SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
ความเครียด นักวิชาการสาธารณสุข  9  ชช  ( ด้านจิตวิทยา ) โดย  สุพรรนี  ภู่กำชัย
 
 
 
ความจริง 10 ประการเกี่ยวกับความเครียด ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ความเครียด ความเครียด เป็นเรื่องของจิตใจที่เกิดจากความตื่นตัว เตรียมรับเหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งซึ่งไม่น่าพึงพอใจและเป็น เรื่องที่เราคิดว่าหนักหนาสาหัส เกินกำลังความสามารถที่จะแก้ไขได้ ทำให้เกิดความรู้สึกหนักใจ และพลอยทำให้เกิดอาการผิดปกติ ทางร่างกายขึ้นด้วย หากความเครียดนั้นมีมากและคงอยู่เป็นเวลา นาน
ความเครียด ความเครียด ที่ไม่มากนัก จะเป็นแรงกระตุ้นให้คนเราเกิด แรงมุมานะที่จะเอาชนะปัญหาอุปสรรคต่างๆได้ คนที่มีความ รับ ผิดชอบ สูงจึงมักหนีความเครียดไปไม่พ้น แต่ถ้าหากคนเราไม่รู้จักผ่อนคลายความเครียดเสียบ้าง ปล่อยไว้ จนสะสมมากเข้าในที่สุดอาจมีปัญหาความผิดปกติทางกายและจิต ตามมาเป็นผลให้ชีวิตไร้สุข ครอบครัวมีปัญหาและการทำงานก็ด้อยลง
ความเครียด ,[object Object],[object Object],[object Object]
ความเครียดจะส่งผลให้เกิดความผิดปกติ ทางร่างกาย จิตใจ และพฤติกรรม ,[object Object],[object Object],[object Object]
จงละเว้นการแก้ไขปัญหาแบบต่างๆ ต่อไปนี้ อย่า  !   แก้ปัญหาแบบวู่วาม ใช้อารมณ์เป็นใหญ่ อย่า  !   หนีปัญหา อย่า  !   คิดแต่จะพึ่งพาผู้อื่นอยู่ร่ำไป อย่า  !   เอาแต่ลงโทษตัวเอง อย่า  !   โยนความผิดให้คนอื่น
จงแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ใช้เหตุผล และใช้ความคิดพิจารณาให้ถี่ถ้วน โดย 1.  คิดหาสาเหตุของปัญหาด้วยใจเป็นธรรม  ไม่เข้าข้างตัวเอง ไม่โทษคนอื่น 2.  คิดหาวิธีแก้ปัญหาหลาย ๆ วิธี ถ้าคิดเองไม่ออก อาจปรึกษาผู้ใกล้ชิด หรือผู้ที่มีประสบการณ์มากกว่า 3.  แก้ปัญหาตามวิธีที่คิดไว้ อาจต้องใช้ความกล้าหาญ อดทน หรือต้องใช้เวลาบ้าง อย่าได้ท้อถอยไปเสียก่อน
4.  ประเมินผลดูว่าวิธีที่ใช้ได้ผลหรือไม่  ถ้าไม่ได้ผล ก็เปลี่ยนไปใช้วิธีอื่น ๆ ที่เตรียมไว้ จนกว่าจะได้ผล เมื่อแก้ปัญหาได้  ก็จะหายเครียด และเกิดความ ภาคภูมิใจในตัวเองด้วย
วิธีคิดที่เหมาะสม ได้แก่ 1.  คิดในแง่ยืดหยุ่นให้มากขึ้น 2.  คิดอย่างมีเหตุผล 3.  คิดหลาย ๆ แง่มุม 4.  คิดแต่เรื่องดี ๆ 5.  คิดถึงคนอื่นบ้าง
แนวทางในการจัดการกับความเครียด 1.  หมั่นสังเกตความผิดปกติทางร่างกาย จิตใจ  และพฤติกรรมที่เกิดจากความเครียด 2.  รู้ตัวว่าเครียดจากปัญหาใด  ให้พยายามแก้ปัญหานั้นให้ได้โดยเร็ว 3.  เรียนรู้การปรับเปลี่ยนความคิดจากแง่ลบให้เป็นแง่บวก 4.  ผ่อนคลายความเครียดด้วยวิธีที่คุ้นเคย 5.  ใช้เทคนิคเฉพาะในการคลายเครียด
การผ่อนคลายความเครียดแบบทั่ว ๆไป ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
10.  จัดห้อง  ตกแต่งบ้าน 11.  อ่านหนังสือ เขียนหนังสือ เขียนบทกลอน 12.  สะสมแสตมป์ สะสมพระเครื่อง สะสมเครื่องประดับ 13.  ถ่ายรูป จัดอัลบั้ม 14.  เล่นเกมคอมพิวเตอร์ ท่องอินเตอร์เน็ต 15.  พูดคุย พบปะสังสรรค์กับเพื่อนฝูง 16.  ไปเสริมสวย ทำผม ทำเล็บ 17.  ไปชื้อของ 18.  ไปท่องเที่ยวเปลี่ยนบรรยากาศ ฯลฯ
เทคนิคเฉพาะในการคลายเครียด ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
จิตใจที่เป็นสุข สุขภาพจิต  สามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสม ไม่เป็นโรคจิต
ลักษณะผู้ที่มีสุขภาพจิตดี 1. รู้จักเข้าใจตนเองพยายามปรับปรุง ตนเองเสมอและสามารถแก้ไข ปัญหาได้ 2. มีอารมณ์เยือกเย็น สุขุม รอบคอบ 3. มองโลกในแง่ดีและทำงานให้ เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น ลักษณะผู้มีสุขภาพจิตไม่ดี 1. ไม่สบายใจเป็นครั้งคราว 2. อาการทางกาย เช่น ปวดหัว ใจสั่น 3. โรคทางกายเช่น แผลใน กระเพาะ อาหาร 4. โรคประสาท 5. โรคจิต ลักษณะผู้มีสุขภาพจิตดีและไม่ดี
เคล็ดลับทำให้ใจเป็นสุข 1. ต้องพอใจในตัวเอง คือรู้จักพอใจ 2. ต้องยอมรับความขมขื่นยอมรับความจริง 3. ต้องรู้จักอดทน 4. ต้องรู้จักอภัย 5. ต้องรู้จักตัดกังวล อย่าเอาเรื่อง เล็กๆ น้อยๆ มาสุมอยู่ในใจของเรา
6.  รู้จักรับคำติชม 7.  รู้จักเชื่อมั่นในตนเอง 8.  ต้องรู้จักเป้าหมายของชีวิต 9.  ต้องรู้จักใช้ความง่ายของชีวิต 10. รู้จักความดี ทำแต่สิ่งที่ดี 11.  ต้องรู้จักความสนุกสนาน รื่นเริง
“ เขาว่าเรา เราอย่าโกรธ ลงโทษเขา ในเมื่อเรา  นี้ไม่เป็น  เช่นเขาว่า หากเราเป็น  จริงจัง  ดังวาจา เมื่อเขาว่า  อย่าโกรธเขา  เราเป็นจริง”
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]

More Related Content

Similar to ความเครียด

20 วิธีหลับง่านอนสบาย
20 วิธีหลับง่านอนสบาย20 วิธีหลับง่านอนสบาย
20 วิธีหลับง่านอนสบาย
Pozz Recover
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
Suriyapong Cheung Chang
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
Suriyapong Cheung Chang
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
Suriyapong Cheung Chang
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
Suriyapong Cheung Chang
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
Suriyapong Cheung Chang
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
Suriyapong Cheung Chang
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
Suriyapong Cheung Chang
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
Suriyapong Cheung Chang
 
พราววดี ไชยขาว 2_3
พราววดี ไชยขาว 2_3พราววดี ไชยขาว 2_3
พราววดี ไชยขาว 2_3
Prawwadee Chaikao
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
Suriyapong Cheung Chang
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
Suriyapong Cheung Chang
 
สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12
PaChArIn27
 

Similar to ความเครียด (20)

20 วิธีหลับง่านอนสบาย
20 วิธีหลับง่านอนสบาย20 วิธีหลับง่านอนสบาย
20 วิธีหลับง่านอนสบาย
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
 
การเตรียมตัวเข้ามหาลัย
การเตรียมตัวเข้ามหาลัยการเตรียมตัวเข้ามหาลัย
การเตรียมตัวเข้ามหาลัย
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
 
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
 
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมอง
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมองเทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมอง
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมอง
 
10วิธีทำตัวเองให้ฉลาดขึ้น
10วิธีทำตัวเองให้ฉลาดขึ้น10วิธีทำตัวเองให้ฉลาดขึ้น
10วิธีทำตัวเองให้ฉลาดขึ้น
 
พราววดี ไชยขาว 2_3
พราววดี ไชยขาว 2_3พราววดี ไชยขาว 2_3
พราววดี ไชยขาว 2_3
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
 
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
 
สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12
 

ความเครียด

  • 1. ความเครียด นักวิชาการสาธารณสุข 9 ชช ( ด้านจิตวิทยา ) โดย สุพรรนี ภู่กำชัย
  • 2.  
  • 3.  
  • 4.  
  • 5.
  • 6.
  • 7. ความเครียด ความเครียด เป็นเรื่องของจิตใจที่เกิดจากความตื่นตัว เตรียมรับเหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งซึ่งไม่น่าพึงพอใจและเป็น เรื่องที่เราคิดว่าหนักหนาสาหัส เกินกำลังความสามารถที่จะแก้ไขได้ ทำให้เกิดความรู้สึกหนักใจ และพลอยทำให้เกิดอาการผิดปกติ ทางร่างกายขึ้นด้วย หากความเครียดนั้นมีมากและคงอยู่เป็นเวลา นาน
  • 8. ความเครียด ความเครียด ที่ไม่มากนัก จะเป็นแรงกระตุ้นให้คนเราเกิด แรงมุมานะที่จะเอาชนะปัญหาอุปสรรคต่างๆได้ คนที่มีความ รับ ผิดชอบ สูงจึงมักหนีความเครียดไปไม่พ้น แต่ถ้าหากคนเราไม่รู้จักผ่อนคลายความเครียดเสียบ้าง ปล่อยไว้ จนสะสมมากเข้าในที่สุดอาจมีปัญหาความผิดปกติทางกายและจิต ตามมาเป็นผลให้ชีวิตไร้สุข ครอบครัวมีปัญหาและการทำงานก็ด้อยลง
  • 9.
  • 10.
  • 11. จงละเว้นการแก้ไขปัญหาแบบต่างๆ ต่อไปนี้ อย่า ! แก้ปัญหาแบบวู่วาม ใช้อารมณ์เป็นใหญ่ อย่า ! หนีปัญหา อย่า ! คิดแต่จะพึ่งพาผู้อื่นอยู่ร่ำไป อย่า ! เอาแต่ลงโทษตัวเอง อย่า ! โยนความผิดให้คนอื่น
  • 12. จงแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ใช้เหตุผล และใช้ความคิดพิจารณาให้ถี่ถ้วน โดย 1. คิดหาสาเหตุของปัญหาด้วยใจเป็นธรรม ไม่เข้าข้างตัวเอง ไม่โทษคนอื่น 2. คิดหาวิธีแก้ปัญหาหลาย ๆ วิธี ถ้าคิดเองไม่ออก อาจปรึกษาผู้ใกล้ชิด หรือผู้ที่มีประสบการณ์มากกว่า 3. แก้ปัญหาตามวิธีที่คิดไว้ อาจต้องใช้ความกล้าหาญ อดทน หรือต้องใช้เวลาบ้าง อย่าได้ท้อถอยไปเสียก่อน
  • 13. 4. ประเมินผลดูว่าวิธีที่ใช้ได้ผลหรือไม่ ถ้าไม่ได้ผล ก็เปลี่ยนไปใช้วิธีอื่น ๆ ที่เตรียมไว้ จนกว่าจะได้ผล เมื่อแก้ปัญหาได้ ก็จะหายเครียด และเกิดความ ภาคภูมิใจในตัวเองด้วย
  • 14. วิธีคิดที่เหมาะสม ได้แก่ 1. คิดในแง่ยืดหยุ่นให้มากขึ้น 2. คิดอย่างมีเหตุผล 3. คิดหลาย ๆ แง่มุม 4. คิดแต่เรื่องดี ๆ 5. คิดถึงคนอื่นบ้าง
  • 15. แนวทางในการจัดการกับความเครียด 1. หมั่นสังเกตความผิดปกติทางร่างกาย จิตใจ และพฤติกรรมที่เกิดจากความเครียด 2. รู้ตัวว่าเครียดจากปัญหาใด ให้พยายามแก้ปัญหานั้นให้ได้โดยเร็ว 3. เรียนรู้การปรับเปลี่ยนความคิดจากแง่ลบให้เป็นแง่บวก 4. ผ่อนคลายความเครียดด้วยวิธีที่คุ้นเคย 5. ใช้เทคนิคเฉพาะในการคลายเครียด
  • 16.
  • 17. 10. จัดห้อง ตกแต่งบ้าน 11. อ่านหนังสือ เขียนหนังสือ เขียนบทกลอน 12. สะสมแสตมป์ สะสมพระเครื่อง สะสมเครื่องประดับ 13. ถ่ายรูป จัดอัลบั้ม 14. เล่นเกมคอมพิวเตอร์ ท่องอินเตอร์เน็ต 15. พูดคุย พบปะสังสรรค์กับเพื่อนฝูง 16. ไปเสริมสวย ทำผม ทำเล็บ 17. ไปชื้อของ 18. ไปท่องเที่ยวเปลี่ยนบรรยากาศ ฯลฯ
  • 18.
  • 19. จิตใจที่เป็นสุข สุขภาพจิต สามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสม ไม่เป็นโรคจิต
  • 20. ลักษณะผู้ที่มีสุขภาพจิตดี 1. รู้จักเข้าใจตนเองพยายามปรับปรุง ตนเองเสมอและสามารถแก้ไข ปัญหาได้ 2. มีอารมณ์เยือกเย็น สุขุม รอบคอบ 3. มองโลกในแง่ดีและทำงานให้ เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น ลักษณะผู้มีสุขภาพจิตไม่ดี 1. ไม่สบายใจเป็นครั้งคราว 2. อาการทางกาย เช่น ปวดหัว ใจสั่น 3. โรคทางกายเช่น แผลใน กระเพาะ อาหาร 4. โรคประสาท 5. โรคจิต ลักษณะผู้มีสุขภาพจิตดีและไม่ดี
  • 21. เคล็ดลับทำให้ใจเป็นสุข 1. ต้องพอใจในตัวเอง คือรู้จักพอใจ 2. ต้องยอมรับความขมขื่นยอมรับความจริง 3. ต้องรู้จักอดทน 4. ต้องรู้จักอภัย 5. ต้องรู้จักตัดกังวล อย่าเอาเรื่อง เล็กๆ น้อยๆ มาสุมอยู่ในใจของเรา
  • 22. 6. รู้จักรับคำติชม 7. รู้จักเชื่อมั่นในตนเอง 8. ต้องรู้จักเป้าหมายของชีวิต 9. ต้องรู้จักใช้ความง่ายของชีวิต 10. รู้จักความดี ทำแต่สิ่งที่ดี 11. ต้องรู้จักความสนุกสนาน รื่นเริง
  • 23. “ เขาว่าเรา เราอย่าโกรธ ลงโทษเขา ในเมื่อเรา นี้ไม่เป็น เช่นเขาว่า หากเราเป็น จริงจัง ดังวาจา เมื่อเขาว่า อย่าโกรธเขา เราเป็นจริง”
  • 24.