SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
A Development Model for the flood risk of
community strong in Kalasin Province.
เค้าโครงวิทยานิพนธ์
รูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง จังหวัดกาฬสินธุ์
• ความเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลก(Climate Change)
•Guha-Spir (2012: 14) 10 อันดับแรกของประเทศทั่วโลกที่ประสบภัยพิบัติ
เหตุอุทกภัยเกิดขึ้นมากที่สุด ถึง 64 ครั้ง
•ประเทศไทย มีรายงานสถิติเหตุสาธารณภัยในช่วง 10 ปี
•The Project on Capacity Development in Disaster
Management InThailand
สภาพปัญหา
•Community Based Disaster Risk Management :
CBDRM
•การกระตุ้นให้เกิดความตั้งใจที่จะเรียนรู้ และทักษะใหม่ๆ มีส่วนร่วมในการจัด
การศึกษา และการจัดการภัยพิบัติที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
สภาพปัญหา (ต่อ)
ระดับความรุนแรงสาธารณภัย
 Guha-Spir (2012: 7) Centre for Research on the
Epidemiology of Disasters (CRED)
 1) มีรายงานผู้เสียชีวิตตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป
 2) มีผู้ได้รับผลกระทบตั้งแต่ 100 คนขึ้นไป
 3) มีการประกาศภาวะฉุกเฉิน
 4) มีการร้องของความช่วยเหลือจากต่างชาติ
ระดับความรุนแรงสาธารณภัย
 แผนปฏิบัติการการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 1) ระดับขนาดเล็ก เป็นระดับเกิดขึ้นทั่วไปที่ ท้องถิ่น อาเภอ และ/หรือผู้ช่วย
ผู้อานวยการกรุงเทพมหานครจัดการเองได้
 2) ระดับขนาดกลาง เป็นระดับที่ เกินความสามารถของ ท้องถิ่น อาเภอ และ/
หรือผู้ช่วยผู้อานวยการกรุงเทพมหานคร ต้องให้ระดับจังหวัด และ/หรือ
ผู้อานวยการกรุงเทพมหานครเข้าควบคุมสถานการณ์
 3) ระดับขนาดใหญ่ที่มีผลกระทบรุนแรงกว้างขวาง หรือต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญ
หรืออุปกรณ์พิเศษ ส่วนกลาง และ/หรือผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณ
ภัยแห่งชาติเข้าควบคุมสถานการณ์
 4) ระดับขนาดใหญ่ที่มีผลกระทบร้ายแรงอย่างยิ่งนายกรัฐมนตรีหรือรอง
นายกรัฐมนตรี ที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย ควบคุมสถานการณ์
สภาพทั่วไปจังหวัดกาฬสินธุ์ (ต่อ)
สภาพทั่วไปจังหวัดกาฬสินธุ์ (ต่อ)
สภาพทั่วไปจังหวัดกาฬสินธุ์
เหตุอุทกภัยในจังหวัดกาฬสินธุ์
เหตุอุทกภัยในจังหวัดกาฬสินธุ์ (ต่อ)
เหตุอุทกภัยในจังหวัดกาฬสินธุ์ (ต่อ)
เหตุอุทกภัยในจังหวัดกาฬสินธุ์ (ต่อ)
ข้อมูลสนับสนุนการศึกษาวิจัย
 เมตตา ผิวขา (2549 ) ระบบการประสานงานในชุมชนกับหน่วยงานในท้องถิ่น
อาเภอ ขาดความเป็นระบบ การวางแผนเตรียมความพร้อมยังขาดความชัดเจน
ชุมชนเองก็ขาดการกระตุ้นจากหน่วยงาน ความลาบากการเดินทาง การเล่าเรียน
 วิริยะ ลิมปินันทน์ และคณะ (2553) การศึกษาเชิงลึกในชุมชน และส่งเสริมให้
ชุมชน การส่งเสริมอาชีพทั้งในภาวะน้าท่วม ภัยแล้ง ก็ขึ้นอยู่กับสภาพพื้นที่ ความ
เหมาะสมและกาลังทรัพยากรของแต่ละครัวเรือน
 ศูนย์เครือข่ายงานวิเคราะห์ วิจัยและฝึกอบรมการเปลี่ยนแปลงของโลกแห่งภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้เสนอแนะ แนวทางการสร้างขีดความสามารถชุมชน
เพื่อให้สามารถรับมือกับความเสี่ยงที่อาจเปลี่ยนแปลงไปจากผลกระทบของการ
เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ควรพิจารณาถึงกระบวนการที่เป็นการดาเนินการอย่าง
ต่อเนื่องในการส่งเสริมให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็งต่อผลกระทบจากสภาพอากาศ
และการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ
ข้อมูลสนับสนุนการศึกษาวิจัย (ต่อ)
 อาทิตย์ เลิศล้า (2546) ได้ให้ข้อเสนอแนะ ในการจัดทามาตรการควรมีการศึกษา
2 ส่วนคือส่วนที่เป็นความต้องการของชุมชน และ มาตรการรองรับของหน่วยงาน
ภาครัฐที่เกี่ยวข้อง
 จากการลงพื้นที่สอบถามผู้นาชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ความ
ต้องการช่วยเหลือหรือสภาพปัญหาที่แท้จริงในชุมชนยังไม่มีการสารวจ ขาดข้อมูลที่
ชัดเจน การป้องกันปัญหาที่มากับน้า, ปัญหาของความต้องการของประชาชนแต่ละ
กลุ่ม, กลุ่มบุคคลที่ต้องดูแลต่อเนื่อง ผู้ป่วยที่ติดอุปกรณ์ทางการแพทย์
 วินัย วีระวัฒนานนท์ (2555) “ความรอบรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม เป็นการแสวงหา
กรรมวิธีทางสังคม วัฒนธรรม ที่จะเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมศึกษาและการปฏิบัติ
นโยบายที่จะนาเสนอวิถีชีวิตที่อยู่ร่วมกับระบบนิเวศน์ได้อย่างยั่งยืน ทั้งในระดับ
ชุมชนและระดับโลก”
ลับ
สรุป
 แนวคิดในการบูรณาการด้านสิ่งแวดล้อมศึกษาเข้าในช่วงการจัดกระบวนการในการ
จัดทาแผนแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้างองค์ความรู้และความตระหนักให้กับกลุ่ม
ตัวอย่าง
 รูปแบบการพัฒนาชุมชนเสี่ยงอุกทกภัยเข้มแข็ง
 เป็นพื้นที่ต้นแบบให้กับชุมชนที่มีบริบทคล้ายคลึงกัน และสามารถเชื่อมโยงเป็น
เครือข่าย
วัตถุประสงค์
 1 เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการย้อนหลังของหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัย
จังหวัดกาฬสินธุ์
 2 เพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง จังหวัดกาฬสินธุ์
 3 เพื่อศึกษาผลของรูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง จังหวัด
กาฬสินธุ์
 4 เพื่อประเมินผลความพึงพอใจในรูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง
จังหวัดกาฬสินธุ์
 5 เพื่อจัดทาแผนแม่บทหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง จังหวัดกาฬสินธุ์
Delphi Technique
ขั้นการวางแผน
-ศึกษาบริบทชุมชน สภาพ
ปัญหา
-กระบวนการวางแผน A-I-C
-สังเคราะห์รูปแบบ
ขั้นปฏิบัติและการสังเกต
- นารูปแบบสู่เวทีประชา
พิจารณ์
- ซ้อมแผนรับมืออุทกภัย
ขั้นสะท้อนกลับ
- จัดเวทีถอดบทเรียน
- Focus Groups
- ประชาคม สรุปสภาพปัญหาที่พบ
และสิ่งที่ต้องพัฒนา
แผนแม่บทหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง
Delphi Technique
Independent Variables
คุณลักษณะส่วนบุคคลของกลุ่ม
ตัวอย่างที่เข้าร่วมกระบวนการ
- เพศ
- อายุ
- การศึกษา
- ตาแหน่งทางสังคม
รูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง
1. ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการ
1.1 สารวจสภาพปัญหา บริบทหมู่บ้าน (Trianguiation)
1.2 กระบวนการกลุ่ม(Focus Groups) ค้นหาปัญหาและความ
ต้องการ
1.3 ประสานงานเครือข่าย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2. กาหนดบทบาท/แนวทางแบบมีส่วนร่วม
(A-I-C,DBRDM,สิ่งแวดล้อมศึกษา)
3. จัดทาแผนรับมืออุทกภัย Delphi Technique
4. กาหนดแผนแม่บทชุมชนในการรับมืออุทกภัย
5. เทียบเคียง จังหวัดอื่น (Benchmark)
6. ซ้อมแผนในภาวะอุทกภัย (แบบนั่งโต๊ะ,ภาคสนาม)
7. สรุปผลจากการสังเกต ร่วมกับหมู่บ้าน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
8. ประชาพิจารณ์(ภาคประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง)
9. กาหนดแผนแม่บทหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง(Delphi Technique)
Dependent Variables
- ความรู้
- ความตระหนัก
- ระดับการมีส่วนร่วม
- การปฎิบัติซ้อมแผน
ความพึงพอใจ
สมมุติฐาน
 1.4.1 ความรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ก่อนและหลัง การจัดทาแผน
แบบมีส่วนร่วมอยู่ในระดับมาก
 1.4.2 ความตระหนักด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ก่อนและหลัง การ
จัดทาแผนแบบมีส่วนร่วมอยู่ในระดับมาก
 1.4.3 ระดับการมีส่วนร่วม ในการจัดทาแผน ซักซ้อมแผนรับมืออุทกภัย อยู่ใน
ระดับมาก
 1.4.4 ความถูกต้องในการปฏิบัติของการซ้อมแผนรับมืออุทกภัยอยู่ในระดับมาก
 1.4.5 ระดับความพึงพอใจของประชาชนในหมู่บ้านอยู่ในระดับมาก
การทบทวนวรรณกรรม
แนวคิดชุมชนเข้มแข็ง
แนวคิดชุมชนเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง
แนวคิดการมีส่วนร่วม
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
วิธีการดาเนินการวิจัย
การวิจัยเชิงปฎิบัติการ (Action Research
การวิเคราะห์ข้อมูล แบบผสมผสาน (Mix
Method)
เทคนิคเดลฟาย (DelphiTechnique)
สถิติอ้างอิง Pair SampleTest
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คัดเลือกแบบเจาะจง ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่
ประสบอุทกภัย ทั้งไร่นา และบ้านเรือน และสูญเสียมากที่สุด
 กลุ่มตัวอย่าง การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive
Sampling) โดยความสมัครใจ
 1) ผู้ใหญ่บ้าน และกรรมการหมู่บ้าน (หรือผู้นากลุ่ม) รวม 7 คน
 2) หัวหน้าคุ้ม จานวน 7 คน
 3) ตัวแทนครัวเรือนที่สมัครใจอย่างน้อย จานวน 30 คน
รวม 44 คน
ตัวแปรต้น
คุณลักษณะส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ
ระดับการศึกษา ตาแหน่งทางสังคม
รูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง
ตัวแปรตาม
 1) ความรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศและ
สิ่งแวดล้อม
 2) ความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมและภัยธรรมชาติ
 3) ระดับการมีส่วนร่วมในกระบวนการ A-I-C
 4) ความถูกต้องการปฎิบัติซ้อมแผนในภาวะอุทกภัย
 5) ระดับความพึงพอใจของกลุ่มผู้เข้าร่วมวิจัย
ขั้นตอนดาเนินการวิจัย
 ขั้นตอนการวิจัยระยะที่ 1
 การศึกษาบริบทของชุมชน
 คัดเลือกกลุ่มแกนนาในชุมชน
 จัดกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม โดยใช้เทคนิคกระบวนการ
A-I-C (Appreciation-Influence-Control) ในช่วงจัด
กระบวนการจะเก็บข้อมูล ผู้เข้าร่วมกระบวนการ เพื่อวัดความรู้
ความตระหนัก ระดับการมีส่วนร่วม
 ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความเป็นไปได้
ขั้นตอนดาเนินการวิจัย (ต่อ)
 ขั้นตอนการวิจัยระยะที่ 2
 ปรับปรุงแนวทาง และแผนของชุมชน
 เวทีประชาพิจารณ์ของชุมชน
 ซ้อมแผนรับมืออุทกภัย
 ขั้นตอนการวิจัยระยะที่ 3
 เวทีถอดบทเรียน
 จัดกระบวนการกลุ่ม (Focus Groups)
 เวทีประชาคม
 จัดทาแนวทาง แบบสอบถาม DelphiTechnique ครั้งที่ 2
ขั้นตอนดาเนินการวิจัย (ต่อ)
 ขั้นตอนการวิจัยระยะที่ 4
 สรุปประมวลผลเพื่อเป็นแผนแม่บทของชุมชน
 เก็บข้อมูลเพื่อวัดความพึงพอใจ
 สะท้อนข้อมูลกลับสู่ชุมชน
ขั้นตอนดาเนินการวิจัย (ต่อ)
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
 1 เทคนิควิจัยอนาคต (DelphiTechnique)เป็นการประยุกต์ใช้เพื่อหาความเป็นไป
ได้ของแนวทางที่ได้จากการจัดกระบวนการ A-I-C จัดทาแบบสอบถาม
 2 แบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม
 3 แบบประเมินความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมและภัยธรรมชาติ
 4 แบบวัดระดับการมีส่วนร่วมในกระบวนการ A-I-C
 5 แบบบันทึกการปฎิบัติซักซ้อมแผนในภาวะอุทกภัย
 6 การสังเกตการณ์
 7 จดบันทึก เวทีประชาพิจารณ์ เวทีประชาคม กระบวนการกลุ่ม เวทีถอดบทเรียน
 8 การสัมภาษณ์เชิงลึก
 9 ถ่ายภาพ และบันทึกวีดีโอ
 10 การสนทนากลุ่ม (Focus Groups)
ผู้เชี่ยวชาญ Delphi Technique
 ผู้อานวยการศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 6 จังหวัดขอนแก่น หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
จานวน 1 ท่าน
 หัวหน้าสานักงานศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย จังหวัดร้อยเอ็ด
กาฬสินธุ์ และมหาสารคาม จานวน 3 ท่าน
 นายอาเภอในฐานะผู้อานวยการศูนย์ระดับอาเภอ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยง
อุทกภัย จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้แก่ อาเภอร่องคา กมลาไสย ฆ้องชัย และสหัสขันธุ์ จานวน 4 ท่าน
 เกษตรจังหวัดกาฬสินธุ์ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย จานวน 1 ท่าน
 เกษตรอาเภอกมลาไสย หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย จานวน 1 ท่าน
 นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย จานวน 1 ท่าน
 ผู้อานวยการโรงพยาบาลชุมชน หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงอุทกภัย จังหวัด
กาฬสินธุ์ ได้แก่ อาเภอร่องคา กมลาไสย ฆ้องชัย และสหัสขันธุ์ จานวน 4 ท่าน
 ผู้อานวยการเขตการศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย 3 เขต จานวน 3 ท่าน
 รวมทั้งสิ้น 18 ท่าน
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามผู้เชี่ยวชาญ
 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์จะเป็ นสถิติเบื้องต้น คือ การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ได้แก่
ฐานนิยม(Mode) มัธยฐาน (Median) ค่าเฉลี่ย (Mean) และการวัดการกระจายของ
ข้อมูล คือ ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ (Interquartile Range)
 การวัดค่าทางสถิติแบบทดสอบ
 ใช้ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation:
SD) และค่าสถิติเชิงอ้างอิง Pair Sample Test
 การวิเคราะห์ข้อมูลแบบประเมิน ความตระหนัก และ ความพึงพอใจ
 ใช้ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation:
SD)
การวิเคราะห์ข้อมูลข้อมูลเชิงคุณภาพ
 การจาแนกชนิดข้อมูล (Typological Analysis)
 การวิเคราะห์เหตุการณ์ ตามเรื่องราว (Event Analysis)
ขอบพระคุณครับ

More Related Content

Featured

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
ThinkNow
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

รูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง จังหวัด

  • 1. A Development Model for the flood risk of community strong in Kalasin Province. เค้าโครงวิทยานิพนธ์ รูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง จังหวัดกาฬสินธุ์
  • 2. • ความเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลก(Climate Change) •Guha-Spir (2012: 14) 10 อันดับแรกของประเทศทั่วโลกที่ประสบภัยพิบัติ เหตุอุทกภัยเกิดขึ้นมากที่สุด ถึง 64 ครั้ง •ประเทศไทย มีรายงานสถิติเหตุสาธารณภัยในช่วง 10 ปี •The Project on Capacity Development in Disaster Management InThailand สภาพปัญหา
  • 3. •Community Based Disaster Risk Management : CBDRM •การกระตุ้นให้เกิดความตั้งใจที่จะเรียนรู้ และทักษะใหม่ๆ มีส่วนร่วมในการจัด การศึกษา และการจัดการภัยพิบัติที่จะเกิดขึ้นในอนาคต สภาพปัญหา (ต่อ)
  • 4.
  • 5. ระดับความรุนแรงสาธารณภัย  Guha-Spir (2012: 7) Centre for Research on the Epidemiology of Disasters (CRED)  1) มีรายงานผู้เสียชีวิตตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป  2) มีผู้ได้รับผลกระทบตั้งแต่ 100 คนขึ้นไป  3) มีการประกาศภาวะฉุกเฉิน  4) มีการร้องของความช่วยเหลือจากต่างชาติ
  • 6. ระดับความรุนแรงสาธารณภัย  แผนปฏิบัติการการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย  1) ระดับขนาดเล็ก เป็นระดับเกิดขึ้นทั่วไปที่ ท้องถิ่น อาเภอ และ/หรือผู้ช่วย ผู้อานวยการกรุงเทพมหานครจัดการเองได้  2) ระดับขนาดกลาง เป็นระดับที่ เกินความสามารถของ ท้องถิ่น อาเภอ และ/ หรือผู้ช่วยผู้อานวยการกรุงเทพมหานคร ต้องให้ระดับจังหวัด และ/หรือ ผู้อานวยการกรุงเทพมหานครเข้าควบคุมสถานการณ์  3) ระดับขนาดใหญ่ที่มีผลกระทบรุนแรงกว้างขวาง หรือต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญ หรืออุปกรณ์พิเศษ ส่วนกลาง และ/หรือผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณ ภัยแห่งชาติเข้าควบคุมสถานการณ์  4) ระดับขนาดใหญ่ที่มีผลกระทบร้ายแรงอย่างยิ่งนายกรัฐมนตรีหรือรอง นายกรัฐมนตรี ที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย ควบคุมสถานการณ์
  • 14. ข้อมูลสนับสนุนการศึกษาวิจัย  เมตตา ผิวขา (2549 ) ระบบการประสานงานในชุมชนกับหน่วยงานในท้องถิ่น อาเภอ ขาดความเป็นระบบ การวางแผนเตรียมความพร้อมยังขาดความชัดเจน ชุมชนเองก็ขาดการกระตุ้นจากหน่วยงาน ความลาบากการเดินทาง การเล่าเรียน  วิริยะ ลิมปินันทน์ และคณะ (2553) การศึกษาเชิงลึกในชุมชน และส่งเสริมให้ ชุมชน การส่งเสริมอาชีพทั้งในภาวะน้าท่วม ภัยแล้ง ก็ขึ้นอยู่กับสภาพพื้นที่ ความ เหมาะสมและกาลังทรัพยากรของแต่ละครัวเรือน  ศูนย์เครือข่ายงานวิเคราะห์ วิจัยและฝึกอบรมการเปลี่ยนแปลงของโลกแห่งภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้เสนอแนะ แนวทางการสร้างขีดความสามารถชุมชน เพื่อให้สามารถรับมือกับความเสี่ยงที่อาจเปลี่ยนแปลงไปจากผลกระทบของการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ควรพิจารณาถึงกระบวนการที่เป็นการดาเนินการอย่าง ต่อเนื่องในการส่งเสริมให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็งต่อผลกระทบจากสภาพอากาศ และการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ
  • 15. ข้อมูลสนับสนุนการศึกษาวิจัย (ต่อ)  อาทิตย์ เลิศล้า (2546) ได้ให้ข้อเสนอแนะ ในการจัดทามาตรการควรมีการศึกษา 2 ส่วนคือส่วนที่เป็นความต้องการของชุมชน และ มาตรการรองรับของหน่วยงาน ภาครัฐที่เกี่ยวข้อง  จากการลงพื้นที่สอบถามผู้นาชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ความ ต้องการช่วยเหลือหรือสภาพปัญหาที่แท้จริงในชุมชนยังไม่มีการสารวจ ขาดข้อมูลที่ ชัดเจน การป้องกันปัญหาที่มากับน้า, ปัญหาของความต้องการของประชาชนแต่ละ กลุ่ม, กลุ่มบุคคลที่ต้องดูแลต่อเนื่อง ผู้ป่วยที่ติดอุปกรณ์ทางการแพทย์  วินัย วีระวัฒนานนท์ (2555) “ความรอบรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม เป็นการแสวงหา กรรมวิธีทางสังคม วัฒนธรรม ที่จะเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมศึกษาและการปฏิบัติ นโยบายที่จะนาเสนอวิถีชีวิตที่อยู่ร่วมกับระบบนิเวศน์ได้อย่างยั่งยืน ทั้งในระดับ ชุมชนและระดับโลก”
  • 17. สรุป  แนวคิดในการบูรณาการด้านสิ่งแวดล้อมศึกษาเข้าในช่วงการจัดกระบวนการในการ จัดทาแผนแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้างองค์ความรู้และความตระหนักให้กับกลุ่ม ตัวอย่าง  รูปแบบการพัฒนาชุมชนเสี่ยงอุกทกภัยเข้มแข็ง  เป็นพื้นที่ต้นแบบให้กับชุมชนที่มีบริบทคล้ายคลึงกัน และสามารถเชื่อมโยงเป็น เครือข่าย
  • 18. วัตถุประสงค์  1 เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการย้อนหลังของหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัย จังหวัดกาฬสินธุ์  2 เพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง จังหวัดกาฬสินธุ์  3 เพื่อศึกษาผลของรูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง จังหวัด กาฬสินธุ์  4 เพื่อประเมินผลความพึงพอใจในรูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง จังหวัดกาฬสินธุ์  5 เพื่อจัดทาแผนแม่บทหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง จังหวัดกาฬสินธุ์
  • 19. Delphi Technique ขั้นการวางแผน -ศึกษาบริบทชุมชน สภาพ ปัญหา -กระบวนการวางแผน A-I-C -สังเคราะห์รูปแบบ ขั้นปฏิบัติและการสังเกต - นารูปแบบสู่เวทีประชา พิจารณ์ - ซ้อมแผนรับมืออุทกภัย ขั้นสะท้อนกลับ - จัดเวทีถอดบทเรียน - Focus Groups - ประชาคม สรุปสภาพปัญหาที่พบ และสิ่งที่ต้องพัฒนา แผนแม่บทหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง Delphi Technique
  • 20. Independent Variables คุณลักษณะส่วนบุคคลของกลุ่ม ตัวอย่างที่เข้าร่วมกระบวนการ - เพศ - อายุ - การศึกษา - ตาแหน่งทางสังคม รูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง 1. ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการ 1.1 สารวจสภาพปัญหา บริบทหมู่บ้าน (Trianguiation) 1.2 กระบวนการกลุ่ม(Focus Groups) ค้นหาปัญหาและความ ต้องการ 1.3 ประสานงานเครือข่าย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. กาหนดบทบาท/แนวทางแบบมีส่วนร่วม (A-I-C,DBRDM,สิ่งแวดล้อมศึกษา) 3. จัดทาแผนรับมืออุทกภัย Delphi Technique 4. กาหนดแผนแม่บทชุมชนในการรับมืออุทกภัย 5. เทียบเคียง จังหวัดอื่น (Benchmark) 6. ซ้อมแผนในภาวะอุทกภัย (แบบนั่งโต๊ะ,ภาคสนาม) 7. สรุปผลจากการสังเกต ร่วมกับหมู่บ้าน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 8. ประชาพิจารณ์(ภาคประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง) 9. กาหนดแผนแม่บทหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง(Delphi Technique) Dependent Variables - ความรู้ - ความตระหนัก - ระดับการมีส่วนร่วม - การปฎิบัติซ้อมแผน ความพึงพอใจ
  • 21. สมมุติฐาน  1.4.1 ความรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ก่อนและหลัง การจัดทาแผน แบบมีส่วนร่วมอยู่ในระดับมาก  1.4.2 ความตระหนักด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ก่อนและหลัง การ จัดทาแผนแบบมีส่วนร่วมอยู่ในระดับมาก  1.4.3 ระดับการมีส่วนร่วม ในการจัดทาแผน ซักซ้อมแผนรับมืออุทกภัย อยู่ใน ระดับมาก  1.4.4 ความถูกต้องในการปฏิบัติของการซ้อมแผนรับมืออุทกภัยอยู่ในระดับมาก  1.4.5 ระดับความพึงพอใจของประชาชนในหมู่บ้านอยู่ในระดับมาก
  • 23. วิธีการดาเนินการวิจัย การวิจัยเชิงปฎิบัติการ (Action Research การวิเคราะห์ข้อมูล แบบผสมผสาน (Mix Method) เทคนิคเดลฟาย (DelphiTechnique) สถิติอ้างอิง Pair SampleTest
  • 24. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง  ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คัดเลือกแบบเจาะจง ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่ ประสบอุทกภัย ทั้งไร่นา และบ้านเรือน และสูญเสียมากที่สุด  กลุ่มตัวอย่าง การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยความสมัครใจ  1) ผู้ใหญ่บ้าน และกรรมการหมู่บ้าน (หรือผู้นากลุ่ม) รวม 7 คน  2) หัวหน้าคุ้ม จานวน 7 คน  3) ตัวแทนครัวเรือนที่สมัครใจอย่างน้อย จานวน 30 คน รวม 44 คน
  • 25. ตัวแปรต้น คุณลักษณะส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตาแหน่งทางสังคม รูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง
  • 26. ตัวแปรตาม  1) ความรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศและ สิ่งแวดล้อม  2) ความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมและภัยธรรมชาติ  3) ระดับการมีส่วนร่วมในกระบวนการ A-I-C  4) ความถูกต้องการปฎิบัติซ้อมแผนในภาวะอุทกภัย  5) ระดับความพึงพอใจของกลุ่มผู้เข้าร่วมวิจัย
  • 27. ขั้นตอนดาเนินการวิจัย  ขั้นตอนการวิจัยระยะที่ 1  การศึกษาบริบทของชุมชน  คัดเลือกกลุ่มแกนนาในชุมชน  จัดกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม โดยใช้เทคนิคกระบวนการ A-I-C (Appreciation-Influence-Control) ในช่วงจัด กระบวนการจะเก็บข้อมูล ผู้เข้าร่วมกระบวนการ เพื่อวัดความรู้ ความตระหนัก ระดับการมีส่วนร่วม  ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความเป็นไปได้
  • 28. ขั้นตอนดาเนินการวิจัย (ต่อ)  ขั้นตอนการวิจัยระยะที่ 2  ปรับปรุงแนวทาง และแผนของชุมชน  เวทีประชาพิจารณ์ของชุมชน  ซ้อมแผนรับมืออุทกภัย
  • 29.  ขั้นตอนการวิจัยระยะที่ 3  เวทีถอดบทเรียน  จัดกระบวนการกลุ่ม (Focus Groups)  เวทีประชาคม  จัดทาแนวทาง แบบสอบถาม DelphiTechnique ครั้งที่ 2 ขั้นตอนดาเนินการวิจัย (ต่อ)
  • 30.  ขั้นตอนการวิจัยระยะที่ 4  สรุปประมวลผลเพื่อเป็นแผนแม่บทของชุมชน  เก็บข้อมูลเพื่อวัดความพึงพอใจ  สะท้อนข้อมูลกลับสู่ชุมชน ขั้นตอนดาเนินการวิจัย (ต่อ)
  • 31. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย  1 เทคนิควิจัยอนาคต (DelphiTechnique)เป็นการประยุกต์ใช้เพื่อหาความเป็นไป ได้ของแนวทางที่ได้จากการจัดกระบวนการ A-I-C จัดทาแบบสอบถาม  2 แบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม  3 แบบประเมินความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมและภัยธรรมชาติ  4 แบบวัดระดับการมีส่วนร่วมในกระบวนการ A-I-C  5 แบบบันทึกการปฎิบัติซักซ้อมแผนในภาวะอุทกภัย  6 การสังเกตการณ์  7 จดบันทึก เวทีประชาพิจารณ์ เวทีประชาคม กระบวนการกลุ่ม เวทีถอดบทเรียน  8 การสัมภาษณ์เชิงลึก  9 ถ่ายภาพ และบันทึกวีดีโอ  10 การสนทนากลุ่ม (Focus Groups)
  • 32. ผู้เชี่ยวชาญ Delphi Technique  ผู้อานวยการศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 6 จังหวัดขอนแก่น หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย จานวน 1 ท่าน  หัวหน้าสานักงานศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย จังหวัดร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ และมหาสารคาม จานวน 3 ท่าน  นายอาเภอในฐานะผู้อานวยการศูนย์ระดับอาเภอ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยง อุทกภัย จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้แก่ อาเภอร่องคา กมลาไสย ฆ้องชัย และสหัสขันธุ์ จานวน 4 ท่าน  เกษตรจังหวัดกาฬสินธุ์ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย จานวน 1 ท่าน  เกษตรอาเภอกมลาไสย หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย จานวน 1 ท่าน  นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย จานวน 1 ท่าน  ผู้อานวยการโรงพยาบาลชุมชน หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงอุทกภัย จังหวัด กาฬสินธุ์ ได้แก่ อาเภอร่องคา กมลาไสย ฆ้องชัย และสหัสขันธุ์ จานวน 4 ท่าน  ผู้อานวยการเขตการศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย 3 เขต จานวน 3 ท่าน  รวมทั้งสิ้น 18 ท่าน
  • 33. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ  การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามผู้เชี่ยวชาญ  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์จะเป็ นสถิติเบื้องต้น คือ การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ได้แก่ ฐานนิยม(Mode) มัธยฐาน (Median) ค่าเฉลี่ย (Mean) และการวัดการกระจายของ ข้อมูล คือ ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ (Interquartile Range)  การวัดค่าทางสถิติแบบทดสอบ  ใช้ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: SD) และค่าสถิติเชิงอ้างอิง Pair Sample Test  การวิเคราะห์ข้อมูลแบบประเมิน ความตระหนัก และ ความพึงพอใจ  ใช้ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: SD)
  • 34. การวิเคราะห์ข้อมูลข้อมูลเชิงคุณภาพ  การจาแนกชนิดข้อมูล (Typological Analysis)  การวิเคราะห์เหตุการณ์ ตามเรื่องราว (Event Analysis)