื่องต่อวินาที • MIPS (Million Instructions Per Second) – มิปส์ หนึ่งล้านคำาสั่งต่อวินาที • FLOPS (Floating-Point Operations Per Second) – ฟล็อปส์ เวลาในการปฏิบัติการจุดลอยตัวเสร็จสิ้นในหนึ่ง วินาที • เมกะฟล็อปส์ (megaflops หรือ mflops คือหนึ่งล้าน) คือการ ปฏิบัตการจุดลอยตัวหนึ่งล้านครั้งต่อวินาที ิ • กิกะฟล็อปส์ (gigaflops หรือ gflops คือพันล้าน) • ทีราฟล็อปส์ (teraflops หรือ tflops คือล้านล้าน) • พีทาฟล็อปส์ (petaflops หรือ pflops คือ พันล้านล้าน) วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 19
  • 20. ความเร็วในการประมวลผล (Processing Speeds) • หน่วยวัดอื่นๆ—เวลาที่รอบเครื่องเสร็จสิ้นในเสี้ยววินาที • เป็นความเร็วของการเสร็จสิ้นในหนึ่งรอบของเครื่อง • มีหน่วยวัดความเร็วเป็น – มิลลิวินาที (millisecond) หนึ่งในพันวินาที เป็นหน่วย ความเร็วที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ยุคแรกๆ – ไมโครวินาที (microsecond) หนึ่งในล้านวินาที เป็นหน่วย ความเร็วที่ใช้ในไมโครคอมพิวเตอร์ – นาโนวินาที (nanosecond) หนึ่งในพันล้านวินาที เป็น หน่วยความเร็วทีใช้ในเมนเฟรม ่ – ไพโควินาที (picosecond) หนึ่งในล้านล้านวินาที เป็น หน่วยความเร็วทีใช้คอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูง ที่ใช้ใน ่ งานทดลองและวิจย ั วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 20
  • 21. การแทนข้อมูล: เปิด/ปิด (Data Representation: On/Off) • ระบบเปิด/ปิดสองสถานะนี้เรียกว่า ระบบฐานสอง (binary system) • การใช้สองสถานะแทนสัญญาณไฟฟ้าเปิด/ปิด นี้ สามารถใช้แทนข้อมูลหรือภาษาของมนุษย์ใน ระบบคอมพิวเตอร์ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 21
  • 22. การแทนข้อ มูล แบบฐานสอง แสดงตัวอย่างการแทนตัวอักษร H-E-R-O ในรูปแบบของการปิด/เปิด หรือ 0/1 ในรหัสฐานสอง (แอสกี-8) วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 22
  • 23. บิต, ไบต์ และเวิร์ด (Bites, Bytes, and Word) • ในระบบฐานสอง 0 หรือ 1 แต่ละจำานวนเรียกว่า บิต (bit) ซึ่งมาจากคำาว่า binary digit • บิตเป็นหน่วยพื้นฐานการจัดเก็บข้อมูลในหน่วย ความจำาคอมพิวเตอร์ • แต่บิตเพียงหนึ่งบิต ย่อมไม่สามารถใช้แทน ตัวเลข, ตัวอักษร และอักขระพิเศษได้เพียงพอที่ คอมพิวเตอร์จะประมวลผลได้ พบว่าเมื่อรวบรวม กลุมของบิตขนาดทีเหมาะสมจำานวนหนึ่ง ่ ่ ประมาณ 7-8 บิตเข้าด้วยกัน เรียกว่าไบต์ (byte) วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 23
  • 24. บิต, ไบต์ และเวิร์ด (Bites, Bytes, and Word) • เวิร์ด (word) คือกลุ่มของบิตที่ถูกจัดการ หรือจัด เก็บไว้ได้ ณ เวลาหนึงๆ โดยซีพียู ่ • เวิร์ดเป็นขนาดของเรจิสเตอร์ที่จะใช้อางอิง ้ หน่วยของข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ ขนาด ของเวิร์ดจะแปรเปลี่ยนไปตามชนิดของ คอมพิวเตอร์ เช่น 16 บิต, 32 บิต, 64 บิต เป็นต้น • เครื่อง 32 บิต หมายถึงมีการอ้างอิงตำาแหน่ง (addressing) ครั้งละ 32 บิตในการทำางานครั้ง หนึ่งๆ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 24
  • 25. เค้าร่างการเข้ารหัสฐานสอง (Binary Coding Scheme) • EBCDIC เอ็บซีดิก – มาจากคำาว่า Extended Binary Coded Decimal Interchange Code เป็นเค้าร่างของรหัสที่ใช้ใน คอมพิวเตอร์เมนเฟรมของไอบีเอ็ม และเครื่องเข้ากันได้กับ ไอบีเอ็ม • ASCII แอสกี – มาจากคำาว่า American Standard Code Information for Interchange เป็นรหัสฐานสองทีใช้กันแพร่หลายในไมโคร ่ คอมพิวเตอร์ ASCII-7 ใช้แทนข้อมูลได้ 128 รูปแบบ ASCII-8 ใช้แทนข้อมูลได้ 256 รูปแบบ • Unicode ยูนิโค้ด – ใช้สองไบต์ (16 บิต) สำาหรับอักขระแต่ละตัว สามารถแทน ได้ถึง 65,536 รูปแบบ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 25
  • 26. เค้าร่างการเข้ารหัสฐานสอง ECDIC และ ASCII-8 มีอักขระอีกหลาย ตัวทีไม่ถูกแสดงในที่นี้ ทังเครื่องหมายวรรคตอน, อักษรกรีก, ่ ้ สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ และสัญลักษณ์ภาษาต่างประเทศ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 26
  • 27. บิตภาวะคู่หรือคี่ (Parity Bit) • บิตภาวะคู่หรือคี่ หรือบางทีเรียกว่าบิตตรวจสอบ (parity bit or check bit) เป็นบิตที่เพิมต่อท้าย ่ ไบต์เพื่อใช้ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล แต่ละไบต์ • อาจเป็นภาวะคู่ (even parity) หรือคี่ (odd parity) ก็ได้ • การตรวจสอบความถูกต้องที่แม่นยำากว่าเรียกว่า CRC (Cyclic Redundancy Check) วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 27
  • 28. Parity bit ตัวอย่างของการใช้เค้าร่างของพาริตี้แบบภาวะบิตคู่ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 28
  • 29. หน่วยระบบ (The System Unit) • หน่วยระบบ หรือตัวเครื่อง – เป็นกล่องซึ่งบรรจุไว้ด้วยส่วนประกอบทางไฟฟ้าที่ ทำาให้คอมพิวเตอร์สามารถทำางานได้ • ประกอบด้วย – แหล่งจ่ายไฟฟ้า (power supply) – แผงหลัก (motherboard) – ซีพียู (CPU) – ชิพประมวลผลเฉพาะงาน (specialized processor chips) – นาฬิการะบบ (system clock) – แรมชิพ (RAM chips) – รอมชิพ (ROM chips) วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 29
  • 30. วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 30
  • 31. ภาพจำาลองเมนบอร์ด (mainboard or mother board) วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 31
  • 32. หน่วยระบบ (The System Unit) – รูปแบบอื่นของหน่วยความจำา ได้แก่ แคช (cache), วี แรม (VRAM), แฟลช (flash) – สล็อตและบอร์ดขยาย (expansion slots and boards) – เส้นบัส (bus lines) – พอร์ต (ports) – สล็อตและการ์ด PCMCIA (PCMCIA slots and cards) • Peripheral Devices อุปกรณ์รอบข้าง – หมายถึง ฮาร์ดแวร์ที่อยูภายนอกซีพียู ่ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 32
  • 33. หน่วยระบบและแผงหลัก (system unit and motherboard) (บน) หน่วยระบบ (ล่าง) แผงหลัก วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 33
  • 34. ไมโครคอมพิวเตอร์และไมโครโปรเซสเซอร์ ไมโครคอมพิวเตอร์และชิพทีนิยม ่ ใช้กนแพร่หลาย ั วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 34
  • 35. วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 35
  • 36. แรมชิพ (RAM Chips) • SIMM-ซิม (single in-line memory module) – แรมชิพรุ่นก่อนๆ มักผนวกเป็นแถวเดี่ยวๆ บนบนแผง แล้วเสียบลงในช่องเสียบ (socket) บนเมนบอร์ด ซิม จะใช้แรมชิพหลายอันผนึกลงบนด้านเดียว • DIMM-ดิม (dual in-line memory module) – แรมชิพรุ่นใหม่นิยมใช้ ซึ่งจะผนึกแรมชิพหลายอันลง บนทั้งสองด้าน • แรมชิพมีหลายชนิด – DRAM-ดีแรม(dynamic ram) เป็นชิพที่จำาเป็นต้อง ถูกรีเฟรช (refresh) เพื่อประจุไฟฟ้าใหม่บ่อยๆ โดย ซีพียู – SRAM-เอสแรม (static RAM) เป็นชิพความเร็วสูง เพราะไม่จำาเป็นต้อง refresh ใช้สำาหรับงานบางอย่าง ในหน่วยความจำา ด้วยข้อจำาวิเดด้านขนาดและราคา ต ยกรรม กั ชษฐ์ พลายมาศ | สถาปั คอมพิว เตอร์ | CPU | 36
  • 37. วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 37
  • 38. แรมชิพ (RAM Chips) – EDO RAM-อีดีโอแรม (extended data-out RAM) เป็นดีแรมชนิดใหม่ ซึ่งมีประสิทธิภาพใกล้เคียงเอ็ส แรม มีขาจำานวน 72 ขา ความเร็วประมาณ 60 ns – SDRAM-เอสดีแรม (synchronous DRAM) มีขา จำานวน 168 ขา ความเร็วประมาณ 6-10 ns สามารถ เพิ่มอัตราความเร็วของบัสส่วนหน้า (FSB: front side bus) ได้ถึง 100-133 MHz. • SDRAM บางชนิดยังมีคุณสมบัติที่เรียกว่า ECC (Error Checking & Correcting) เป็นแรมชนิด ที่มีการตรวจและแก้ไขข้อผิดพลาดในหน่วย ความจำาให้โดยอัตโนมัติ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 38
  • 39. รอมชิพ (ROM chip) • รอม-ROM มาจากคำาว่า read-only memory หน่วยความ จำาที่อ่านได้อย่างเดียว ที่มักรู้จักในชื่อเฟิร์มแวร์ (firmware) ไม่สามารถเขียนหรือลบได้โดยผู้ใช้ • แบ่งออกเป็น – PROM-พรอม (programmable read-only memory) เป็น รอมชิพเปล่าๆ ทีสามารถเขียนโปรแกรมลงไปได้โดยอาศัย ่ เครื่องมือพิเศษ และหลังจากเขียนแล้วไม่สามารถลบได้ – EPROM-อีพรอม (erasable PROM) เช่นเดียวกับพรอม เป็นรอมชิพทีสามารถใช้เครื่องมือพิเศษเขียนโปรแกรมลง ่ ไปและได้ แต่การลบจะอาศัยอุปกรณ์พิเศษทีใช้แสงอัลทรา ่ ไวโอเล็ต – EEPROM-อีอีพรอม (electrically EPROM)เป็นรอมชิพที่ สามารถเขียนและลบโดยอาศัยกระบวนการทางไฟฟ้า วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 39
  • 40. หน่วยความจำาแคช (cache memory) • หน่วยความจำาแคช เป็นพื้นที่หน่วยความจำาความเร็วสูง พิเศษที่ซีพียสามารถเข้าถึงได้อย่างรวดเร็วกว่าแรม มี ู ราคาแพงกว่า ขนาดเล็กกว่า – Primary cache เรียกว่า cache level 1 หรือ L1 เป็นหน่วย ความจำาแคชทีอยู่ภายในตัวซีพียู (internal cache) อยู่ใน ่ ตำาแหน่งที่ใกล้กับซีพียูมากทีสุด มีความเร็วเท่ากับความเร็ว ่ ของซีพียู – Secondary cache เรียกว่า cache level 2 หรือ L2 เป็น หน่วยความจำาแคชทีอยู่ภายนอกตัวซีพยู (external cache) ่ ี ติดตั้งบนเมนบอร์ด อยู่ในตำาแหน่งถัดจาก cache L1 แต่ ใกล้ซพียูกว่าแรม ี – Cache L3 (Level 3) เป็นหน่วยความจำาทีอยู่ภายนอกซีพียู ่ บนเมนบอร์ดแต่อยู่ใกล้กับซีพียูมาก มีความเร็วมากกว่าแรม แต่ช้ากว่า cache L1 และ L2 แต่ขนาดใหญ่กว่า วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 40
  • 41. แสดงการทำางานอย่างง่ายของแคชประเภทต่างๆ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 41
  • 42. เส้นบัส (Bus Lines) • เรียกสั้นๆ ว่า บัส • คือเส้นทางผ่านของไฟฟ้าที่จัดเตรียมไว้สำาหรับ การส่งผ่านบิตภายในซีพียู และระหว่างซีพียูกับ อุปกรณ์อื่นๆ ในหน่วยระบบ • ในระบบคอมพิวเตอร์มีบัสหลายชนิด เช่น – บัสแอดเดรส (address bus) – บัสควบคุม (control bus), – บัสข้อมูล (data bus) • ในไมโครคอมพิวเตอร์ บัสที่สำาคัญเรียกว่า บัส ขยาย (expansion bus) ที่ใช้ขนถ่ายข้อมูล ระหว่างแรมกับสล็อตขยาย วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 42
  • 43. บัส เส้นทางผ่านไฟฟ้าทีส่งผ่านบิตภายในซีพียและระหว่างซีพียูกับอุปกรณ์ ่ ู รอบข้าง บัสขยายใช้เชื่อมต่อแรมกับสล็อตขยาย โลคัลบัสใช้เชื่อมต่อสล็อต ขยายไปยังซีพียูโดยตรง วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 43
  • 44. บัส (bus) • แอดเดรสบัส (Address Bus) – ใช้สงข้อมูลประเภทที่อยูของอุปกรณ์ตนทางและอุปกรณ์ปลายทาง ่ ่ ้ เพือเป็นแหล่งอ้างอิงก่อนทีจะทำาการส่งข้อมูลบนบัสข้อมูล ่ ่ • บัสข้อมูล (Data Bus) – คือเส้นทางที่เชือมระหว่างโพรเซสเซอร์กับหน่วยความจำา ่ หรือหน่วยความจำากับอุปกรณ์อินพุต/เอาต์พุต • คอนโทรลบัส (Control Bus) – คือทางเดินสำาหรับสัญญาณควบคุมการทำางานของส่วนต่างๆ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 44
  • 45. บัสแอดแดรส (address bus) บัสข้อมูล (data bus) และบัสควบคุม (control bus) ใช้เชื่อมต่อระหว่างโพรเซสเซอร์ (ALU + Control unit) กับหน่วย ความจำาหลัก และใช้เชื่อมต่อกับ I/O ผ่านขยายหรือ I/O bus วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 45
  • 46. วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 46
  • 47. วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 47
  • 48. วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 48
  • 49. วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 49
  • 50. วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 50
  • 51. วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 51
  • 52. พอร์ต (Ports) (1) • คือซ็อกเก็ตทีอยู่ด้านนอกของตัวเครื่องที่ถูก ่ เชื่อมต่อไปยังส่วนบอร์ดขยายด้านในของตัว เครื่อง • พอร์ตมีหลายชนิด ได้แก่ – Parallel Port พอร์ตขนาน หรือ LPT: port • เป็นสายเชื่อมต่อทีอนุญาตให้มีการส่งผ่านข้อมูลทีละ 8 ่ บิตอย่างต่อเนื่อง จึงส่งได้เร็วกว่าพอร์ตอนุกรม ระยะ ทางไม่เกิน 15 ฟุต ดังนั้น จึงมักนิยมใช้เป็นสายเชื่อมต่อ กับเครื่องพิมพ์ • มีรู 25 รู (พอร์ตนี้จะเป็นตัวเมีย หมายถึงมีรูทตัวพอร์ต) ี่ • พอร์ตนี้จะต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เครื่องพิมพ์ เทป ไดร์ฟ สแกนเนอร์ เป็นต้น สามารถต่อความยาวไม่มาก นัก มีราคาแพงกว่าสายของพอร์ตอนุกรมด้วย วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 52
  • 53. พอร์ต (Ports) (2) – Serial Port พอร์ตอนุกรม หรือ COM port หรือพอร์ต RS-232 • เป็นสายเชื่อมต่อทีส่งบิตทีละ 1 บิตบนสายเพียงเส้น ่ เดียว • พอร์ตอนุกรมจะมีหวเข็ม 9 เข็ม หรือ 25 เข็ม (พอร์ตนี้ ั จะเป็นตัวผู้ เพราะมีเข็มยื่นออกมา) • ใช้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เม้าส์ โมเด็ม สแกน เนอร์ เป็นต้น • สามารถต่อความยาวได้ถง 6 เมตร และราคาสายก็ไม่ ึ แพงนัก วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 53
  • 54. พอร์ต • Video Adapter Port – ใช้เชื่อมต่อระหว่างจอภาพซึ่งอยู่ภายนอกเข้ากับการ์ด แสดงผลที่อยู่ภายในตัวเครื่อง • SCSI สกัซซี่ – มาจากคำาว่า Small Computer System Interface พอร์ตแบบสกัซซี่สามารถเชื่อมต่อเพื่อรับส่งแบบความเร็ว สูงเข้ากับอุปกรณ์แบบสกัซซี่อนๆ ได้ 7-15 ตัว ื่ • Infrared Port พอร์ตอินฟราเรด – จะอนุญาตให้คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ อืนๆ โดยปราศจากสายได้ ่ • USB Port ยูเอสบี – พอร์ตที่อนุญาตให้อปกรณ์จำานวนถึง 127 อุปกรณ์ ุ สามารถเชื่อมต่อผ่านพอร์ตทั่วไปเพียงหนึ่งพอร์ต • PCMCIA หรือพีซีการ์ด • มาจากคำาว่า Personal Computer Card Memory International Association วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 54
  • 55. พอร์ต • พอร์ต USB (Universal Serial Bus Port) • พอร์ตชนิดใหม่รับส่งความเร็วได้สูงกว่าพอร์ต ทั่วไป • สามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่อเนื่องได้ 127 ตัว • เป็นมาตรฐานใหม่ที่มีมากับเครื่องคอมพิวเตอร์ • การติดตั้ง เพียงต่ออุปกรณ์เข้ากับ USB port ก็ สามารถใช้งานอุปกรณ์นั้นๆ ได้ โดยไม่จำาเป็น ต้อง boot เครื่องใหม่ • นอกจากพอร์ตอนุกรมและขนานแล้ว ยังมีพอร์ต อืน ๆ อีกได้แก่ พอร์ตคีย์บอร์ด, พอร์ตเกมส์, ่ พอร์ตจอ เป็นต้น วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 55
  • 56. พอร์ตด้านหลังของพีซและแมคอินทอช (ล่าง) ี สายโซ่ 2 แบบ อุปกรณ์แบบสกัซซีสามารถต่อ เข้ากับด้านในหรือด้านของคอมพิวเตอร์กได้ ็ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 56
  • 57. สายโซ่ 2 แบบ อุปกรณ์แบบสกัซซีสามารถต่อเข้ากับด้านในหรือด้านของ คอมพิวเตอร์ก็ได้ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 57
  • 58. พีซการ์ด มีขนาดพอๆ กับบัตรเครดิต ส่วนใหญ่ ี ใช้เสียบลงในสล็อตของโน้ตบุ้คเพื่อแรมหรือเป็น แฟ็กซ์/โมเด็ม วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 58
  • 59. สล็อต (slot) • ISA Slots ( Industrial • AGP Slots (Accelerated Standard Architecture) Graphics Port) – เป็น Slots ที่มีการเชื่อมต่อแบบ – เป็น Slots ทีมีการเชื่อมต่อแบบ ่ 16 บิต เป็นมาตราฐานแบบเก่า ที่ 32 บิต สำาหรับอุปกรณ์ตอพ่วงที่ ่ ต่อเชื่อมกับอุปกรณ์ที่มการรับส่ง ี ใช้ความเร็วสูงขึ้น เช่น การ์ด ไม่มาก เช่น โมเด็ม การ์ดจอ เสียง การ์ดจอ ให้มประสิทธิภาพ ี • PCI Slots (Peripheral ในระดับ Graphics ทั้ง 2 และ 3 มิติ ในระดับ 64 บิต Connection Interface) – เป็น Slots ที่มีการเชื่อมต่อแบบ • IDE Connector 32 บิต สำาหรับอุปกรณ์ตอพ่วงที่ ่ – เป็น Connector ที่ใช้ตอกับ ่ ใช้ความเร็วสูงขึ้น เช่น การ์ด Hard Disk และ CD-Rom เสียง การ์ดจอ ให้มีประสิทธิภาพ • Battery Backup ในระดับ Graphics – ใช้สำาหรับรักษา เวลาและข้อมูล • Communication Port (Com ของอุปกรณ์ตางๆ ทีจำาเป็นใน ่ ่ port) เวลาที่ปิดเครือง ่ – เป็น Port ที่ใช้ตอกับอุปกรณ์ ่ ภายนอก ทั้ง Serial Port (ได้แก่ เม้าส์ โมเด็ม) และ Parallel Port (ได้แก่ เครืองพิมพ์) ่ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 59
  • 60. USB • Universal Serial Bus (USB - ยูเอสบี) เป็นข้อกำาหนดมาตรฐาน ของบัสการสื่อสารแบบอนุกรม เพื่อใช้ในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ ซึ่ง โดยทั่วไปจะใช้กับคอมพิวเตอร์ แต่สามารถใช้ได้กับอุปกรณ์อื่น เช่น เซตทอปบอกซ์ (set-top boxes), เครื่องเล่นเกม (game consoles) และพีดีเอ (PDAs). • ยูเอสบีได้กลายเป็นรูปแบบการเชื่อมต่อมาตรฐานสำาหรับอุปกรณ์ มัลติมีเดีย เช่น สแกนเนอร์ หรือกล้องถ่ายรูปดิจิตอล • นิยมนำาไปทดแทนการเชือมต่อแบบเดิม เช่น การเชื่อมต่อแบบ ่ ขนาน (parallel) สำาหรับเครื่องพิมพ์ การเชื่อมต่อแบบ อนุกรม(serial) สำาหรับโมเด็ม • เนื่องจากยูเอสบีช่วยลดข้อจำากัดหลาย ๆ ด้านของการเชื่อมต่อแบบ เดิม เช่น การเชื่อมต่อเครื่องพิมพ์หลาย ๆ เครื่องเข้ากับคอมพิวเตอร์ เครื่องเดียว • มีเพียงอุปกรณ์ที่ต้องการความสามารถในการส่งผ่านข้อมูลมาก ๆ เท่านั้นที่ไม่สามารถใช้ยูเอสบี เช่น จอภาพแสดงผล หรือ มอนิเตอร์ และอุปกรณ์ดิจิตอลวีดีโอคุณภาพสูง เป็นต้น วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 60
  • 61. (A) (B) คอนเนคเตอร์ USB แบบ A (C) USB hub อัต ราความเร็ว USB 1.0 200 Mbps USB 2.0 480 Mbps USB 3.0 5,000 Mbps วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 61
  • 62. FireWire (1) • ไฟร์ไ วร์ (FireWire) อาจรู้จักในชื่อ i.Link และ IEEE 1394 เป็นข้อกำาหนดมาตรฐานการเชือมต่อบัสการสื่อสารแบบอนุกรมของ ่ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล • อุปกรณ์ที่นิยมใช้ FireWire มากที่สุดคือ กล้องวิดีโอดิจิทัล ซึ่งมีช่อง เสียบ FireWire มาตั้งแต่ ค.ศ. 1995 เครื่องคอมพิวเตอร์บางยี่ห้อ เช่น แอปเปิล คอมพิวเตอร์ หรือ โซนี่ ได้รวม FireWire เป็นอุปกรณ์ มาตรฐานเช่นกัน • FireWire รุ่นแรกเรียกว่า FireWire 400 สามารถส่งข้อมูลได้ 100, 200, 400 Mbps (ในความเป็นจริงจะส่งได้ 98.304, 196.608, 393.216 Mbit/s ตามลำาดับ) สามารถต่อพ่วงอุปกรณ์ได้ สูงสุด 63 ชิ้น (โดยใช้ฮับเข้าช่วย) สามารถเชือมต่อแบบ peer-to- ่ peer เช่น เชื่อมระหว่างเครื่องพิมพ์และสแกนเนอร์ โดยไม่ต้องผ่าน คอมพิวเตอร์ FireWire ยังสามารถจ่ายพลังงานได้ 45 วัตต์ต่อพอร์ ทอีกด้วย • FireWire 800 เป็นมาตรฐานที่แอปเปิลพัฒนาเพิ่มเติมจาก IEEE1394b ในปี ค.ศ. 2003 โดยพัฒนาให้มีความเร็วเพิ่มขึ้นเป็น 786.432 Mbit/s โดยที่ยังเข้ากันได้กับ FireWire 400 รุ่นเก่า วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 62
  • 63. FireWire (2) • ด้วยการพัฒนาตามหลักการของการส่งข้อมูล แบบใหม่โดยการส่งแบบคู่ขนาน 9 พิน จะช่วย ในการส่งผ่านข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว โดยFirewire 2008 ความเร็ว 3.2Gbit/s ได้รบ ั การรับรองแล้ว จากสมาพันธ์ IEEE โดยได้ ทำาการรับรองมาตราฐาน IEEE 1394 แล้ว หรือทีรู้จักกันในนาม Firewire โดยมาตราฐาน ่ นี้ได้ถูกเรียกว่า IEEE 1394-2008 • จะมีสเปคความเร็วอยู่ที่ 1.6 Gbit/s และ 3.2 Gbit/s โดย Firewire ใหม่นี้จะใช้เคเบิลแบบ 9 ตัวอย่างหัวเสียบ FireWire แบบ 6 พิน pin เหมือนกับ Firewire 800 แต่กลับเป็นที่ นิยมมากกว่า หากดูในกลุมกล้องถ่ายวีดีโอ ่ อัต ราความเร็ว FireWire ประเภท DV แต่สำาหรับ Firewire 800 นั้นกลุ่ม FireWire 1.0 400 Mbps ผู้ใช้มีอยูจำากัดมากIEEE กล่าวว่ามาตรฐาน ่ FireWire 2.0 800 Mbps ใหม่นี้นำาออกมาใช้ตั้งแต่ตุลาคมปี 2551 วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 63
  • 64. ชิปเซ็ต (chipset) • ชิพเซ็ตเป็นเสมือนหัวใจของเมนบอร์ด มีหน้าที่หลักเป็น เหมือนทั้ง อุปกรณ์ แปลภาษา ให้อุปกรณ์ต่างๆ ที่อยู่บน เมนบอร์ดสามารถทำางานร่วมกันได้ และทำาหน้าที่ควบคุม อุปกรณ์ต่างๆ ให้ทำางานได้ตามต้องการ • ชิปเซ็ตประกอบด้วย – System Controller (Intel เรียกว่า North Bridge นอร์ธบริดจ์) หรือ Memory Controller Hub (MCH) ทำาหน้าที่ควบคุมการ สื่อสารระหว่างหน่วยความจำาของระบบ, โปรเซสเซอร์, AGP – PCI to ISA Bridge (หรือ Intel เรียกว่า South Bridge เซาธ์ บริดจ์) หรือ I/O Controller Hub (ICH) ทำาหน้าที่ในการ ควบคุมการสื่อสารระหว่างอุปกรณ์ PCI, ระบบควบคุมบัส, อุปกรณ์ ATA, AC'97, USB, IEEE1397 (firewire) และ LPC controller [อุปกรณ์คอนโทรลเลอร์เหล่านี้ถูกบัดกรีติดอยู่บนมา เธอร์บอร์ดและไม่สามารถเปลี่ยนหรือทำาการอัพเกรดได้]หรือ อุปกรณ์ที่มีความเร็วตำ่ากว่า เช่น ระบบบัสแบบ ISA ระบบบัส อนุกรมแบบ USB ชิพคอนโทรลเลอร์ IDE ชิพหน่วยความจำา รอมไออส ฟล็อบปี้ดิกส์ คีย์บอร์ด พอร์ตอนุกรม และพอร์ตขนาน วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 64
  • 65. Front Side Bus (FSB) บัสส่วนหน้า • FSB เป็นอินเตอร์เฟซระหว่างโปรเซสเซอร์กับ ชิปเซ็ต North Bridge ของเมนบอร์ด นาฬิกา ของบัสยิ่งเร็วก็ยิ่งมีแบนด์วธมากขึ้น ิ • FSB คือความเร็วบัสซึ่งใช้ในการเชื่อมต่อ โปรเซสเซอร์เข้ากันหน่วยความจำาหลัก (RAM) เนื่องจากโปรเซสเซอร์มีความเร็วสูงขึ้นเรื่อยๆ ความเร็วบัสของระบบจึงกลายเป็นปัญหาคอขวด สำาหรับพีซียุคใหม่ โดยทั่วไปแล้วความเร็วบัส ของระบบคือ 400 MHz, 533 MHz, 667 MHz, และ 800 MHz  วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 65
  • 66. FSB = คือ Front Side Bus หมายถึง การส่งข้อมูล ระหว่าง CPU และ ชิพเซ็ต NorthBridge วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 66