SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
'Flipped Classroom'ห้องเรียนกลับด้าน
'Flipped Classroom'ห้องเรียนกลับด้าน'สพฐ.-ให้เรียนที่บ้าน'ทําการบ้านที่ร.ร....
ศน.กุลธิดา ปัญญาจิรวุฒิ / แลกเปลี่ยนเรียนรู้...
"ห้องเรียนกลับด้าน" หรือ "Flipped Classroom" เป็นแนวทางจัดการเรียนการสอนแบบใหม่ที่
Jonathan และ Aaron ครูวิชาเคมีของโรงเรียน Woodland Park High School สหรัฐอเมริกา คิดค้น
ขึ้น นักเรียนบางส่วนของพวกเขาจําเป็นต้องขาดเรียนบ่อยครั้งเพราะถูกกิจกรรมต่างๆ ดึงตัวออกไป ทั้ง 2
คนจึงระดมสมองคิดหาทางแก้ไข จนนําไปสู่ Flipped Classroom ในปี 2007 จนถึงปัจจุบัน กระแส
Flipped Classroom แพร่ขยายเป็นวงกว้างในอเมริกา และในปีการศึกษา 2556 นี้ ชั้นเรียนใน
โรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) จะ
ปรับตัวให้เป็นห้องเรียนกลับด้าน เช่นกัน
" เรียนที่บ้าน-ทําการบ้านที่โรงเรียน "
นิยามสั้นๆ ของ Flipped Classroom นั้น “รุ่งนภา นุตราวงศ์" ผู้เชี่ยวชาญของ สพฐ. ซึ่งจับเรื่องนี้มาตั้งแต่
แรก อธิบายให้เข้าใจง่ายๆ ว่า นําสิ่งที่เดิมเคยทําในชั้นเรียนไปทําที่บ้าน และนําสิ่งที่เคยถูกมอบหมายให้ทําที่
บ้านมาทําในชั้นเรียนแทน ชั้นเรียนที่เราคุ้นเคยกันมานั้น ครูจะเป็นผู้บรรยายเนื้อหาต่างๆ ในชั้นเรียนแล้วมอบ
งานให้นักเรียนกลับไปทําเป็นการบ้าน แต่ Jonathan และ Aaron สังเกตว่า เวลาที่นักเรียนต้องการพบครู
จริง ๆ คือ เวลาที่เขาติดขัดและต้องการความช่วยเหลือ เขาไม่ได้ต้องการครูอยู่ในชั้นเรียนเพื่อบอกเนื้อหา
เพราะเขาสามารถค้นหาเนื้อหานั้นด้วยตนเองได้
เพราะฉะนั้น ถ้าครูบันทึกวีดิทัศน์การสอนให้เด็กไปดูเป็นการบ้าน แล้วครูใช้ชั้นเรียนสําหรับ
ชี้แนะนักเรียนให้เข้าใจแก่นความรู้ หรือชี้แนะในการที่เด็กได้รับมอบหมายจะดีกว่า ขณะเดียวกัน เทคโนโลยี
สารสนเทศในปัจจุบันก้าวหน้าไปมาก เว็บไซต์ต่าง ๆ อย่าง You tube อัดแน่นไปด้วยความรู้ต่าง ๆ เด็ก
สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง หมดยุคที่ต้องคอยมารอรับความรู้ในชั้นเรียนเพียงช่องทางเดียวแล้ว
เพราะฉะนั้นในห้องเรียนกลับด้าน ครูจะแจกสื่อให้เด็กไปเรียนรู้ล่วงหน้าที่บ้าน หรืออาจให้เด็กไป
ดูสื่ออย่างยูทูบ เมื่อมาเข้าชั้นเรียนในวันรุ่งขึ้น นักเรียนจะซักถามข้อสงสัยต่าง ๆ จากนั้นก็ลงมือทํางานที่ได้รับ
มอบหมายเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม โดยมีครูคอยให้คําแนะนําตอบข้อสงสัย
การที่จะตรวจสอบว่า เด็กได้ดูสื่อที่ครูให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าหรือไม่นั้น เด็กจะบันทึกโน้ตมาส่งครู
อาจบันทึกมาในสมุด หรือเข้าไปเขียนไว้ใน Blog ของครู หรือเขียนส่งมาทางอีเมล และจะให้เด็กตั้งคําถาม
มาด้วยอย่างน้อย 1 ข้อ อย่างไรก็ตาม จะต้องมีการฝึกทักษะในการจดบันทึกให้แก่นักเรียนก่อนช่วงต้นปี
การศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ห้องเรียนกลับด้านให้เด็ก
ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กล่าวว่า การให้เด็กเรียนรู้
เนื้อหาล่วงหน้าที่บ้านแล้วมาพูดคุยในชั้นเรียนนั้น จะทําให้เด็กเรียนรู้ได้ดีขึ้น เร็วขึ้น เหลือเวลาสําหรับเติมสิ่ง
อื่นๆ ให้เด็กโดยเฉพาะทักษะคิดวิเคราะห์ รูปแบบเดิมนั้น เวลาในชั้นเรียนจะหมดไปกับการ warm-up
 
 
(เตรียมพร้อม) จํานวน 5 นาที ตอบข้อสงสัยเกี่ยวกับการบ้านของนักเรียน 20 นาที บรรยายเนื้อหาใหม่ 30-45
นาที เหลือแค่ 20-35 นาทีให้นักเรียนทํางานและกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ แต่ห้องเรียนกลับด้าน ใช้เวลา
warm-up จํานวน 5 นาที ถามตอบเกี่ยวกับวิดีโอที่ดู 10 นาที ที่เหลืออีก 75 นาที เต็มๆ นักเรียนจะได้ทํางาน
กิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ ที่ช่วยเพิ่มพูนความรู้ให้ลุ่มลึกกว้างขวางขึ้น
ที่ผ่านมา เด็กไทยอยู่ในกลุ่มเรียนเยอะ เปรียบเทียบจํานวนชั่วโมงเรียนกับนานาชาติแล้ว ไทยอยู่ใน
กลุ่มบน ต่อปีเด็กไทยเรียนถึง 1,200 คาบ แต่ผลประเมินระดับนานาชาติ เช่น Pisa กลับอยู่ในกลุ่มล่าง เข้า
ทํานองเรียนมากแต่รู้น้อย
ดร.ชินภัทร บอกว่า 70% ของชั้นเรียนเป็นการบรรยายของครู แต่ถ้ากลับด้านห้องเรียนแล้ว แทนที่
เด็กจะมาตัวเปล่า นั่งรอรับความรู้จากครู เด็กก็จะมาเรียนด้วยความเข้าใจเพราะเรียนรู้เนื้อหาล่วงหน้ามาแล้ว
ในชั้นเรียนจะเป็นการซักถามเพิ่มเติม การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน เราจะได้เวลาเพิ่มขึ้นอีก 30-40 นาที สําหรับ
พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ให้เด็ก
"ห้องเรียนกลับด้าน" ยังเป็นการเข้าใกล้การจัดการเรียนการสอนแบบ Child Center มากขึ้น
แทนที่การสอนแบบ Teacher Center ซึ่งกําลังจะตกยุคเข้าไปทุกที ที่สําคัญช่วยแก้ปัญหาเรื่องการบ้านได้
ด้วย
ดร.ชินภัทร บอกว่า เด็กไม่ต้องไปทุกข์ทนกับการทําการบ้านที่บ้านอีกต่อไป การบ้านบางประเภท
โดยเฉพาะ Problem solving นั้น เด็กไม่สามารถทําคนเดียวโดยปราศจากการแนะนําของครูได้ การฝึกให้
การบ้านกับเด็กไป รังแต่สร้างความเครียดกับเด็ก สุดท้ายเด็กอาจเกลียดกลัวการมาโรงเรียน แต่ถ้ากลับด้านให้
เด็กเรียนเนื้อหาล่วงหน้ามาเป็นการบ้านแล้วมาทํางานร่วมกันในชั้นเรียน จะช่วยให้เด็กเรียนด้วยความเข้าใจ
และมีความสุขขึ้น
สพฐ.จะเดินหน้าปรับโฉมชั้นเรียนเป็น Flipped Classroom ทันทีในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ดร.ชิน
ภัทร ย้ําว่า และนี่จะเป็นสิ่งที่ สพฐ.ทําเพื่อเพิ่มคุณภาพการจัดการเรียนการสอนได้โดยไม่ต้องรอการปฏิรูป
หลักสูตรซึ่งอาจใช้เวลานาน และสําหรับ ดร.ชินภัทร แล้ว ห้องเรียนกลับด้าน เป็นการคิด "นอกกรอบ" ที่
สพฐ.หามานาน สําหรับตอบโจทย์ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง...
เอกสาร อ้างอิง : เดลินิวส์ 3 พ.ค. 56

More Related Content

Viewers also liked

การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21Yai Muay
 
แนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนสู่ความเป็นเลิศ
แนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนสู่ความเป็นเลิศแนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนสู่ความเป็นเลิศ
แนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนสู่ความเป็นเลิศKomsun See
 
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learning
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learningงานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learning
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-LearningNECTEC, NSTDA
 
Flipped learning-privateschool-CM59
Flipped learning-privateschool-CM59Flipped learning-privateschool-CM59
Flipped learning-privateschool-CM59Kittipun Udomseth
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...Nattapon
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...Nattapon
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21Anucha Somabut
 

Viewers also liked (10)

การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
 
แนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนสู่ความเป็นเลิศ
แนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนสู่ความเป็นเลิศแนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนสู่ความเป็นเลิศ
แนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนสู่ความเป็นเลิศ
 
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learning
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learningงานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learning
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learning
 
Flipped learning-privateschool-CM59
Flipped learning-privateschool-CM59Flipped learning-privateschool-CM59
Flipped learning-privateschool-CM59
 
Digital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of ThailandDigital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of Thailand
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
 
Flipped classroom
Flipped classroomFlipped classroom
Flipped classroom
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 

More from สมใจ จันสุกสี

ใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every dayใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every dayสมใจ จันสุกสี
 
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every dayใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every dayสมใจ จันสุกสี
 
ใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV  เรื่อง Things to do every dayใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV  เรื่อง Things to do every day
ใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every dayสมใจ จันสุกสี
 
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTV
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTVใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTV
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTVสมใจ จันสุกสี
 
หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4
หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4
หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4สมใจ จันสุกสี
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการ
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการ
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการสมใจ จันสุกสี
 
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิตใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิตสมใจ จันสุกสี
 
ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59
ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59
ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59สมใจ จันสุกสี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1สมใจ จันสุกสี
 
จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์
จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์
จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์สมใจ จันสุกสี
 

More from สมใจ จันสุกสี (20)

ใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every dayใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every day
 
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every dayใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
 
ใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV  เรื่อง Things to do every dayใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV  เรื่อง Things to do every day
ใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
 
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTV
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTVใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTV
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTV
 
หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4
หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4
หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการ
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการ
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการ
 
Preposition คำบุพบทบอกสถานที่
Preposition คำบุพบทบอกสถานที่ Preposition คำบุพบทบอกสถานที่
Preposition คำบุพบทบอกสถานที่
 
Asking and giving personal information
Asking and giving personal informationAsking and giving personal information
Asking and giving personal information
 
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิตใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
 
ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59
ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59
ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59
 
แบบฝึกหัดการใช้ some / any
แบบฝึกหัดการใช้ some / any แบบฝึกหัดการใช้ some / any
แบบฝึกหัดการใช้ some / any
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1
 
Expertpro powerpoint
Expertpro powerpoint Expertpro powerpoint
Expertpro powerpoint
 
Present continuous tense 1
Present continuous tense 1Present continuous tense 1
Present continuous tense 1
 
Singular and plural
Singular and pluralSingular and plural
Singular and plural
 
This, that , these , those
This, that , these , thoseThis, that , these , those
This, that , these , those
 
there is / there and prepositions
there is / there and prepositionsthere is / there and prepositions
there is / there and prepositions
 
จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์
จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์
จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์
 
Read the passage and answer the questions ม.3
Read the passage and answer the questions ม.3Read the passage and answer the questions ม.3
Read the passage and answer the questions ม.3
 
แบบฝึกหัดเรื่อง Present simple
แบบฝึกหัดเรื่อง Present simple แบบฝึกหัดเรื่อง Present simple
แบบฝึกหัดเรื่อง Present simple
 

ห้องเรียนกลับด้าน Flipped classroom

  • 1. 'Flipped Classroom'ห้องเรียนกลับด้าน 'Flipped Classroom'ห้องเรียนกลับด้าน'สพฐ.-ให้เรียนที่บ้าน'ทําการบ้านที่ร.ร.... ศน.กุลธิดา ปัญญาจิรวุฒิ / แลกเปลี่ยนเรียนรู้... "ห้องเรียนกลับด้าน" หรือ "Flipped Classroom" เป็นแนวทางจัดการเรียนการสอนแบบใหม่ที่ Jonathan และ Aaron ครูวิชาเคมีของโรงเรียน Woodland Park High School สหรัฐอเมริกา คิดค้น ขึ้น นักเรียนบางส่วนของพวกเขาจําเป็นต้องขาดเรียนบ่อยครั้งเพราะถูกกิจกรรมต่างๆ ดึงตัวออกไป ทั้ง 2 คนจึงระดมสมองคิดหาทางแก้ไข จนนําไปสู่ Flipped Classroom ในปี 2007 จนถึงปัจจุบัน กระแส Flipped Classroom แพร่ขยายเป็นวงกว้างในอเมริกา และในปีการศึกษา 2556 นี้ ชั้นเรียนใน โรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) จะ ปรับตัวให้เป็นห้องเรียนกลับด้าน เช่นกัน " เรียนที่บ้าน-ทําการบ้านที่โรงเรียน " นิยามสั้นๆ ของ Flipped Classroom นั้น “รุ่งนภา นุตราวงศ์" ผู้เชี่ยวชาญของ สพฐ. ซึ่งจับเรื่องนี้มาตั้งแต่ แรก อธิบายให้เข้าใจง่ายๆ ว่า นําสิ่งที่เดิมเคยทําในชั้นเรียนไปทําที่บ้าน และนําสิ่งที่เคยถูกมอบหมายให้ทําที่ บ้านมาทําในชั้นเรียนแทน ชั้นเรียนที่เราคุ้นเคยกันมานั้น ครูจะเป็นผู้บรรยายเนื้อหาต่างๆ ในชั้นเรียนแล้วมอบ งานให้นักเรียนกลับไปทําเป็นการบ้าน แต่ Jonathan และ Aaron สังเกตว่า เวลาที่นักเรียนต้องการพบครู จริง ๆ คือ เวลาที่เขาติดขัดและต้องการความช่วยเหลือ เขาไม่ได้ต้องการครูอยู่ในชั้นเรียนเพื่อบอกเนื้อหา เพราะเขาสามารถค้นหาเนื้อหานั้นด้วยตนเองได้ เพราะฉะนั้น ถ้าครูบันทึกวีดิทัศน์การสอนให้เด็กไปดูเป็นการบ้าน แล้วครูใช้ชั้นเรียนสําหรับ ชี้แนะนักเรียนให้เข้าใจแก่นความรู้ หรือชี้แนะในการที่เด็กได้รับมอบหมายจะดีกว่า ขณะเดียวกัน เทคโนโลยี สารสนเทศในปัจจุบันก้าวหน้าไปมาก เว็บไซต์ต่าง ๆ อย่าง You tube อัดแน่นไปด้วยความรู้ต่าง ๆ เด็ก สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง หมดยุคที่ต้องคอยมารอรับความรู้ในชั้นเรียนเพียงช่องทางเดียวแล้ว เพราะฉะนั้นในห้องเรียนกลับด้าน ครูจะแจกสื่อให้เด็กไปเรียนรู้ล่วงหน้าที่บ้าน หรืออาจให้เด็กไป ดูสื่ออย่างยูทูบ เมื่อมาเข้าชั้นเรียนในวันรุ่งขึ้น นักเรียนจะซักถามข้อสงสัยต่าง ๆ จากนั้นก็ลงมือทํางานที่ได้รับ มอบหมายเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม โดยมีครูคอยให้คําแนะนําตอบข้อสงสัย การที่จะตรวจสอบว่า เด็กได้ดูสื่อที่ครูให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าหรือไม่นั้น เด็กจะบันทึกโน้ตมาส่งครู อาจบันทึกมาในสมุด หรือเข้าไปเขียนไว้ใน Blog ของครู หรือเขียนส่งมาทางอีเมล และจะให้เด็กตั้งคําถาม มาด้วยอย่างน้อย 1 ข้อ อย่างไรก็ตาม จะต้องมีการฝึกทักษะในการจดบันทึกให้แก่นักเรียนก่อนช่วงต้นปี การศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ห้องเรียนกลับด้านให้เด็ก ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กล่าวว่า การให้เด็กเรียนรู้ เนื้อหาล่วงหน้าที่บ้านแล้วมาพูดคุยในชั้นเรียนนั้น จะทําให้เด็กเรียนรู้ได้ดีขึ้น เร็วขึ้น เหลือเวลาสําหรับเติมสิ่ง อื่นๆ ให้เด็กโดยเฉพาะทักษะคิดวิเคราะห์ รูปแบบเดิมนั้น เวลาในชั้นเรียนจะหมดไปกับการ warm-up    
  • 2. (เตรียมพร้อม) จํานวน 5 นาที ตอบข้อสงสัยเกี่ยวกับการบ้านของนักเรียน 20 นาที บรรยายเนื้อหาใหม่ 30-45 นาที เหลือแค่ 20-35 นาทีให้นักเรียนทํางานและกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ แต่ห้องเรียนกลับด้าน ใช้เวลา warm-up จํานวน 5 นาที ถามตอบเกี่ยวกับวิดีโอที่ดู 10 นาที ที่เหลืออีก 75 นาที เต็มๆ นักเรียนจะได้ทํางาน กิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ ที่ช่วยเพิ่มพูนความรู้ให้ลุ่มลึกกว้างขวางขึ้น ที่ผ่านมา เด็กไทยอยู่ในกลุ่มเรียนเยอะ เปรียบเทียบจํานวนชั่วโมงเรียนกับนานาชาติแล้ว ไทยอยู่ใน กลุ่มบน ต่อปีเด็กไทยเรียนถึง 1,200 คาบ แต่ผลประเมินระดับนานาชาติ เช่น Pisa กลับอยู่ในกลุ่มล่าง เข้า ทํานองเรียนมากแต่รู้น้อย ดร.ชินภัทร บอกว่า 70% ของชั้นเรียนเป็นการบรรยายของครู แต่ถ้ากลับด้านห้องเรียนแล้ว แทนที่ เด็กจะมาตัวเปล่า นั่งรอรับความรู้จากครู เด็กก็จะมาเรียนด้วยความเข้าใจเพราะเรียนรู้เนื้อหาล่วงหน้ามาแล้ว ในชั้นเรียนจะเป็นการซักถามเพิ่มเติม การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน เราจะได้เวลาเพิ่มขึ้นอีก 30-40 นาที สําหรับ พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ให้เด็ก "ห้องเรียนกลับด้าน" ยังเป็นการเข้าใกล้การจัดการเรียนการสอนแบบ Child Center มากขึ้น แทนที่การสอนแบบ Teacher Center ซึ่งกําลังจะตกยุคเข้าไปทุกที ที่สําคัญช่วยแก้ปัญหาเรื่องการบ้านได้ ด้วย ดร.ชินภัทร บอกว่า เด็กไม่ต้องไปทุกข์ทนกับการทําการบ้านที่บ้านอีกต่อไป การบ้านบางประเภท โดยเฉพาะ Problem solving นั้น เด็กไม่สามารถทําคนเดียวโดยปราศจากการแนะนําของครูได้ การฝึกให้ การบ้านกับเด็กไป รังแต่สร้างความเครียดกับเด็ก สุดท้ายเด็กอาจเกลียดกลัวการมาโรงเรียน แต่ถ้ากลับด้านให้ เด็กเรียนเนื้อหาล่วงหน้ามาเป็นการบ้านแล้วมาทํางานร่วมกันในชั้นเรียน จะช่วยให้เด็กเรียนด้วยความเข้าใจ และมีความสุขขึ้น สพฐ.จะเดินหน้าปรับโฉมชั้นเรียนเป็น Flipped Classroom ทันทีในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ดร.ชิน ภัทร ย้ําว่า และนี่จะเป็นสิ่งที่ สพฐ.ทําเพื่อเพิ่มคุณภาพการจัดการเรียนการสอนได้โดยไม่ต้องรอการปฏิรูป หลักสูตรซึ่งอาจใช้เวลานาน และสําหรับ ดร.ชินภัทร แล้ว ห้องเรียนกลับด้าน เป็นการคิด "นอกกรอบ" ที่ สพฐ.หามานาน สําหรับตอบโจทย์ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง... เอกสาร อ้างอิง : เดลินิวส์ 3 พ.ค. 56