SlideShare a Scribd company logo
1 of 99
Download to read offline
แผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2560 – พ.ศ. 2563)
วิทยาลัยการอาชีพรอยเอ็ด
งานวางแผนและงบประมาณ ฝายแผนงานและความรวมมือ
วิทยาลัยการอาชีพรอยเอ็ด
สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
คํานํา
การพัฒนาประเทศใหเจริญกาวหนาประชาชนกินดีอยูดีมีสุขยอมเปนที่ปรารถนาของทุกคนในชาติ
ฉะนั้นความเจริญกาวหนาจึงเปนเปาหมายที่สําคัญที่ทุกคนพึงอยากได อยากมี อยากเปน แตจะทําอยางไร
มีวิธีการใดที่จะทําใหสิ่งตางๆ ที่มนุษยตองการเกิดขึ้นไดสมหวังกันทุกๆ คน แตมั่นคงเปนเรื่องยาก ไดมีผูรู
และผูที่ประสบความสําเร็จในหนาที่การงานไดแนะนําไววา ปจจัยที่สงเสริมใหการพัฒนาหรือการปฏิบัติงาน
ไดบังเกิดผลสําเร็จนั้น บุคคลพึงไดมีการคิดวิเคราะหวางแผนกําหนดแผนการทํางาน และเปาหมายใหชัดเจน
พรอมทั้งดําเนินงานตามแผนที่วางไวอยางรอบคอบและมุงมั่นจากแนวคิดหลักการดังกลาว ทําใหภาครัฐนํามา
เปนแนวทางในการบริหารงานหรือปฏิบัติงาน มุงสูความสําเร็จจึงไดออกกฎหมายใหหนวยงานภาครัฐไดจัดทํา
แผนพัฒนาและแผนการปฏิบัติงานขึ้นถือใชในการปฏิบัติงานอยางตอเนื่องรวมทั้งกฎกระทรวงศึกษาธิการ วา
ดวยหลักเกณฑและวิธีการปรับปรุงคุณภาพการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 กําหนดใหสถานศึกษา
อาชีวศึกษา จัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษาขึ้นใชเปนเครื่องมือในการปฏิบัติงานใหเกิดผลสําเร็จตาม
เปาหมายที่วางไวทุกประการ
ฝายแผนงานและความรวมมือ
วิทยาลัยการอาชีพรอยเอ็ด
สิงหาคม 2559
“ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ”
สวนที่ 1 บทนํา
- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (ดานการศึกษา)
- นโยบายดานการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
- ทิศทางและนโยบายดานอาชีวศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
- ทักษะของเด็กในศตวรรษที่ 21 (3R + 8C)
- ขอมูลวิทยาลัยการอาชีพรอยเอ็ด
- ปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค คานิยม อัตลักษณและเอกลักษณ
- จุดเนนในการพัฒนาสถานศึกษาและความโดนเดนของสถานศึกษา
- ผลการประเมินภายในสถานศึกษา โดยตนสังกัด
- ผลการประเมินภายนอก
- ผลงานดีเดนและรางวัลที่ไดรับ
- หลักสูตรการจัดการเรียนการสอน
- ขอมูลดานอาคารสถานที่
- แผนภูมิโครงสรางการบริหารวิทยาลัยการอาชีพรอยเอ็ด
- ขอมูลบุคลากรในสถานศึกษา
- ขอมูลนักเรียนนักศึกษา
“ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 2
1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (ดานการศึกษา)
สรุปสาระสําคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (2555-2559)
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) ก็ยังคงไวซึ่งหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนเดิม
ภายใตหลัก “คนคือศูนยกลางการพัฒนา” โดยใชหลักเศรษฐกิจเปนเครื่องมือในการพัฒนาคน(มนุษย) ใหมี
คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นนั่นเอง ซึ่งกระบวนการเรียนการสอนวิชา ทฤษฎีการพัฒนาประเทศอันเนื่องมาจาก
พระราชดําริ ที่บรรยายโดย อ.ดร.วิเศษ ชินวงศ ไดฝกใหนักศึกษามีทักษะดานการคิดวิเคราะห และสังเคราะห
จากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 วามีสาระสําคัญอยางไรตามประเด็นที่ไดกําหนดไวให ซึ่งสามารถนําเสนอตาม
ประเด็นตางๆ ได ดังนี้
1.1 การเปลี่ยนแปลงระดับโลกและภายในประเทศไทย
การประเมินสถานการณดานตางๆ ที่ประเทศกําลังเผชิญอยูในขณะนี้ ซึ่งอาจจะเรียกวาเปนวิธีการหา
SWOT Analysis ก็ไมผิด เพื่อหาแนวทางวาประเทศไทยมีจุดแข็ง-ออนอยางไรบาง จากการประเมิน
สถานการณพบวา
1.1.1 การเปลี่ยนแปลงในระดับโลกพบวา
จากปญหาวิกฤตดานเศรษฐกิจและการเงินสงผลใหหลายประเทศ หรือกลุมประเทศตางๆ
มีการปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการดานการคา การลงทุน การเงิน สิ่งแวดลอม และดานสังคม ทั้งนี้
เพราะวาปจจัยเหลานี้มีผลสืบเนื่องถึงกันอยางเห็นไดชัด ทุกฝายจึงใหความสําคัญดานหลักธรรมาภิบาล คือ
ความโปรงใส การแกปญหาโลกรอน ใหการคุมครองทรัพยสินทางปญญา และสรางความรวมมือระหวาง
ประเทศ กลุมประเทศอุตสาหกรรมมีการปรับตัวเขาสูระบบเศรษฐกิจโลกแบบศูนยกลางการผลิตที่ ใหญเพื่อ
สรางความเขมแข็งใหกลุมประเทศของตน และจากการคาดการณมีการมองวาในอนาคตกลุมชนชั้นกลางของ
แตละประเทศจะเพิ่ม จํานวนปริมาณมากขึ้น ก็เมื่อเปนเชนนี้ก็จะมีกําลังในการซื้อขายมากขึ้น เห็น ไดจากใน
ปจจุบันมีการรวมกลุมทําสัญญาเสรีการคาในหลายประเทศ ซึ่งสถานการณเชนนี้นับวาเปนผลกระทบอยางมาก
สําหรับประเทศที่กําลังพัฒนา เพราะจําเปนตองมีการเรงพัฒนาทรัพยากรมนุษยและระบบการพัฒนาตางๆ
ภายในประเทศอยางเรงดวน
ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 นี้ ประชากรผูสูงอายุในโลกจะเพิ่มปริมาณขึ้นอีก 81.9 ลานคน สงผล
ตอภาคธุรกิจคือการสรางงานตองใชทักษะ ความชํานาญ ควบคูกับเทคโนโลยี ขณะเดียวกันประเทศที่มี
ผูสูงอายุมากก็จะเพิ่มรายจายเปนจํานวนมาก และที่สําคัญในสังคมจะมีความหลายหลายทาง
วัฒนธรรม สภาพภูมิอากาศโลกมีความแปรปรวน ในชวง 30 ปที่ผานมา อุณหภูมิโลกเฉลี่ยสูงขึ้น 0.2 องศา
เซลเซียสตอศตวรรษ จากสภาพอากาศที่มีความแปรปรวนไดกอใหเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติบอยครั้งและทวี
ความรุนแรง อาทิ แผนดินไหว ดินถลม ภูเขาไฟระเบิด อุทกภัย วาตภัย ภัยแลง ไฟปา ระบบนิเวศใน
หลายพื้นที่ของโลกออนแอ บางพื้นที่มีโรคระบาดมีแมลงศัตรูพืชสรางความเสียหายแกผลผลิตทางการเกษตร
และธัญญาหารของโลกรวมทั้งกระทบตอภาคสังคม คือปญหาความยากจนการอพยพยายถิ่นและการแยงชิง
ทรัพยากร
“ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 3
ปจจุบันกําลังการผลิตทางการเกษตรลดลงไมเพียงพอตอความตองการ หรือไมก็มีราคาที่สูงเกินไปซึ่งสืบ
เนื่องมาจากปญหาการเปลี่ยนแปลงทางภูมิ อากาศโลก เมื่อปญหาทั้งหมดทั้งมวลที่กลาวมาทวีความรุนแรง
ขึ้น มนุษยก็เริ่มมองหาวิธีการที่จะมาแกไข สิ่งที่ชวยไดมากที่สุดในขณะนี้คือการพัฒนาเทคโนโลยี
ในปจจุบันมีการนําเอาเทคโนโลยีเขามาใชในชีวิตประจําวันมาก ซึ่งทั้งหมดนี้ก็ยังไมสามารถตอบโจทย
หรือสนองความตองการไดทั้งหมด เพราะมันยังมีทั้งคุณและโทษที่สําคัญยิ่งมีการพัฒนาระบบสารสนเทศได
มากแคไหน ปญหาการจารกรรมขอมูลขาวสารก็ยอมมีมากขึ้นตามไปดวย ในหลายประเทศมีปญหาการกอ
การรายในรูปแบบตางๆ และมีความสลับซับซอนเพิ่มขีดความสามารถในระดับชาติ มีการชวยเหลือจาก
ประเทศตางๆ ซึ่งสงผลกระทบตอความมั่งคงของประเทศ ประเทศตางๆ ตองเรงควบคุมปจจัยที่หนุนการกอ
การรายตองทั้งตองมีการสรางความรวมมือในเวทีระหวางประเทศเพื่อปกปองผล ประโยชนของชาติจากภัย
เหลานี้
1.1.2 ความเปลี่ยนแปลงภายในประเทศ
การเปลี่ยนแปลงภายในประเทศมีอยู 4 หลักใหญๆ คือ การเปลี่ยนแปลงสภาวะดานเศรษฐกิจ
ประเทศไทยมีอัตราการขยายตัวและเสถียรภาพทางเศรษฐกิจอยูในเกณฑดี ภาคอุตสาหกรรมมีบทบาทใน
การผลิตสูง ภาคการเกษตรเปนแหลงสรางรายไดหลักของประชาชนและเปนฐานการสรางมูลคาเพิ่ม ดาน
สังคมนั้น ประเทศไทยมีกาวสูสังคมผูสูงอายุเพิ่มขึ้น วัยเด็กและวัยแรงงานลดลง ดานทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม ทรัพยากรเสื่อมโทรมสงผลซ้ําเติมใหปญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รุนแรง ดานการ
บริหารจัดการพัฒนาประเทศ ปจจุบันประชาชนมีความตื่นตัวทางการเมืองสูงขึ้น (อาจมาจากการสาระแส)
แตปญหาความขัดแยงยังคงอยู สงผลตอระบบเศรษฐกิจและการดํารงชีพของประชาชน ภาครัฐมีประสิทธิภาพ
แตก็ยังไมสามารถปองกันการทุจริตคอรรัปชั่น ซึ่งเปนปญหาสําคัญของไทยและการพัฒนาประเทศ
ความเสี่ยงของสังคมไทย
ดังที่ไดกลาวมาแลววา ประเทศไทยถาจะพัฒนาประเทศกาวเขาสูเวทีโลก หรือแมที่กําลังเปนกระแส
อยูในขณะนี้คือประชาคมอาเซียน ซึ่งมีประเทศสมาชิกในกลุมอุษาคเณยเขารวม จําเปนอยางยิ่งที่ประเทศไทย
ตองมีการประเมินสถานการณของตนเอง ซึ่งจากประเด็นดังกลาวนี้ประเทศไทยตองเผชิญ คือพรอมที่เผชิญกับ
การเปลี่ยนแปลงอยางมีประสิทธิภาพ คือ
1) การบริหารภาครัฐที่ออนแอไมสามารถขับเคลื่อนการบริหารไดอยางเต็มขีดความสามารถและ
อํานาจรัฐถูกใชเพื่อผลประโยชนของคนบางกลุม ประชาชนมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายสาธารณะนอย
2) โครงสรางทางเศรษฐกิจไมสามารถรองรับการเจริญเติบโตอยางยั่งยืน ตราบใดที่ระบบเศรษฐกิจ
ของไทยยังคงพึ่งพากลไกเศรษฐกิจโลก หรือการนําเขาจากตางประเทศมากเทาไหร ระบบเศรษฐกิจ
ภายในประเทศก็ยิ่งมีความผันผวนอยูเสมอ ประชาชนของประเทศสวนใหญยังคงอยูในระดับฐานราก
3) โครงสรางประชากรที่มีวัยสูงอายุเพิ่มขึ้น ขณะที่ประชากรวัยเด็กและวัยแรงงานลดลง
ป พ.ศ. 2568 คาดการณวาประเทศไทยจะกลายเปนประเทศสังคมผูสูงอายุอยางสมบูรณ การแขงขันเพื่อแยง
ชิงกําลังแรงงานจะเกิดขึ้น ในปจจุบันงานกอสรางตาม 3 จังหวัดชายแดนอีสานตอนลาง เริ่มมีกลุมแรงงานจาก
ประเทศเพื่อนบานเขามาขายแรงงานกันมากขึ้น
“ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 4
4) คานิยมที่ดีงานเสื่อมถอยและประเพณีดั้งเดิมถูกบิดเบือน เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงภายใตกระแส
โลกาภิวัฒน สงผลใหสังคมไทยเปนสังคมวัตถุนิยม (คนที่พูดประเด็นนี้กลับเปนผูนํากระแสโลกาภิวัตนเสียเอง
แตผูที่เขาอยูกับประเพณีนิยม ความเปนทองถิ่น กลับมองวาลาสมัย อนุรักษนิยม หัวโบราณ)
5) ฐานทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดลอมของประเทศมีแนวโนมเสื่อมโทรมรุนแรง เนื่องจาก
ปจจัยความจําเปนพื้นฐานของคนในสังคม ผนวกกับปญหาภัยธรรมชาติ และความแปรปรวนของสภาพ
ภูมิอากาศ แตก็ไมรายแรงเทาการสรางชุมชนในเขตบริเวณที่เปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติ คนรากฐานก็
ตองการที่ทํากิน เพื่อทําการเกษตร สวนคนชั้นกลางขึ้นไปตองการสรางระบบเศรษฐกิจการทองเที่ยว บานเชา
โรงแรม ทําทุกวิถีทางเพื่อใหสามารถเขาถึงพื้นที่ใหได
6) ประเทศไทยยังคงมีความเสี่ยงดานความมั่นคง ความเสี่ยงดานนี้ถือเปนปญหาเชิงโครงสรางที่ยาก
จะแกไข แตก็ไมเกินความสามารถถาทุกฝายชวยกัน เพื่อผลประโยชนของชาติอยางแทจริง
ซึ่งจากปญหาความเสี่ยงที่ประเทศกําลังประสบอยูและจะประสบในอนาคตเมื่อประเทศกาวเขาสูเวที
โลก ดังนั้นประเทศตองสรางภูมิคุมกันใหตนเอง ซึ่งในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 นี้ กําหนดไว 5 ประเด็นดวยกัน
คือ
1) ประเทศไทยจะตองมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุข
ของประเทศชาติเทานั้น ซึ่งสถาบันที่คอยเชื่อมโยงทักทอเสนใยใหคนในชาติมีความกลมเกลียวกัน
2) การพัฒนาประเทศจําเปนตองใหอยูบนฐานความรูและเทคโนโลยีที่ทันสมัย สิ่งเหลานี้จะปฏิเสธเลย
ทีเดียวไมได แตทําอยางไรจึงจะสามารถปรับประสานใหสอดคลองกับวัฒนธรรมในทองถิ่นของตนใหได
3) สังคมไทยมีคานิยมและวัฒนธรรมที่ดีงาม อัตลักษณความเปนไทยดีอยูแลว แตตัวแปรที่สําคัญที่
สามารถสงผลใหคนในสังคมมีการเปลี่ยนแปลงได นั่นคือศาสนา ศาสนาที่คนไทยรูจักและคุนเคยมากที่สุด คือ
พระพุทธศาสนา
4) ภาคการเกษตรเปนฐานรากไดหลักและความมั่นคงดานอาหารของประเทศ แหลงพลังงานที่ใหญ
ที่สุดของประเทศไทยคือ ภาคการเกษตร เปนแหลงสรางรายไดอยางยั่งยืนใหกับคนในสังคมไดเปนอยางดี
5) ชุมชนทองถิ่นเปนกลไกที่มีความสามารถในการบริหารจัดการ มีสวนรวมในการพัฒนาคุณภาพชีวิต
และเชื่อมโยงกันเปนสังคมสวัสดิการ ในทองถิ่นมีทุกอยาง แตแนะนําใหทุกคนรูจักนํามาใช ใหเหมาะสม
ทิศทางการพัฒนาประเทศ
การพัฒนาประเทศไทยระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ตระหนักถึงสถานการณและความเสี่ยงซึ่งเกิดขึ้น
จากการเปลี่ยนแปลงในระดับโลก และภายในประเทศ โดยเฉพาะดานความผันผวนทางเศรษฐกิจพลังงาน และ
ภูมิอากาศภายใตหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยใหความสําคัญดานการพัฒนาระบบเศรษฐกิจภาค
การเกษตร พรอมกาวสูประชาคมอาเซียนในป 2558 ที่มีความพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน
ดังนั้น กลาวไดวาทิศทางการพัฒนาประเทศในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 คือการสรางภูมิคุมกันในมิติ
ตาง ๆ เพื่อใหการพัฒนาประเทศมีความสมดุลและยั่งยืน โดยมีการนําทุนดานตางๆ ที่ประเทศมีอยูมาใช
ประโยชนอยางบูรณาการและเกื้อกูลกัน พรอมทั้งเสริมสรางใหแข็งแกรงเพื่อเปนรากฐานการพัฒนาประเทศ
คือพัฒนาคนและสังคมไทยสูสังคมคุณภาพ
“ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 5
1.2 วิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงคและเปาหมายการพัฒนาประเทศ
“ คน ไทยภาคภูมิใจในความเปนไทย มีมิตรไมตรีบนวิถีชีวิตแหงความพอเพียง ยึดมั่นในวัฒนธรรม
ประชาธิปไตย และหลักธรรมาภิบาล การบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานที่ทั่วถึง มีคุณภาพ สังคมมีความปลอดภัย
และมั่นคง อยูในสภาวะแวดลอมที่ดี เกื้อกูลและเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน ระบบการผลิตเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
มีความมั่นคงดานอาหารและพลังงาน อยูบนฐานทางเศรษฐกิจที่พึ่งตนเองและแขงขันไดในเวทีโลก สามารถอยู
ในประชาคมภูมิภาคและโลกไดอยางมีศักดิ์ศรี ” นี่คือกรอบทิศทางการพัฒนาประเทศระยะกลางที่มุงสู
วิสัยทัศนระยะยาวของแผน พัฒนาฯ ฉบับที่ 11
วิสัยทัศน
“สังคมอยูรวมกันอยางมีความสุข ดวยความเสมอภาคเปนธรรมและมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง”
พันธกิจ
1) สรางสังคมเปนธรรมและเปนสังคมที่มีคุณภาพ ทุกคนมีความมั่งคงในชีวิต ไดรับการคุมครองทาง
สังคมที่มีคุณภาพอยางทั่วถึงและเทาเทียม มีโอกาสเขาถึงทรัพยากรและกระบวนการยุติธรรมอยางเสมอภาค
ทุกภาคสวนไดรับการเสริมพลังใหสามารถมีสวนรวมในกระบวนการพัฒนา ภายใตระบบบริหารจัดการภาครัฐ
ที่โปรงใสเปนธรรม
2) พัฒนาคุณภาพคนไทยใหมีคุณธรรม เรียนรูตลอดชีวิต มีทักษะและการดํารงชีวิตอยางเหมาะสมใน
แตละชวงวัย สถาบันทางสังคมและชุมชนทองถิ่นมีความเขมแข็ง สามารถปรับตัวรูเทาทันกับกาดร
เปลี่ยนแปลง
3) พัฒนาฐานการผลิตและบริการใหเขมแข็งและมีคุณภาพบนฐานความรู ความคิดสรางสรรค และ
ภูมิปญญา สรางความมั่นคงดานอาหารและพลังงาน ปรับโครงสรางการผลิตและการบริโภคใหเปนมิตรกับ
สิ่งแวดลอม พรอมสรางความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่งคงทางเศรษฐกิจและสังคม
4) สรางความมั่งคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชน
รวมทั้งสรางภูมิคุมกันเพื่อรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติทางธรรมชาติ
วัตถุประสงค
1) เพื่อเสริมสรางสังคมที่เปนธรรมและเปนสังคมสันติสุข
2) เพื่อพัฒนาคนไทยทุกกลุมวัยอยางเปนองครวมทั้งทางกาย ใจ สิตปญญา อารมณ คุณธรรม
จริยธรรม และสถาบันทางสังคมมีบทบาทหลักในการพัฒนาคนใหมีคุณภาพ
3) เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจใหเติบโตอยางมีเสถียรภาพคุณภาพ และยั่งยืนมีความเชื่อมโยงเครือขาย
การผลิตสินคาและบริการบนฐานปญญา นวัตกรรม และความคิดสรางสรรคในภูมิภาคอาเซียน มีความมั่นคง
ทางอาหารและพลังงาน การผลิตและการบริโภคเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม นําไปสูการเปนสังคมคารบอนต่ํา
4) เพื่ออบริหารจัดการทรัพยากรธรรมและสิ่งแวดลอมใหเพียงพอตอการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ
และเปนฐานที่มั่นคงของการพัฒนาประเทศ
“ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 6
เปาหมาย
1) ความอยูเย็นเปนสุขและความสงบสุขของสังคมไทยเพิ่มขึ้น ความเหลื่อมล้ําในสังคมลดลงสัดสวน
ผูอยูใตเสนความยากจนลดลง และดัชนีภาพลักษณการคอรรัปชั่นไมต่ํากวา 5.0 คะแนน
2) คนไทยมีการเรียนรูอยางตอเนื่อง มีสุขภาวะดีขึ้น มีคุณธรรม จริยธรรม และสถาบันทางสังคมมี
ความเขมแข็งมากขึ้น
3) เศรษฐกิจเติบโตในอัตราที่เหมาะสมตามศักยภาพของประเทศ ใหความสําคัญกับการเพิ่มผลิต
ภาพรวมไมต่ํากวารอยละ 3.0 ตอป เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันทางเศรษฐกิจของประเทศเพิ่มมูลคา
ผลิตภัณฑ ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมตอผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ ใหมีไมต่ํากวารอยละ 40.0
4) คุณภาพสิ่งแวดลอมอยูในเกณฑมาตรฐาน เพิ่มประสิทธิภาพการลดการปลอยกาซเรือนกระจก
รวมทั้งเพิ่มพื้นที่ปาไมเพื่อรักษาสมดุลของระบบนิเวศ
1.3 ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ
ยุทธศาสตร การพัฒนาประเทศในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 นี้มุงสรางภูมิคุมกันเพื่อปองกันปจจัยเสี่ยง
และเสริมรากฐานของประเทศดานตางๆ ใหเขมแข็งควบคูกับการพัฒนาคนและสังคมใหมีคุณภาพเขาถึง
ทรัพยากรและได รับประโยชนจากแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้อยางเปนธรรม อันจะนําไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืนตอไป
ซึ่งมียุทธศาสตรการพัฒนาทั้งหมด 6 ยุทธศาสตร และมีกลยุทธยอยไปอีก ดังนี้
ก. ยุทธศาสตรสรางความเปนธรรมในสังคม ซึ่งใหความสําคัญกับประเด็นเหลานี้ คือ
1) การสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมใหทุกคนในสังคมไทยควบคูกับการเสริม สรางขีด
ความสามารถในการจัดการความเสี่ยงและสรางโอกาสในชีวิตใหแกตนเอง
2) การจัดบริการทางสังคมใหทุกคนตามสิทธิขั้นพื้นฐาน เนนการสรางภูมิคุมกันระดับ
ปจเจก และสรางการมีสวนรวมในกระบวนการตัดสินใจในการพัฒนาประเทศ
3) การเสริมสรางพลังใหทุกภาคสวนสามารถเพิ่มทางเลือกการใชชีวิตในสังคมและมี สวนรวมใน
เชิงเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองไดอยางมีคุณคาและศักดิ์ศรี
4) การสานสรางความสัมพันธของคนในสังคมใหมีคุณคารวมและตระหนักถึงผลประโยชนของ
สังคม และเสริมสรางการบริหารราชการแผนดินที่มีประสิทธิภาพ
ข. ยุทธศาสตรการพัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิตอยางยั่งยืน โดยใหความสําคัญกับ
ประเด็นเหลานี้ คือ
1) การปรับโครงสรางและการกระจายตัวประชากรใหเหมาะสม
2) การพัฒนาคุณภาพคนไทยใหมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง
3) การสงเสริมการลดปจจัยเสี่ยงดานสุขภาพอยางเปนองครวม
4) การสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต
5) การเสริมสรางความเขมแข็งของสถาบันทางสังคม
“ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 7
ค. ยุทธศาสตรความเขมแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของอาหารและพลังงาน โดยใหความสําคัญ
กับประเด็นเหลานี้ คือ
1) การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติที่เปนฐานการผลิตภาคเกษตรใหเขมแข็งและยั่งยืน
2) การเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพการผลิตภาคเกษตร
3) การสรางมูลคาเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรตลอดหวงโซการผลิต
4) การสรางความมั่นคงในอาชีพและรายไดใหแกเกษตรกร
5) การสรางความมั่นคงดานอาหารและพัฒนาพลังงานชีวภาพในระดับครัวเรือนและชุมชน
6) การสรางความมันคงดานพลังงานชีวภาพเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศและความเขมแข็ง
ภาคเกษตร
7) การปรับระบบบริหารจัดการภาครัฐเพื่อเสริมสรางความมั่นคงดานอาหารและพลังงาน
ง. ยุทธศาสตรการปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูการเติบโตอยางมีคุณภาพและยั่งยืน โดยใหความสําคัญ
กับประเด็นเหลานี้ คือ
1) การปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูการพัฒนาที่มีคุณภาพและยั่งยืน
2) การพัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม
3) การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันที่มีประสิทธิภาพ เทาเทียม และเปนธรรม
4) การบริหารจัดการเศรษฐกิจสวนรวมอยางมีเสถียรภาพ
จ. ยุทธศาสตรการสรางความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม
โดยใหความสําคัญกับประเด็นเหลานี้ คือ
1) การพัฒนาความเชื่อมโยงดานการขนสงและระบบโลจิสติกสภายใตกรอบความรวมมือใน
อนุภูมิภาคตางๆ
2) การพัฒนาฐานลงทุนโดยเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันระดับอนุภูมิภาค
3) การสรางความพรอมในการเขาสูประชาคมอาเซียน
4) การเขารวมเปนภาคีความรวมมือระหวางประเทศและภูมิภาคภายใตบทบาทที่สรางสรรคเปน
ทางเลือกในการดําเนินนโยบายระหวางประเทศในเวทีโลก
5) การสรางความเปนหุนสวนทางเศรษฐกิจในภูมิภาคดานการพัฒนาทรัพยากรมนุษยการ
เคลื่อนยายแรงงาน และการสงเสริมแรงงานไทยในตางประเทศ
6) การมีสวนรวมอยางสําคัญในการสรางสังคมนานาชาติที่มีคุณภาพชีวิต ปองกันภัยจากการกอ
การรายและอาชญากรรม ยาเสพติด ภัยพิบัติ และการแพรระบาดของโรคภัย
7) การเสริมสรางความรวมมือที่ดีระหวางประเทศในการสนับสนุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
อยางมีจริยธรรมและไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม พรอมทั้งเปดรับความรวมมือกับองคกรระหวางประเทศที่
ไมแสวงหากําไร
8) การเรงรัดการใชประโยชนจากขอตกลงการคาเสรีที่มีผลบังคับใชแลว
“ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 8
9) การสงเสริมใหประเทศไทยเปนฐานการลงทุน และการประกอบธุรกิจในเอเชีย รวมทั้งเปนฐาน
ความรวมมือในการพัฒนาภูมิภาค
10) การปรับปรุงและเสริมสรางความเขมแข็งของภาคีการพัฒนาภายในประเทศตั้งแตระดับชุมชน
ทองถิ่น
ฉ. ยุทธศาสตรการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน โดยใหความสําคัญ
กับประเด็นเหลานี้ คือโดยใหความสําคัญกับประเด็นเหลานี้ คือ
1) การอนุรักษ ฟนฟู และสรางความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
2) การปรับกระบวนทัศนการพัฒนาและขับเคลื่อนประเทศเพื่อเตรียมพรอมไปสูการเปนเศรษฐกิจ
และสังคมคารบอนต่ําและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
3) การยกระดับขีดความสามารถในการรองรับและปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
เพื่อใหสังคมมีภูมิคุมกัน
4) การเตรียมความพรอมรองรับการภัยพิบัติทางธรรมชาติ
5) การสรางภูมิคุมกันดานการคาจากเงื่อนไขดานสิ่งแวดลอมและวิกฤตจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ
6) การเพิ่มบทบาทประเทศไทยในเวทีประชาคมโลกที่เกี่ยวของกับกรอบความตกลงและพันธกรณี
ดานสิ่งแวดลอมระหวางประเทศ
7) การควบคุมและลดมลพิษ
8) การพัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหมีประสิทธิภาพ
โปรงใสและเปนธรรมอยางบูรณาการ
2. นโยบายดานการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ
2.1 แนวนโยบายดานการศึกษาของรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ (นโยบายทั่วไป)
2.1.1. การจัดทําแผนงาน /โครงการริเริ่มใหม
1) ตองเขาใจจุดมุงหมายและวัตถุประสงค ของงานที่ปฏิบัติใหชัดเจน
2) ตองมองภาพงานในอนาคตไดอยางชัดเจนสามารถ กําหนดรายละเอียดของงานหลักงานรอง
และงานที่ตองดําเนินการกอน /หลัง เพื่อใหบรรลุผลสําเร็จ
3) ตองมีฐานขอมูลที่ดีถูกตอง ครบถวน ชัดเจนตั้งแตหนวยงานยอยขึ้นมาจนถึงหนวยงานหลัก
และทันตอสถานการณ เชน จะผลิตนักศึกษาอาชีวศึกษาตองรูความตองการจางงานของตลาดแรงงานในแตละ
สาขาวิชา
4) มีการวิเคราะหปญหาและทบทวนการดําเนินงานที่ผานมาใหชัดเจน ซึ่งผลการวิเคราะห จะ
ชวยใหการแกไขปญหามีความแมนย้ํามากขึ้น
“ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 9
2.1.2. การปรับปรุงแผนงาน /โครงการเดิมที่ไมสัมฤทธิ์ผล
ใหคนหาสาเหตุปญหาการดําเนินงานที่ผานมาแลววิเคราะหหาทางเลือกในการแกไขปญหาที่
หลากหลาย เชน ปญหาเรื่องอายุของผูเรียน ปญหาอยูที่ครู ปญหาอยูที่พอแม ปญหาอยูที่สภาวะแวดลอม
ตางๆ ซึ่งบางครั้งไมสามารถแกไขไดดวยวิธีหนึ่งวิธีเดียว
2.1.3 แผนงาน /โครงการตามพระราชดําริ
1) ใหมีการดําเนินโครงการตามพระราชดําริในสวนที่กระทรวงศึกษาธิการรับผิดชอบโดยตรง
หรือมีสวนเกี่ยวของ
2) โครงการพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ สมเด็จพระนางเจา
พระบรมราชินีนาถฯ หรือพระบรมวงศานุวงศพระองคใดที่กระทรวงศึกษาธิการดําเนินการ หรือใหการ
สนับสนุนตองสามารถอธิบายที่มาเหตุผล และความสําคัญของโครงการใหนักเรียนนักศึกษารูและเขาใจ
หลักการแนวคิด ของโครงการไดชัดเจนรวมทั้งถายทอดใหเกิดการเรียนรูไดอยางดี
3) สงเสริมใหมีการดําเนินงานโครงการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสวนที่
เกี่ยวของโดยการเรียนรู ทําความเขาใจและยึดเปนแนวปฏิบัติในการดําเนินชีวิต พรอมทั้งสามารถเผยแพร
ขยายผลตอไปได
4) สงเสริมใหมีการดําเนินงานโครงการ /กิจกรรม เพื่อเสริมสรางอุดมการณรักชาติและสถาบัน
หลักของชาติ
2.1.4 งบประมาณ
ก. งบลงทุน
1) ใหเตรียมการดําเนินโครงการใหพรอมในไตรมาสแรกของปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙
2) การใชงบประมาณเมื่อไดรับแลวตองเรงดําเนินการตามแผนที่กําหนดเพื่อใหเกิดการกระจาย
งบประมาณในพื้นที่
ข. งบกลาง
1) ใหเสนอขอใชงบกลางอยางมีเหตุผลและใชเทาที่จําเปน
2) ใหเกลี่ยงบประมาณปกติของสวนราชการมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด
ค. การใชงบประมาณในการดําเนินงานตองเปนไปดวยความโปรงใสและตรวจสอบได ซึ่งรัฐบาลจะ
แตงตั้งคณะกรรมการติดตาม และตรวจสอบการใชงบประมาณภาครัฐ (คตร.) ทุกระทรวงและมีการแตงตั้ง
คณะกรรมการ (คตร.) เฉพาะกระทรวงศึกษาธิการเพื่อตรวจสอบการใชจายงบประมาณภาครัฐของ
กระทรวงศึกษาธิการ และชวยการปฏิบัติงานของผูบริหารกระทรวงศึกษาธิการเพื่อความโปรงใสและถูกตอง
ง. งานบางโครงการที่ตองมีการบูรณาการตามแผนงบประมาณบูรณาการนั้น ใหมีการบูรณา
การงบประมาณหนวยงานยอยรวมกันภายในกระทรวงใหเรียบรอยกอน การบูรณาการกับหนวยงานภายนอก
เพื่อใหการใชงบประมาณคุมคาและเกิดประโยชนสูงสุด
2.1.5 เนนการสื่อสารภายในและภายนอกองคกร
ก. จัดใหมีชองทางการสื่อสารอยางเปนระบบ นําเทคโนโลยีการสื่อสารเขามาชวยปฏิบัติงาน อาทิ
การประชุมทางไกล โปรแกรมไลน เปนตน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ
1) สรางความเขาใจภายในองคกรใหมากขึ้น
2) ใหผูบริหารมีชองทางติดตอสื่อสารไดตลอดเวลา สามารถถายทอดคําสั่งไปยังหนวยรอง
และหนวยปฏิบัติไดทันที รวดเร็ว และทั่วถึง
“ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 10
3) ใหมีการรายงานที่รวดเร็วทันเหตุการณ และทดสอบระบบที่มีอยูเสมอ
ข. ทุกหนวยงานตองจัดใหมีแผนการประชาสัมพันธ อาทิ
1) เสมาสนเทศ เปนการสื่อสารประชาสัมพันธภายในองคกร คือ การสรางความเขาใจ ภายใน
องคกร หนวยงาน
2) ประชาสนเทศ เปนการประชาสัมพันธ ผานสื่อภายนอกองคกร คือ การสรางความเขาใจ
กับประชาชน
2.1.6 อํานวยการเมื่อมีเหตุการณฉุกเฉิน
กรณีเกิดอุบัติเหตุภัยพิบัติ หรือเหตุการณที่สงผลกระทบตอสถานศึกษา ผูบริหาร ครู นักเรียน
นักศึกษา ทั้งที่เกิดในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา อาทิ การกลาวหาพฤติกรรมผู บริหาร การประทวง
ตอตานผู บริหาร นักเรียนเจ็บปวยผิดปกติ โรงเรียนถูกขูวางระเบิด โรงเรียนเกิดวาตภัย ฯลฯ ใหทุกหนวยงาน
ที่เกี่ยวของกําหนดมาตรการ วิธีการ ขั้นตอนปฏิบัติที่ชัดเจน ในการปองกันแกไขปญหา ตลอดจนสรางความรู
ความเขาใจที่ถูกตองแกผู เกี่ยวของ ใหทบทวน ปรับปรุงหรือทําการซักซอมความเขาใจอยูเสมอ ซึ่งเบื้องตน
ตองมีรายละเอียด ดังนี้
1) มีการจัดระบบและกําหนดผูปฏิบัติที่ชัดเจน
2) มีวิธีการขั้นตอนการแกไขปญหาเฉพาะหนาระยะสั้น และระยะยาว
3) สํารวจระบบที่มีอยูใหมีความพรอมปฏิบัติงานอยูเสมอ
4) ใหมีระบบการรายงานเหตุดวนตามลําดับชั้นอยางรวดเร็ว
2.1.7 การรวมมือกับภาคเอกชนและภาคประชาสังคม
ประสานความรวมมือกับทุกภาคสวน ใหเขามามีสวนรวมดําเนินการจัดการศึกษาใหครบวงจร
เชน รวมกําหนดหลักสูตรการเรียนการสอนใหนักเรียนนักศึกษาเขาทํางานระหวางกําลังศึกษา และการรับเขา
ทํางานเมื่อสําเร็จการศึกษา
2.1.8 ใหความสําคัญกับการบริหารงานสวนภูมิภาคและเขตพื้นที่ตาง ๆ ของแตละสวนราชการ
1) ใหมีการทบทวนบทบาทหนาที่ การปฏิบัติงานของหนวยงานระดับพื้นที่ใหครบถวน
2) กําหนดบทบาทภารกิจในสิ่งที่ตองรูและสิ่งที่ยังไมรู ใหมีการแบงภารกิจงานใหชัดเจน
3) กําหนดความตองการและสิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ ใหพอเพียง
2.1.9 โครงการจัดอบรม สัมมนา ตองบรรลุตามวัตถุประสงค
1) การจัดโครงการประชุมสัมมนา ตองดําเนินการใหบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายที่กําหนด
อยางมีประสิทธิผล เปนไปตามนโยบายและเกิดประโยชนแกประชาชน
2) การคัดเลือกกลุมเปาหมายวิทยากร หรือสงบุคลากรเขารวมประชุมสัมมนากับหนวยงานใน
ทุกระดับตองเปนผูที่มีความรูเหมาะสม เพื่อใหไดผลการดําเนินงานที่มีคุณภาพ
2.1.10 ยกระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษในทุกหลักสูตร
ใหเรงยกระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษในกลุมเปาหมายหลักนักเรียนนักศึกษาใหมีความรูและ
สามารถใชในการสื่อสารเพื่อการเขาสูประชาคมอาเซียน รวมถึงครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษา
“ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 11
2.1.11 ใหมีการนํา ICT มาใชในการบริหารงานในกระทรวงศึกษาธิการอยางทั่วถึงและมี
ประสิทธิภาพ
1) ใหมีการดําเนินงานของศูนยศึกษาทางไกล (Distance Learning Thailand) โดยบูรณาการ
เขากับสถานีวิทยุ เพื่อการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ (ETV) และเครือขายของสํานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษาใชเปนชองทางในการสื่อสารเพื่อการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ
2) จัดใหมี CEO ดาน ICT เพื่อขับเคลื่อนงานการจัดการศึกษา การใชสื่อเพื่อสรางความเขาใจ
ความสนใจ และการประชาสัมพันธดาน “เสมาสนเทศ” และ “ประชาสนเทศ”
2.1.12 ใหความสําคัญกับเทคนิคการสอน และการสื่อความหมาย
สงเสริมใหครูผูสอนพัฒนาหรือตอยอดนวัตกรรมการเรียนการสอน การใชสื่อเทคโนโลยีตางๆ
จัดการเรียนการสอน การสรางความรูความเขาใจที่ดีทําใหเด็กเกิดความสนใจเรียนรูและมีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนสูงขึ้น
2.1.13 การดูแลรักษาสภาพแวดลอม
1) ใหมีการประดับธงชาติในสถานที่ราชการ และสถานศึกษาใหเรียบรอยเหมาะสม
2) ดูแลความสวยงามและความสะอาดบริเวณพื้นที่ที่รับผิดชอบของหนวยงาน และ
สถานศึกษาทุกระดับ
3) การักษาความปลอดภัยของหนวยงาน และสถานศึกษาตองจัดใหมีแผนรักษาความ
ปลอดภัยใหชัดเจน อาทิ แผนเผชิญเหตุอัคคีภัยอุทกภัยจัดลําดับความสําคัญและสภาพปญหาภัยคุกคามของ
แตละพื้นที่ และมีการซักซอมแผนอยางสม่ําเสมอ
2.1.14 ใหลดภาระงานที่ไมเกี่ยวกับการเรียนการสอนของครู และนักเรียน
1) ใหนอมนํากระแสพระราชดํารัส มาเปนกรอบแนวทางในการปฏิบัติงานการสอนของครู
2) ใหลดเวลาเรียนตอวันในชวงเวลาบาย เพื่อใหเด็กไดใชเวลานอกหองเรียนเพื่อการเรียนรู
และเขารวมกิจกรรมที่โรงเรียนจัดขึ้นตามความถนัดและความสนใจ เพื่อใหเกิดการผอนคลายและมีความสุข
3) ใหสถานศึกษาลดภาระงานที่ไมเกี่ยวกับการเรียนการสอน การนํานักเรียน และครูออก
นอกหองเรียนไปรวมกิจกรรมที่ไมเกี่ยวกับการศึกษา อาทิ การยืนเขาแถวตอนรับผูใหญ เปนตน ควรสงเสริมให
เด็กไดรวมกิจกรรมเพื่อเสริมสรางประสบการณเรียนรู สรางทักษะ ความสามารถ
2.1.15 การประเมินเพื่อมีหรือเลื่อนวิทยฐานะใหสอดคลองกับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน
ใหจัดระบบการประเมินผลงานความกาวหนา และการปรับเพิ่มวิทยฐานะและภาระงานของ
ครูผูสอนใหสามารถวัดผลไดจริงสอดคลองกับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียนทั้งดานความรูคุณลักษณะที่พึงประสงค
และทักษะชีวิต
2.1.16 การแกไขปญหาการจัดการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต
ใหเรงรัดการดําเนินโครงการขับเคลื่อนตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดชายแดนใต และ
สนับสนุนการดําเนินโครงการในสวนที่เกี่ยวของใหบังเกิดผลโดยเร็ว อาทิ โครงการสานฝนการกีฬาสูจังหวัด
ชายแดนภาคใต เปนตน
2.1.17 ครูควรมีขอมูลนักเรียนและผูปกครอง
“ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 12
ใหจัดระบบการทําระเบียนขอมูลประวัติผูเรียนและผูปกครองใหเปนปจจุบัน เพื่อเปนระบบ
ดูแลนักเรียนและชวยแกไขปญหาที่ตัวผูเรียนและครอบครัวเปนรายบุคคลได เชน ครอบครัวที่ประสบเหตุภัย
แลง อุทกภัยตาง ๆ และรวบรวมเปนขอมูลในภาพรวมของหนวยงานระดับพื้นที่ในการใหความชวยเหลือ
บรรเทาปญหาในรูปแบบที่เหมาะสมตอไป
2.2. นโยบายสงเสริมและสนับสนุนการศึกษา
2.2.1 นโยบายดานการปราบปรามการทุจริต
1) หามมิใหมีการซื้อขายตําแหนง หรือเรียกรับเงินเพื่อการสอบบรรจุ การรับโอน การโยกยาย
หรือผลตอบแทนอันใด ที่ไมเปนไปตามกฎหมายและระเบียบปฏิบัติราชการ
2) หยุดการทุจริตภายในองคกรโดยเด็ดขาด หากพบขอมูล
1)) ดําเนินการสอบสวนหาผูกระทําผิดและดําเนินคดีตามกฎหมายอยางจริงจัง
2)) ทําการตรวจสอบชองวางที่ทําใหเกิดการทุจริตตามที่ตรวจพบนั้นๆ และทําการแกไข
3)) ปรับปรุงระบบ ระเบียบ รวมถึงมาตรการตางๆ ควบคุมเพื่อไมใหเกิดการทุจริตขึ้นอีก
3) ดําเนินการสุมตรวจสอบ หากพบมีการทุจริตในหนวยงานใด ผูบังคับบัญชาหนวยงาน
ตามลําดับชั้นตองมีสวนรวมรับผิดชอบดวยฐานปลอยปละละเลยใหเกิดการกระทําผิดดังกลาว
2.2.2 นโยบายดานสวัสดิการ
1) การสอบบรรจุแตงตั้งโยกยายใหเปนไปดวยความโปรงใสและเปนธรรม
2) ใหสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษา
(สกสค.) ดําเนินการตามอํานาจหนาที่ในการดูแลสวัสดิการและสวัสดิภาพครู ใหครอบคลุมทุกดาน
ไมเฉพาะกรณีเสียชีวิตเทานั้น เพื่อชวยใหครูไดมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
3) เรื่องหนี้สินของครูสงเสริมใหครูมีจิตสํานึกรูจักการดําเนินชีวิตโดยยึดหลักปรัชญา ของ
เศรษฐกิจพอเพียง รูจักใชรูจักเก็บสรางเกียรติภูมิในตนเอง เพื่อไมใหสงผลกระทบตอการเรียนการสอน
2.2.3 นโยบายดานการจัดการขยะ
1) ใหสถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ขยายผล
โครงการโรงเรียนขยะใหเพิ่มมากขึ้น
2) ใหสถานศึกษา/สถาบันการศึกษาทุกสังกัด ขับเคลื่อนนโยบายการจัดการขยะ โดยการปลูก
จิตสํานึกแกผูเรียนทุกระดับ ใหลดการทิ้งขยะ รูจักการคัดแยกประเภทขยะ และการกําจัดขยะที่ถูกตอง
2.2.4 นโยบายดานการดูแลรักษาสิ่งปลูกสราง ครุภัณฑ
ใหมีการจัดระบบการดูแลรักษาสิ่งปลูกสรางและครุภัณฑใหมีประสิทธิภาพ ดังนี้
1) ระบบการจัดหาและแจกจายครุภัณฑ
- ใหใชหลักตรรกะในการดําเนินการตามเหตุผลและความจําเปนของหนวยงาน
2) ระบบการซอมบํารุง
- ใหจัดตั้งหนวยเฉพาะกิจสรางระบบการดูแลซอมบํารุง ตรวจสอบวงรอบการใชงาน
กําหนดผูรับผิดชอบใหชัดเจน มีการเชื่อมโยงและรวมมือกับหนวยงานที่มีทักษะในการซอมบํารุง
3) ระบบดูแลอาคารสถานที่
- ใหจัดระบบการดูแลรักษาความสะอาด ความเปนระเบียบเรียบรอย ตรวจสภาพไมให
ทรุดโทรมอยางตอเนื่อง
“ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 13
2.2.5 การขับเคลื่อนและกํากับงานตามนโยบาย
2.2.6 แนวทางดําเนินการของรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ
Hit The Point : งานทุกเรื่องตองตีโจทยปญหาใหชัดเจน และทําใหตรงประเด็น
Dynamic : มีการขับเคลื่อนการดําเนินงานไปดวยกันทั้งระบบอยางตอเนื่อง ทั้งภายใน
องคกรและองคกรภายนอก
Lively : ทํางานดวยชีวิตจิตใจที่ดี เขาใจเนื้องานตรงกันเห็นประโยชนรวมกันไม
ขัดแยงกัน และทํางานรวมกันอยางมีความสุข
3. นโยบายดานการอาชีวศึกษา (สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา)
3.1 การเปลี่ยนคานิยมอาชีวะของผูปกครองและนักเรียนใหหันมาเขาสูระบบอาชีวะมากยิ่งขึ้น
- ทวิศึกษา เปนการจัดการศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา รวมกับสํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) และสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย จบแลวไดวุฒิการศึกษา 2 ใบ สามารถออกไปประกอบอาชีพได
- ความรวมมือกับสถานประกอบการ เปนการจัดการศึกษาระหวางสถานประกอบการและ
สถานศึกษา โดยมุงเนนใหนักศึกษาไดฝกปฏิบัติจริงและเมื่อจบการศึกษาแลว สามารถประกอบอาชีพไดทันที
- การลดเรื่องการทะเลาะวิวาท เพื่อสรางความปลอดภัย
- ใหความสนใจกับนักศึกษาทุกคนอยางทั่วถึง
- ใหโอกาสนักศึกษาเขาฝกงานในสถานประกอบการ เพื่อเปนการสรางนิสัยในการรักการประกอบ
อาชีพ การตรงตอเวลา ความอดทน ความมั่นใจตนเอง และมองถึงอนาคตขางหนา
“ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 14
3.2 การทําใหวิทยาลัยอาชีวะมีความเปนเลิศเฉพาะดาน
- ใหมีการจัดการศึกษาทางดานเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร
- การจัดการศึกษาดานปโตรเคมี
- การทองเที่ยว โรงแรม อาหาร มัคคุเทศก
- การจัดหลักสูตรเพื่อรองรับการพัฒนาประเทศดานสาธารณูปโภค และอื่นๆ เชน การเปดสอน
หลักสูตรเกี่ยวกับระบบราง หลักสูตรการซอมแซมยุทโธปกรณ และหลักสูตรเกี่ยวกับการบิน
3.3 จัดการศึกษาอาชีวะมาตรฐานสากล
- การจัดการอาชีวศึกษาอาเซียน รวมมือกับกลุมประเทศอาเซียน รวมทั้งจีน ญี่ปุน เกาหลี และยุโรป
บางประเทศ ไดแก อังกฤษ เดนมารก เยอรมัน
4. ทักษะของเด็กในศตวรรษที่ 21 (3R + 8C)
4.1 3R ไดแก
1) Reading (อานออก)
2) Writing (เขียนได)
3) Arithmetics (คิดเลขเปน)
4.2 8C ไดแก
1) Critical thinking and problem solving (ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณ และ
ทักษะในการแกปญหา)
2) Creativity & innovation (ทักษะดานการสรางสรรค และนวัตกรรม)
3) Cross-cultural understanding (ทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรม ตางกระบวนทัศน)
4) Collaboration, teamwork & leadership (ทักษะดานความรวมมือ การทํางานเปนทีม
และภาวะผูนํา)
5) Communications, information & media literacy (ทักษะดานการสื่อสาร สารสนเทศ
และรูเทาทันสื่อ)
6) Computing & ICT literacy (ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ และ
การสื่อสาร)
7) Career & learning skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู)
8) Compassion (ความมีเมตตากรุณา) (วินัย, คุณธรรม, จริยธรรม ฯลฯ)
4.3 พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี (ในคราวประชุมนายกรัฐมนตรีพบเพื่อนครู)
1) อยากรูอยากเห็น
2) มีเหตุผล
3) คิดสรางสรรค
“ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 15
4) คิดวิเคราะห
5) อยากลองสิ่งใหม
6) ทักษะการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
7) รูจักปรับตัว
8) ทักษะการสื่อสาร
9) เรียนรูดวยตนเอง
10) มีความสามารถในการพัฒนา
5. ขอมูลวิทยาลัยการอาชีพรอยเอ็ด
5.1 ประวัติความเปนมาของวิทยาลัยการอาชีพรอยเอ็ด
ชื่อสถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพรอยเอ็ด
ชื่อภาษาอังกฤษ Roi – Et Industrial and Community Education College
วิทยาลัยการอาชีพรอยเอ็ด สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดรอยเอ็ด สํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา
ตั้งอยูเลขที่ 177 ถนนรณชัยชาญยุทธ ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดรอยเอ็ด 45000 โทรศัพท
043-511602 โทรสาร 043-513862 เว็บไซต www.roiet-icec.ac.th อีเมล icec101@hotmail.com
เนื้อที่ 25 ไร เดิมชื่อ “ศูนยฝกวิชาชีพ” ไดจัดตั้งขึ้นตามโครงการจัดตั้งศูนยฝกวิชาชีพ โดยเงินกูของ
ธนาคารโลก จัดตั้งเปนศูนยขนาดเล็กในเขตการศึกษา 10 ประกาศจัดตั้งเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2522
เริ่มกอสรางเมื่อวันที่ 3 กันยายน 2523 ไดเปดทําการสอนเมื่อเดือน พฤศจิกายน 2524 โดยเปดสอนใน
หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายสายวิชาชีพ “เรียกวาหลักสูตรวิชาชีพ (วช.)” บริการใหกับนักเรียนใน
โรงเรียนมัธยมศึกษาของกรมสามัญศึกษา ซึ่งเรียกวาโรงเรียนตนสังกัดในเขตจังหวัดรอยเอ็ดและจังหวัด
ใกลเคียง ทั้งภาครัฐบาลและเอกชน นอกจากนั้นยังไดเปดสอนในหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นใหกับประชาชน
ทั่วไปทั้งภาคในเวลาราชการและภาคนอกเวลาราชการในสาขาวิชาตางๆ ตามความตองการของทองถิ่น
เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2534 ไดเปลี่ยนชื่อเปน วิทยาลัยการอาชีพรอยเอ็ด ไดเปดสอน
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในสาขาวิชาที่ขาดแคลน ปการศึกษา 2539 เปดสอนหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ตั้งแตนั้นเปนตนมา และในปการศึกษา 2556 ไดเปดสอนระดับ
ปริญญาตรีสาขาเทคโนโลยีแมพิมพ
5.2 ปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค คานิยม อัตลักษณและเอกลักษณ
ปรัชญา (Philosophy)
วิชาการดี ฝมือเลิศ ประเสริฐน้ําใจ วินัยเครงครัด มัธยัสถและซื่อตรง
วิสัยทัศน (Vision)
“ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 16
มุงจัดการศึกษาดานวิชาชีพตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา ดวยนวัตกรรมและเทคโนโลยี
ตรงตามความตองการของตลาดแรงงาน สูมาตรฐานสากล
พันธกิจ (Mission)
1) ผลิตและพัฒนากําลังคนดานวิชาชีพ
2) ใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจัดการศึกษาวิชาชีพ
3) สรางเครือขายความรวมมือกับสถานประกอบการและชุมชน
4) ยกระดับคุณภาพการศึกษาวิชาชีพสูมาตรฐานสากล
เปาประสงค (Goal)
1) ผูเรียนไดเรียนสาขาวิชาชีพตามความตองการ
2) มีนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาที่ทันสมัยและเพียงพอ
3) ผูสําเร็จการศึกษาวิชาชีพตรงตามความตองการของตลาดแรงงาน
4) ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผูสําเร็จการศึกษาคือผูทรงคุณคา
คานิยม (Value)
ตรงเวลา ตรงหนาที่ มีวินัย
อัตลักษณ (Identity)
บริการดวยความรู คูคุณธรรม (Knowledge and Morality Service) หมายถึง
วิทยาลัยการอาชีพรอยเอ็ด มุงพัฒนานักเรียนนักศึกษา ใหมีอัตลักษณในการบริการวิชาชีพดวยความรู
เทคโนโลยี คุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
เอกลักษณ (Uniqueness)
สรางอาชีพ (Career Empowerment) หมายถึง การเสริมสรางความรูความชํานาญใน
การปฏิบัติงานและสงเสริมใหผูเรียนมีจิตบริการ ดวยคุณลักษณะอันพึงประสงค
5.3 จุดเนนในการพัฒนาสถานศึกษาและความโดนเดนของสถานศึกษา
จุดแข็ง (Strengths) /สภาพแวดลอมภายใน
1) บุคลากรมีจํานวนเพียงพอตอการปฏิบัติหนาที่
2) อาคารสถานที่/พื้นที่มีจํานวนเพียงพอ
3) สถานที่ตั้งอยูใกลชุมชนและการคมนาคมสะดวก
4) ผานการประกันคุณภาพภายในและภายนอก
5) วิทยาลัยมีชื่อเสียงที่เปนที่รูจักของชุมชนและผูปกครองเปนอยางมาก
6) มีการติดตามนักเรียนออกกลางคัน
จุดออน (Weakness) สภาพแวดลอมภายใน
“ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 17
1) การปฏิบัติหนาที่ขาดการประสานและความสอดคลองกัน
2) วัสดุครุภัณฑไมเพียงพอ
3) บุคลากรขาดความรูความเชี่ยวชาญในงานเฉพาะทาง
4) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนต่ํา
5) การติดตาม นิเทศไมเพียงพอ
6) สภาพแวดลอมและภูมิทัศนขาดการปรับปรุงและพัฒนาอยางตอเนื่อง
โอกาส (Opportunity) สภาพแวดลอมภายนอก
1) ชุมชนทองถิ่นใหการยอมรับและพรอมใหความชวยเหลือ
2) มีกองทุนกูยืมเพื่อการศึกษา
ปญหา/อุปสรรค (threats) สภาพแวดลอมภายนอก
1) ภายในตัวจังหวัดมีสถานศึกษาจํานวนมาก ทําใหเกิดการแขงขันในการจัดการศึกษา
สูงตามไปดวย
2) ไดรับงบประมาณสนับสนุนนอย ไมเพียงพอตอการบริหารจัดการอยางมีประสิทธิภาพ
และคุณภาพ
3) คานิยมของผูปกครองและนักศึกษา ชอบเรียนสายสามัญมากกวาสายอาชีพ
4) คานิยมของผูปกครองและนักเรียนเลือกเรียนวิทยาลัยเทคนิคและอาชีวศึกษากอนจนเต็ม
และคอยมาเขาเรียนที่วิทยาลัยการอาชีพรอยเอ็ด
5.4 ผลการประเมินภายในสถานศึกษาโดยตนสังกัดป (พ.ศ. 2555 - 2557)
จุดเดนของสถานศึกษา
1) นักเรียนนักศึกษาสําเร็จการศึกษามีงานทํา
2) มีกิจกรรมพัฒนาผูเรียนที่หลากหลาย สอดคลองและครอบคลุมกิจกรรมทุกประเภท
3) วิทยาลัยจัดกิจกรรม/โครงการบริการสูสังคมที่เปนประโยชนตอชุมชนและนักเรียน
นักศึกษา บุคลากรทั้งในและภายนอกใหความรวมมือเปนอยางดี
4) คณะผูบริหารมีวิสัยทัศน ภาวะผูนําและไดมอบหมายหนาที่แกคณะบุคลากรอยางเดนชัด
5) การจัดระบบการประกันคุณภาพภายในอยางเปนระบบและมีแผนปฏิบัติงานอยางเดนชัด
6) คณะครูและบุคลากรทุกคนมีความตระหนักในการปฏิบัติงานจนเกิดผลสัมฤทธิ์ตาม
วัตถุประสงคที่ตั้งไว
จุดที่ควรพัฒนาของสถานศึกษา
1) นักเรียนนักศึกษาออกกลางคันมาก คุณธรรมจริยธรรม การประยุกตหลักการทาง
คณิตศาสตร วิทยาศาสตรควรมีการพัฒนาระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน
นักศึกษาอยางตอเนื่อง
2) ควรปรับปรุงศูนยวิทยบริการใหมีความหลากหลาย
3) ควรพัฒนาระบบดูแลผูเรียนในบทบาทครูที่ปรึกษาใหใกลชิดมากขึ้น
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด

More Related Content

Similar to ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด

นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
ผลกระทบสังคมวัฒนธรรมต่อประเทศไทยในการเป็นประชาคมอาเซียน
ผลกระทบสังคมวัฒนธรรมต่อประเทศไทยในการเป็นประชาคมอาเซียนผลกระทบสังคมวัฒนธรรมต่อประเทศไทยในการเป็นประชาคมอาเซียน
ผลกระทบสังคมวัฒนธรรมต่อประเทศไทยในการเป็นประชาคมอาเซียนTaraya Srivilas
 
ABC.pdf
ABC.pdfABC.pdf
ABC.pdf609131
 
ABC.pdf
ABC.pdfABC.pdf
ABC.pdf609131
 
พัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน
พัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืนพัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน
พัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืนInfluencer TH
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตTor Jt
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53Link Standalone
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูTheyok Tanya
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูSuwaraporn Chaiyajina
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูJutarat Piamrod
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูshalala2
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงfreelance
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรtualekdm
 
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....Tum Meng
 

Similar to ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด (20)

นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ผลกระทบสังคมวัฒนธรรมต่อประเทศไทยในการเป็นประชาคมอาเซียน
ผลกระทบสังคมวัฒนธรรมต่อประเทศไทยในการเป็นประชาคมอาเซียนผลกระทบสังคมวัฒนธรรมต่อประเทศไทยในการเป็นประชาคมอาเซียน
ผลกระทบสังคมวัฒนธรรมต่อประเทศไทยในการเป็นประชาคมอาเซียน
 
ABC.pdf
ABC.pdfABC.pdf
ABC.pdf
 
ABC.pdf
ABC.pdfABC.pdf
ABC.pdf
 
พัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน
พัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืนพัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน
พัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน
 
สอนภาพประเทศไทย
สอนภาพประเทศไทยสอนภาพประเทศไทย
สอนภาพประเทศไทย
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 
Pat5 53
Pat5 53Pat5 53
Pat5 53
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....
 
Smart Agriculture
Smart Agriculture Smart Agriculture
Smart Agriculture
 

More from Totsaporn Inthanin

ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdfทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdfTotsaporn Inthanin
 
ทำวัตรเช้า แปล powerpoint 81 หน้า.pdf
ทำวัตรเช้า แปล powerpoint 81 หน้า.pdfทำวัตรเช้า แปล powerpoint 81 หน้า.pdf
ทำวัตรเช้า แปล powerpoint 81 หน้า.pdfTotsaporn Inthanin
 
อานาปานสติ 16 ขั้น สอนโดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6).pdf
อานาปานสติ 16 ขั้น สอนโดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6).pdfอานาปานสติ 16 ขั้น สอนโดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6).pdf
อานาปานสติ 16 ขั้น สอนโดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6).pdfTotsaporn Inthanin
 
สอศ. เรียกบรรจุครู 737 อัตรา รายงานตัว 12 14 ก.พ. 2561 นี้
สอศ. เรียกบรรจุครู 737 อัตรา รายงานตัว 12 14 ก.พ. 2561 นี้สอศ. เรียกบรรจุครู 737 อัตรา รายงานตัว 12 14 ก.พ. 2561 นี้
สอศ. เรียกบรรจุครู 737 อัตรา รายงานตัว 12 14 ก.พ. 2561 นี้Totsaporn Inthanin
 
คำสั่งออกค่ายอาสา นักศึกษาปริญญาตรี ฉ.3 รุ่น 5 (ฉบับแก้ไข)
คำสั่งออกค่ายอาสา นักศึกษาปริญญาตรี ฉ.3 รุ่น 5 (ฉบับแก้ไข)คำสั่งออกค่ายอาสา นักศึกษาปริญญาตรี ฉ.3 รุ่น 5 (ฉบับแก้ไข)
คำสั่งออกค่ายอาสา นักศึกษาปริญญาตรี ฉ.3 รุ่น 5 (ฉบับแก้ไข)Totsaporn Inthanin
 
ประกาศรับสมัคร นักศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนื...
ประกาศรับสมัคร นักศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนื...ประกาศรับสมัคร นักศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนื...
ประกาศรับสมัคร นักศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนื...Totsaporn Inthanin
 
ประกาศรายชื่อ นศ. โควต้า เข้าศึกษาต่อวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปีการศึกษา...
ประกาศรายชื่อ นศ. โควต้า เข้าศึกษาต่อวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปีการศึกษา...ประกาศรายชื่อ นศ. โควต้า เข้าศึกษาต่อวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปีการศึกษา...
ประกาศรายชื่อ นศ. โควต้า เข้าศึกษาต่อวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปีการศึกษา...Totsaporn Inthanin
 
สูจิบัตร กีฬาสี 60 วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
สูจิบัตร กีฬาสี 60 วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ดสูจิบัตร กีฬาสี 60 วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
สูจิบัตร กีฬาสี 60 วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ดTotsaporn Inthanin
 
คำสั่งย้ายครู สังกัด สอศ. จำนวน 364 ราย สั่ง ณ วันที่ 22 พ.ย. 2560
คำสั่งย้ายครู สังกัด สอศ. จำนวน 364 ราย สั่ง ณ วันที่ 22 พ.ย. 2560คำสั่งย้ายครู สังกัด สอศ. จำนวน 364 ราย สั่ง ณ วันที่ 22 พ.ย. 2560
คำสั่งย้ายครู สังกัด สอศ. จำนวน 364 ราย สั่ง ณ วันที่ 22 พ.ย. 2560Totsaporn Inthanin
 
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด รับสมัครครูช่างยนต์ 1 อัตรา
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด รับสมัครครูช่างยนต์ 1 อัตราวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด รับสมัครครูช่างยนต์ 1 อัตรา
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด รับสมัครครูช่างยนต์ 1 อัตราTotsaporn Inthanin
 
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประกาศรับสมัครนักเรียนนักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา ...
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประกาศรับสมัครนักเรียนนักศึกษาใหม่  ประจำปีการศึกษา ...วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประกาศรับสมัครนักเรียนนักศึกษาใหม่  ประจำปีการศึกษา ...
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประกาศรับสมัครนักเรียนนักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา ...Totsaporn Inthanin
 
แม่พิมพ์ไม่มีวันตายหรอก
แม่พิมพ์ไม่มีวันตายหรอกแม่พิมพ์ไม่มีวันตายหรอก
แม่พิมพ์ไม่มีวันตายหรอกTotsaporn Inthanin
 
อนุมัติใช้หลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2560
อนุมัติใช้หลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2560อนุมัติใช้หลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2560
อนุมัติใช้หลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2560Totsaporn Inthanin
 
การอุปสมบทถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด...
การอุปสมบทถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด...การอุปสมบทถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด...
การอุปสมบทถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด...Totsaporn Inthanin
 
ผลเกรดกิจกรรม 1/2560 ของ นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ผลเกรดกิจกรรม 1/2560 ของ นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ดผลเกรดกิจกรรม 1/2560 ของ นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ผลเกรดกิจกรรม 1/2560 ของ นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ดTotsaporn Inthanin
 
คำสั่งอบรมภาวะผู้นำ ฉ.3 วันที่ 3-4 ก.ย. 60
คำสั่งอบรมภาวะผู้นำ ฉ.3 วันที่ 3-4 ก.ย. 60คำสั่งอบรมภาวะผู้นำ ฉ.3 วันที่ 3-4 ก.ย. 60
คำสั่งอบรมภาวะผู้นำ ฉ.3 วันที่ 3-4 ก.ย. 60Totsaporn Inthanin
 
กำหนดการซ้อมและรับพระราชทานปริญญาบัตรและลำดับที่นั่งบัณฑิต ฉ.3
กำหนดการซ้อมและรับพระราชทานปริญญาบัตรและลำดับที่นั่งบัณฑิต ฉ.3กำหนดการซ้อมและรับพระราชทานปริญญาบัตรและลำดับที่นั่งบัณฑิต ฉ.3
กำหนดการซ้อมและรับพระราชทานปริญญาบัตรและลำดับที่นั่งบัณฑิต ฉ.3Totsaporn Inthanin
 
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานซ้อมรับพระราชทานปริญญาบัตร (ซ้อมย่อย) ฉ.3
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานซ้อมรับพระราชทานปริญญาบัตร (ซ้อมย่อย) ฉ.3คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานซ้อมรับพระราชทานปริญญาบัตร (ซ้อมย่อย) ฉ.3
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานซ้อมรับพระราชทานปริญญาบัตร (ซ้อมย่อย) ฉ.3Totsaporn Inthanin
 
ขั้นตอนการตรวจสอบฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ ผ่านระบบ e-filling ของกรมบัญชีกลาง
ขั้นตอนการตรวจสอบฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ ผ่านระบบ e-filling ของกรมบัญชีกลางขั้นตอนการตรวจสอบฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ ผ่านระบบ e-filling ของกรมบัญชีกลาง
ขั้นตอนการตรวจสอบฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ ผ่านระบบ e-filling ของกรมบัญชีกลางTotsaporn Inthanin
 
ประกาศผลสอบครูผู้ช่วย สอศ. ผู้มีสิทธิ์สอบ ภาค ค. รหัสสาขา 301-311
ประกาศผลสอบครูผู้ช่วย สอศ. ผู้มีสิทธิ์สอบ ภาค ค. รหัสสาขา 301-311ประกาศผลสอบครูผู้ช่วย สอศ. ผู้มีสิทธิ์สอบ ภาค ค. รหัสสาขา 301-311
ประกาศผลสอบครูผู้ช่วย สอศ. ผู้มีสิทธิ์สอบ ภาค ค. รหัสสาขา 301-311Totsaporn Inthanin
 

More from Totsaporn Inthanin (20)

ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdfทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
 
ทำวัตรเช้า แปล powerpoint 81 หน้า.pdf
ทำวัตรเช้า แปล powerpoint 81 หน้า.pdfทำวัตรเช้า แปล powerpoint 81 หน้า.pdf
ทำวัตรเช้า แปล powerpoint 81 หน้า.pdf
 
อานาปานสติ 16 ขั้น สอนโดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6).pdf
อานาปานสติ 16 ขั้น สอนโดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6).pdfอานาปานสติ 16 ขั้น สอนโดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6).pdf
อานาปานสติ 16 ขั้น สอนโดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6).pdf
 
สอศ. เรียกบรรจุครู 737 อัตรา รายงานตัว 12 14 ก.พ. 2561 นี้
สอศ. เรียกบรรจุครู 737 อัตรา รายงานตัว 12 14 ก.พ. 2561 นี้สอศ. เรียกบรรจุครู 737 อัตรา รายงานตัว 12 14 ก.พ. 2561 นี้
สอศ. เรียกบรรจุครู 737 อัตรา รายงานตัว 12 14 ก.พ. 2561 นี้
 
คำสั่งออกค่ายอาสา นักศึกษาปริญญาตรี ฉ.3 รุ่น 5 (ฉบับแก้ไข)
คำสั่งออกค่ายอาสา นักศึกษาปริญญาตรี ฉ.3 รุ่น 5 (ฉบับแก้ไข)คำสั่งออกค่ายอาสา นักศึกษาปริญญาตรี ฉ.3 รุ่น 5 (ฉบับแก้ไข)
คำสั่งออกค่ายอาสา นักศึกษาปริญญาตรี ฉ.3 รุ่น 5 (ฉบับแก้ไข)
 
ประกาศรับสมัคร นักศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนื...
ประกาศรับสมัคร นักศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนื...ประกาศรับสมัคร นักศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนื...
ประกาศรับสมัคร นักศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนื...
 
ประกาศรายชื่อ นศ. โควต้า เข้าศึกษาต่อวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปีการศึกษา...
ประกาศรายชื่อ นศ. โควต้า เข้าศึกษาต่อวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปีการศึกษา...ประกาศรายชื่อ นศ. โควต้า เข้าศึกษาต่อวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปีการศึกษา...
ประกาศรายชื่อ นศ. โควต้า เข้าศึกษาต่อวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปีการศึกษา...
 
สูจิบัตร กีฬาสี 60 วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
สูจิบัตร กีฬาสี 60 วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ดสูจิบัตร กีฬาสี 60 วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
สูจิบัตร กีฬาสี 60 วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
 
คำสั่งย้ายครู สังกัด สอศ. จำนวน 364 ราย สั่ง ณ วันที่ 22 พ.ย. 2560
คำสั่งย้ายครู สังกัด สอศ. จำนวน 364 ราย สั่ง ณ วันที่ 22 พ.ย. 2560คำสั่งย้ายครู สังกัด สอศ. จำนวน 364 ราย สั่ง ณ วันที่ 22 พ.ย. 2560
คำสั่งย้ายครู สังกัด สอศ. จำนวน 364 ราย สั่ง ณ วันที่ 22 พ.ย. 2560
 
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด รับสมัครครูช่างยนต์ 1 อัตรา
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด รับสมัครครูช่างยนต์ 1 อัตราวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด รับสมัครครูช่างยนต์ 1 อัตรา
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด รับสมัครครูช่างยนต์ 1 อัตรา
 
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประกาศรับสมัครนักเรียนนักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา ...
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประกาศรับสมัครนักเรียนนักศึกษาใหม่  ประจำปีการศึกษา ...วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประกาศรับสมัครนักเรียนนักศึกษาใหม่  ประจำปีการศึกษา ...
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประกาศรับสมัครนักเรียนนักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา ...
 
แม่พิมพ์ไม่มีวันตายหรอก
แม่พิมพ์ไม่มีวันตายหรอกแม่พิมพ์ไม่มีวันตายหรอก
แม่พิมพ์ไม่มีวันตายหรอก
 
อนุมัติใช้หลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2560
อนุมัติใช้หลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2560อนุมัติใช้หลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2560
อนุมัติใช้หลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2560
 
การอุปสมบทถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด...
การอุปสมบทถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด...การอุปสมบทถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด...
การอุปสมบทถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด...
 
ผลเกรดกิจกรรม 1/2560 ของ นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ผลเกรดกิจกรรม 1/2560 ของ นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ดผลเกรดกิจกรรม 1/2560 ของ นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ผลเกรดกิจกรรม 1/2560 ของ นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
 
คำสั่งอบรมภาวะผู้นำ ฉ.3 วันที่ 3-4 ก.ย. 60
คำสั่งอบรมภาวะผู้นำ ฉ.3 วันที่ 3-4 ก.ย. 60คำสั่งอบรมภาวะผู้นำ ฉ.3 วันที่ 3-4 ก.ย. 60
คำสั่งอบรมภาวะผู้นำ ฉ.3 วันที่ 3-4 ก.ย. 60
 
กำหนดการซ้อมและรับพระราชทานปริญญาบัตรและลำดับที่นั่งบัณฑิต ฉ.3
กำหนดการซ้อมและรับพระราชทานปริญญาบัตรและลำดับที่นั่งบัณฑิต ฉ.3กำหนดการซ้อมและรับพระราชทานปริญญาบัตรและลำดับที่นั่งบัณฑิต ฉ.3
กำหนดการซ้อมและรับพระราชทานปริญญาบัตรและลำดับที่นั่งบัณฑิต ฉ.3
 
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานซ้อมรับพระราชทานปริญญาบัตร (ซ้อมย่อย) ฉ.3
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานซ้อมรับพระราชทานปริญญาบัตร (ซ้อมย่อย) ฉ.3คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานซ้อมรับพระราชทานปริญญาบัตร (ซ้อมย่อย) ฉ.3
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานซ้อมรับพระราชทานปริญญาบัตร (ซ้อมย่อย) ฉ.3
 
ขั้นตอนการตรวจสอบฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ ผ่านระบบ e-filling ของกรมบัญชีกลาง
ขั้นตอนการตรวจสอบฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ ผ่านระบบ e-filling ของกรมบัญชีกลางขั้นตอนการตรวจสอบฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ ผ่านระบบ e-filling ของกรมบัญชีกลาง
ขั้นตอนการตรวจสอบฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ ผ่านระบบ e-filling ของกรมบัญชีกลาง
 
ประกาศผลสอบครูผู้ช่วย สอศ. ผู้มีสิทธิ์สอบ ภาค ค. รหัสสาขา 301-311
ประกาศผลสอบครูผู้ช่วย สอศ. ผู้มีสิทธิ์สอบ ภาค ค. รหัสสาขา 301-311ประกาศผลสอบครูผู้ช่วย สอศ. ผู้มีสิทธิ์สอบ ภาค ค. รหัสสาขา 301-311
ประกาศผลสอบครูผู้ช่วย สอศ. ผู้มีสิทธิ์สอบ ภาค ค. รหัสสาขา 301-311
 

ร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563) วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด

  • 1. แผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2560 – พ.ศ. 2563) วิทยาลัยการอาชีพรอยเอ็ด งานวางแผนและงบประมาณ ฝายแผนงานและความรวมมือ วิทยาลัยการอาชีพรอยเอ็ด สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คํานํา การพัฒนาประเทศใหเจริญกาวหนาประชาชนกินดีอยูดีมีสุขยอมเปนที่ปรารถนาของทุกคนในชาติ ฉะนั้นความเจริญกาวหนาจึงเปนเปาหมายที่สําคัญที่ทุกคนพึงอยากได อยากมี อยากเปน แตจะทําอยางไร มีวิธีการใดที่จะทําใหสิ่งตางๆ ที่มนุษยตองการเกิดขึ้นไดสมหวังกันทุกๆ คน แตมั่นคงเปนเรื่องยาก ไดมีผูรู และผูที่ประสบความสําเร็จในหนาที่การงานไดแนะนําไววา ปจจัยที่สงเสริมใหการพัฒนาหรือการปฏิบัติงาน ไดบังเกิดผลสําเร็จนั้น บุคคลพึงไดมีการคิดวิเคราะหวางแผนกําหนดแผนการทํางาน และเปาหมายใหชัดเจน พรอมทั้งดําเนินงานตามแผนที่วางไวอยางรอบคอบและมุงมั่นจากแนวคิดหลักการดังกลาว ทําใหภาครัฐนํามา เปนแนวทางในการบริหารงานหรือปฏิบัติงาน มุงสูความสําเร็จจึงไดออกกฎหมายใหหนวยงานภาครัฐไดจัดทํา แผนพัฒนาและแผนการปฏิบัติงานขึ้นถือใชในการปฏิบัติงานอยางตอเนื่องรวมทั้งกฎกระทรวงศึกษาธิการ วา ดวยหลักเกณฑและวิธีการปรับปรุงคุณภาพการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 กําหนดใหสถานศึกษา อาชีวศึกษา จัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษาขึ้นใชเปนเครื่องมือในการปฏิบัติงานใหเกิดผลสําเร็จตาม เปาหมายที่วางไวทุกประการ ฝายแผนงานและความรวมมือ วิทยาลัยการอาชีพรอยเอ็ด สิงหาคม 2559
  • 3. “ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” สวนที่ 1 บทนํา - แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (ดานการศึกษา) - นโยบายดานการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ - ทิศทางและนโยบายดานอาชีวศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา - ทักษะของเด็กในศตวรรษที่ 21 (3R + 8C) - ขอมูลวิทยาลัยการอาชีพรอยเอ็ด - ปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค คานิยม อัตลักษณและเอกลักษณ - จุดเนนในการพัฒนาสถานศึกษาและความโดนเดนของสถานศึกษา - ผลการประเมินภายในสถานศึกษา โดยตนสังกัด - ผลการประเมินภายนอก - ผลงานดีเดนและรางวัลที่ไดรับ - หลักสูตรการจัดการเรียนการสอน - ขอมูลดานอาคารสถานที่ - แผนภูมิโครงสรางการบริหารวิทยาลัยการอาชีพรอยเอ็ด - ขอมูลบุคลากรในสถานศึกษา - ขอมูลนักเรียนนักศึกษา
  • 4. “ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 2 1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (ดานการศึกษา) สรุปสาระสําคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (2555-2559) แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) ก็ยังคงไวซึ่งหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนเดิม ภายใตหลัก “คนคือศูนยกลางการพัฒนา” โดยใชหลักเศรษฐกิจเปนเครื่องมือในการพัฒนาคน(มนุษย) ใหมี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นนั่นเอง ซึ่งกระบวนการเรียนการสอนวิชา ทฤษฎีการพัฒนาประเทศอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ ที่บรรยายโดย อ.ดร.วิเศษ ชินวงศ ไดฝกใหนักศึกษามีทักษะดานการคิดวิเคราะห และสังเคราะห จากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 วามีสาระสําคัญอยางไรตามประเด็นที่ไดกําหนดไวให ซึ่งสามารถนําเสนอตาม ประเด็นตางๆ ได ดังนี้ 1.1 การเปลี่ยนแปลงระดับโลกและภายในประเทศไทย การประเมินสถานการณดานตางๆ ที่ประเทศกําลังเผชิญอยูในขณะนี้ ซึ่งอาจจะเรียกวาเปนวิธีการหา SWOT Analysis ก็ไมผิด เพื่อหาแนวทางวาประเทศไทยมีจุดแข็ง-ออนอยางไรบาง จากการประเมิน สถานการณพบวา 1.1.1 การเปลี่ยนแปลงในระดับโลกพบวา จากปญหาวิกฤตดานเศรษฐกิจและการเงินสงผลใหหลายประเทศ หรือกลุมประเทศตางๆ มีการปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการดานการคา การลงทุน การเงิน สิ่งแวดลอม และดานสังคม ทั้งนี้ เพราะวาปจจัยเหลานี้มีผลสืบเนื่องถึงกันอยางเห็นไดชัด ทุกฝายจึงใหความสําคัญดานหลักธรรมาภิบาล คือ ความโปรงใส การแกปญหาโลกรอน ใหการคุมครองทรัพยสินทางปญญา และสรางความรวมมือระหวาง ประเทศ กลุมประเทศอุตสาหกรรมมีการปรับตัวเขาสูระบบเศรษฐกิจโลกแบบศูนยกลางการผลิตที่ ใหญเพื่อ สรางความเขมแข็งใหกลุมประเทศของตน และจากการคาดการณมีการมองวาในอนาคตกลุมชนชั้นกลางของ แตละประเทศจะเพิ่ม จํานวนปริมาณมากขึ้น ก็เมื่อเปนเชนนี้ก็จะมีกําลังในการซื้อขายมากขึ้น เห็น ไดจากใน ปจจุบันมีการรวมกลุมทําสัญญาเสรีการคาในหลายประเทศ ซึ่งสถานการณเชนนี้นับวาเปนผลกระทบอยางมาก สําหรับประเทศที่กําลังพัฒนา เพราะจําเปนตองมีการเรงพัฒนาทรัพยากรมนุษยและระบบการพัฒนาตางๆ ภายในประเทศอยางเรงดวน ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 นี้ ประชากรผูสูงอายุในโลกจะเพิ่มปริมาณขึ้นอีก 81.9 ลานคน สงผล ตอภาคธุรกิจคือการสรางงานตองใชทักษะ ความชํานาญ ควบคูกับเทคโนโลยี ขณะเดียวกันประเทศที่มี ผูสูงอายุมากก็จะเพิ่มรายจายเปนจํานวนมาก และที่สําคัญในสังคมจะมีความหลายหลายทาง วัฒนธรรม สภาพภูมิอากาศโลกมีความแปรปรวน ในชวง 30 ปที่ผานมา อุณหภูมิโลกเฉลี่ยสูงขึ้น 0.2 องศา เซลเซียสตอศตวรรษ จากสภาพอากาศที่มีความแปรปรวนไดกอใหเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติบอยครั้งและทวี ความรุนแรง อาทิ แผนดินไหว ดินถลม ภูเขาไฟระเบิด อุทกภัย วาตภัย ภัยแลง ไฟปา ระบบนิเวศใน หลายพื้นที่ของโลกออนแอ บางพื้นที่มีโรคระบาดมีแมลงศัตรูพืชสรางความเสียหายแกผลผลิตทางการเกษตร และธัญญาหารของโลกรวมทั้งกระทบตอภาคสังคม คือปญหาความยากจนการอพยพยายถิ่นและการแยงชิง ทรัพยากร
  • 5. “ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 3 ปจจุบันกําลังการผลิตทางการเกษตรลดลงไมเพียงพอตอความตองการ หรือไมก็มีราคาที่สูงเกินไปซึ่งสืบ เนื่องมาจากปญหาการเปลี่ยนแปลงทางภูมิ อากาศโลก เมื่อปญหาทั้งหมดทั้งมวลที่กลาวมาทวีความรุนแรง ขึ้น มนุษยก็เริ่มมองหาวิธีการที่จะมาแกไข สิ่งที่ชวยไดมากที่สุดในขณะนี้คือการพัฒนาเทคโนโลยี ในปจจุบันมีการนําเอาเทคโนโลยีเขามาใชในชีวิตประจําวันมาก ซึ่งทั้งหมดนี้ก็ยังไมสามารถตอบโจทย หรือสนองความตองการไดทั้งหมด เพราะมันยังมีทั้งคุณและโทษที่สําคัญยิ่งมีการพัฒนาระบบสารสนเทศได มากแคไหน ปญหาการจารกรรมขอมูลขาวสารก็ยอมมีมากขึ้นตามไปดวย ในหลายประเทศมีปญหาการกอ การรายในรูปแบบตางๆ และมีความสลับซับซอนเพิ่มขีดความสามารถในระดับชาติ มีการชวยเหลือจาก ประเทศตางๆ ซึ่งสงผลกระทบตอความมั่งคงของประเทศ ประเทศตางๆ ตองเรงควบคุมปจจัยที่หนุนการกอ การรายตองทั้งตองมีการสรางความรวมมือในเวทีระหวางประเทศเพื่อปกปองผล ประโยชนของชาติจากภัย เหลานี้ 1.1.2 ความเปลี่ยนแปลงภายในประเทศ การเปลี่ยนแปลงภายในประเทศมีอยู 4 หลักใหญๆ คือ การเปลี่ยนแปลงสภาวะดานเศรษฐกิจ ประเทศไทยมีอัตราการขยายตัวและเสถียรภาพทางเศรษฐกิจอยูในเกณฑดี ภาคอุตสาหกรรมมีบทบาทใน การผลิตสูง ภาคการเกษตรเปนแหลงสรางรายไดหลักของประชาชนและเปนฐานการสรางมูลคาเพิ่ม ดาน สังคมนั้น ประเทศไทยมีกาวสูสังคมผูสูงอายุเพิ่มขึ้น วัยเด็กและวัยแรงงานลดลง ดานทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม ทรัพยากรเสื่อมโทรมสงผลซ้ําเติมใหปญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รุนแรง ดานการ บริหารจัดการพัฒนาประเทศ ปจจุบันประชาชนมีความตื่นตัวทางการเมืองสูงขึ้น (อาจมาจากการสาระแส) แตปญหาความขัดแยงยังคงอยู สงผลตอระบบเศรษฐกิจและการดํารงชีพของประชาชน ภาครัฐมีประสิทธิภาพ แตก็ยังไมสามารถปองกันการทุจริตคอรรัปชั่น ซึ่งเปนปญหาสําคัญของไทยและการพัฒนาประเทศ ความเสี่ยงของสังคมไทย ดังที่ไดกลาวมาแลววา ประเทศไทยถาจะพัฒนาประเทศกาวเขาสูเวทีโลก หรือแมที่กําลังเปนกระแส อยูในขณะนี้คือประชาคมอาเซียน ซึ่งมีประเทศสมาชิกในกลุมอุษาคเณยเขารวม จําเปนอยางยิ่งที่ประเทศไทย ตองมีการประเมินสถานการณของตนเอง ซึ่งจากประเด็นดังกลาวนี้ประเทศไทยตองเผชิญ คือพรอมที่เผชิญกับ การเปลี่ยนแปลงอยางมีประสิทธิภาพ คือ 1) การบริหารภาครัฐที่ออนแอไมสามารถขับเคลื่อนการบริหารไดอยางเต็มขีดความสามารถและ อํานาจรัฐถูกใชเพื่อผลประโยชนของคนบางกลุม ประชาชนมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายสาธารณะนอย 2) โครงสรางทางเศรษฐกิจไมสามารถรองรับการเจริญเติบโตอยางยั่งยืน ตราบใดที่ระบบเศรษฐกิจ ของไทยยังคงพึ่งพากลไกเศรษฐกิจโลก หรือการนําเขาจากตางประเทศมากเทาไหร ระบบเศรษฐกิจ ภายในประเทศก็ยิ่งมีความผันผวนอยูเสมอ ประชาชนของประเทศสวนใหญยังคงอยูในระดับฐานราก 3) โครงสรางประชากรที่มีวัยสูงอายุเพิ่มขึ้น ขณะที่ประชากรวัยเด็กและวัยแรงงานลดลง ป พ.ศ. 2568 คาดการณวาประเทศไทยจะกลายเปนประเทศสังคมผูสูงอายุอยางสมบูรณ การแขงขันเพื่อแยง ชิงกําลังแรงงานจะเกิดขึ้น ในปจจุบันงานกอสรางตาม 3 จังหวัดชายแดนอีสานตอนลาง เริ่มมีกลุมแรงงานจาก ประเทศเพื่อนบานเขามาขายแรงงานกันมากขึ้น
  • 6. “ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 4 4) คานิยมที่ดีงานเสื่อมถอยและประเพณีดั้งเดิมถูกบิดเบือน เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงภายใตกระแส โลกาภิวัฒน สงผลใหสังคมไทยเปนสังคมวัตถุนิยม (คนที่พูดประเด็นนี้กลับเปนผูนํากระแสโลกาภิวัตนเสียเอง แตผูที่เขาอยูกับประเพณีนิยม ความเปนทองถิ่น กลับมองวาลาสมัย อนุรักษนิยม หัวโบราณ) 5) ฐานทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดลอมของประเทศมีแนวโนมเสื่อมโทรมรุนแรง เนื่องจาก ปจจัยความจําเปนพื้นฐานของคนในสังคม ผนวกกับปญหาภัยธรรมชาติ และความแปรปรวนของสภาพ ภูมิอากาศ แตก็ไมรายแรงเทาการสรางชุมชนในเขตบริเวณที่เปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติ คนรากฐานก็ ตองการที่ทํากิน เพื่อทําการเกษตร สวนคนชั้นกลางขึ้นไปตองการสรางระบบเศรษฐกิจการทองเที่ยว บานเชา โรงแรม ทําทุกวิถีทางเพื่อใหสามารถเขาถึงพื้นที่ใหได 6) ประเทศไทยยังคงมีความเสี่ยงดานความมั่นคง ความเสี่ยงดานนี้ถือเปนปญหาเชิงโครงสรางที่ยาก จะแกไข แตก็ไมเกินความสามารถถาทุกฝายชวยกัน เพื่อผลประโยชนของชาติอยางแทจริง ซึ่งจากปญหาความเสี่ยงที่ประเทศกําลังประสบอยูและจะประสบในอนาคตเมื่อประเทศกาวเขาสูเวที โลก ดังนั้นประเทศตองสรางภูมิคุมกันใหตนเอง ซึ่งในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 นี้ กําหนดไว 5 ประเด็นดวยกัน คือ 1) ประเทศไทยจะตองมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุข ของประเทศชาติเทานั้น ซึ่งสถาบันที่คอยเชื่อมโยงทักทอเสนใยใหคนในชาติมีความกลมเกลียวกัน 2) การพัฒนาประเทศจําเปนตองใหอยูบนฐานความรูและเทคโนโลยีที่ทันสมัย สิ่งเหลานี้จะปฏิเสธเลย ทีเดียวไมได แตทําอยางไรจึงจะสามารถปรับประสานใหสอดคลองกับวัฒนธรรมในทองถิ่นของตนใหได 3) สังคมไทยมีคานิยมและวัฒนธรรมที่ดีงาม อัตลักษณความเปนไทยดีอยูแลว แตตัวแปรที่สําคัญที่ สามารถสงผลใหคนในสังคมมีการเปลี่ยนแปลงได นั่นคือศาสนา ศาสนาที่คนไทยรูจักและคุนเคยมากที่สุด คือ พระพุทธศาสนา 4) ภาคการเกษตรเปนฐานรากไดหลักและความมั่นคงดานอาหารของประเทศ แหลงพลังงานที่ใหญ ที่สุดของประเทศไทยคือ ภาคการเกษตร เปนแหลงสรางรายไดอยางยั่งยืนใหกับคนในสังคมไดเปนอยางดี 5) ชุมชนทองถิ่นเปนกลไกที่มีความสามารถในการบริหารจัดการ มีสวนรวมในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และเชื่อมโยงกันเปนสังคมสวัสดิการ ในทองถิ่นมีทุกอยาง แตแนะนําใหทุกคนรูจักนํามาใช ใหเหมาะสม ทิศทางการพัฒนาประเทศ การพัฒนาประเทศไทยระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ตระหนักถึงสถานการณและความเสี่ยงซึ่งเกิดขึ้น จากการเปลี่ยนแปลงในระดับโลก และภายในประเทศ โดยเฉพาะดานความผันผวนทางเศรษฐกิจพลังงาน และ ภูมิอากาศภายใตหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยใหความสําคัญดานการพัฒนาระบบเศรษฐกิจภาค การเกษตร พรอมกาวสูประชาคมอาเซียนในป 2558 ที่มีความพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ดังนั้น กลาวไดวาทิศทางการพัฒนาประเทศในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 คือการสรางภูมิคุมกันในมิติ ตาง ๆ เพื่อใหการพัฒนาประเทศมีความสมดุลและยั่งยืน โดยมีการนําทุนดานตางๆ ที่ประเทศมีอยูมาใช ประโยชนอยางบูรณาการและเกื้อกูลกัน พรอมทั้งเสริมสรางใหแข็งแกรงเพื่อเปนรากฐานการพัฒนาประเทศ คือพัฒนาคนและสังคมไทยสูสังคมคุณภาพ
  • 7. “ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 5 1.2 วิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงคและเปาหมายการพัฒนาประเทศ “ คน ไทยภาคภูมิใจในความเปนไทย มีมิตรไมตรีบนวิถีชีวิตแหงความพอเพียง ยึดมั่นในวัฒนธรรม ประชาธิปไตย และหลักธรรมาภิบาล การบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานที่ทั่วถึง มีคุณภาพ สังคมมีความปลอดภัย และมั่นคง อยูในสภาวะแวดลอมที่ดี เกื้อกูลและเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน ระบบการผลิตเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม มีความมั่นคงดานอาหารและพลังงาน อยูบนฐานทางเศรษฐกิจที่พึ่งตนเองและแขงขันไดในเวทีโลก สามารถอยู ในประชาคมภูมิภาคและโลกไดอยางมีศักดิ์ศรี ” นี่คือกรอบทิศทางการพัฒนาประเทศระยะกลางที่มุงสู วิสัยทัศนระยะยาวของแผน พัฒนาฯ ฉบับที่ 11 วิสัยทัศน “สังคมอยูรวมกันอยางมีความสุข ดวยความเสมอภาคเปนธรรมและมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง” พันธกิจ 1) สรางสังคมเปนธรรมและเปนสังคมที่มีคุณภาพ ทุกคนมีความมั่งคงในชีวิต ไดรับการคุมครองทาง สังคมที่มีคุณภาพอยางทั่วถึงและเทาเทียม มีโอกาสเขาถึงทรัพยากรและกระบวนการยุติธรรมอยางเสมอภาค ทุกภาคสวนไดรับการเสริมพลังใหสามารถมีสวนรวมในกระบวนการพัฒนา ภายใตระบบบริหารจัดการภาครัฐ ที่โปรงใสเปนธรรม 2) พัฒนาคุณภาพคนไทยใหมีคุณธรรม เรียนรูตลอดชีวิต มีทักษะและการดํารงชีวิตอยางเหมาะสมใน แตละชวงวัย สถาบันทางสังคมและชุมชนทองถิ่นมีความเขมแข็ง สามารถปรับตัวรูเทาทันกับกาดร เปลี่ยนแปลง 3) พัฒนาฐานการผลิตและบริการใหเขมแข็งและมีคุณภาพบนฐานความรู ความคิดสรางสรรค และ ภูมิปญญา สรางความมั่นคงดานอาหารและพลังงาน ปรับโครงสรางการผลิตและการบริโภคใหเปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม พรอมสรางความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่งคงทางเศรษฐกิจและสังคม 4) สรางความมั่งคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชน รวมทั้งสรางภูมิคุมกันเพื่อรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติทางธรรมชาติ วัตถุประสงค 1) เพื่อเสริมสรางสังคมที่เปนธรรมและเปนสังคมสันติสุข 2) เพื่อพัฒนาคนไทยทุกกลุมวัยอยางเปนองครวมทั้งทางกาย ใจ สิตปญญา อารมณ คุณธรรม จริยธรรม และสถาบันทางสังคมมีบทบาทหลักในการพัฒนาคนใหมีคุณภาพ 3) เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจใหเติบโตอยางมีเสถียรภาพคุณภาพ และยั่งยืนมีความเชื่อมโยงเครือขาย การผลิตสินคาและบริการบนฐานปญญา นวัตกรรม และความคิดสรางสรรคในภูมิภาคอาเซียน มีความมั่นคง ทางอาหารและพลังงาน การผลิตและการบริโภคเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม นําไปสูการเปนสังคมคารบอนต่ํา 4) เพื่ออบริหารจัดการทรัพยากรธรรมและสิ่งแวดลอมใหเพียงพอตอการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ และเปนฐานที่มั่นคงของการพัฒนาประเทศ
  • 8. “ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 6 เปาหมาย 1) ความอยูเย็นเปนสุขและความสงบสุขของสังคมไทยเพิ่มขึ้น ความเหลื่อมล้ําในสังคมลดลงสัดสวน ผูอยูใตเสนความยากจนลดลง และดัชนีภาพลักษณการคอรรัปชั่นไมต่ํากวา 5.0 คะแนน 2) คนไทยมีการเรียนรูอยางตอเนื่อง มีสุขภาวะดีขึ้น มีคุณธรรม จริยธรรม และสถาบันทางสังคมมี ความเขมแข็งมากขึ้น 3) เศรษฐกิจเติบโตในอัตราที่เหมาะสมตามศักยภาพของประเทศ ใหความสําคัญกับการเพิ่มผลิต ภาพรวมไมต่ํากวารอยละ 3.0 ตอป เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันทางเศรษฐกิจของประเทศเพิ่มมูลคา ผลิตภัณฑ ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมตอผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ ใหมีไมต่ํากวารอยละ 40.0 4) คุณภาพสิ่งแวดลอมอยูในเกณฑมาตรฐาน เพิ่มประสิทธิภาพการลดการปลอยกาซเรือนกระจก รวมทั้งเพิ่มพื้นที่ปาไมเพื่อรักษาสมดุลของระบบนิเวศ 1.3 ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร การพัฒนาประเทศในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 นี้มุงสรางภูมิคุมกันเพื่อปองกันปจจัยเสี่ยง และเสริมรากฐานของประเทศดานตางๆ ใหเขมแข็งควบคูกับการพัฒนาคนและสังคมใหมีคุณภาพเขาถึง ทรัพยากรและได รับประโยชนจากแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้อยางเปนธรรม อันจะนําไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืนตอไป ซึ่งมียุทธศาสตรการพัฒนาทั้งหมด 6 ยุทธศาสตร และมีกลยุทธยอยไปอีก ดังนี้ ก. ยุทธศาสตรสรางความเปนธรรมในสังคม ซึ่งใหความสําคัญกับประเด็นเหลานี้ คือ 1) การสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมใหทุกคนในสังคมไทยควบคูกับการเสริม สรางขีด ความสามารถในการจัดการความเสี่ยงและสรางโอกาสในชีวิตใหแกตนเอง 2) การจัดบริการทางสังคมใหทุกคนตามสิทธิขั้นพื้นฐาน เนนการสรางภูมิคุมกันระดับ ปจเจก และสรางการมีสวนรวมในกระบวนการตัดสินใจในการพัฒนาประเทศ 3) การเสริมสรางพลังใหทุกภาคสวนสามารถเพิ่มทางเลือกการใชชีวิตในสังคมและมี สวนรวมใน เชิงเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองไดอยางมีคุณคาและศักดิ์ศรี 4) การสานสรางความสัมพันธของคนในสังคมใหมีคุณคารวมและตระหนักถึงผลประโยชนของ สังคม และเสริมสรางการบริหารราชการแผนดินที่มีประสิทธิภาพ ข. ยุทธศาสตรการพัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิตอยางยั่งยืน โดยใหความสําคัญกับ ประเด็นเหลานี้ คือ 1) การปรับโครงสรางและการกระจายตัวประชากรใหเหมาะสม 2) การพัฒนาคุณภาพคนไทยใหมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง 3) การสงเสริมการลดปจจัยเสี่ยงดานสุขภาพอยางเปนองครวม 4) การสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต 5) การเสริมสรางความเขมแข็งของสถาบันทางสังคม
  • 9. “ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 7 ค. ยุทธศาสตรความเขมแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของอาหารและพลังงาน โดยใหความสําคัญ กับประเด็นเหลานี้ คือ 1) การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติที่เปนฐานการผลิตภาคเกษตรใหเขมแข็งและยั่งยืน 2) การเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพการผลิตภาคเกษตร 3) การสรางมูลคาเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรตลอดหวงโซการผลิต 4) การสรางความมั่นคงในอาชีพและรายไดใหแกเกษตรกร 5) การสรางความมั่นคงดานอาหารและพัฒนาพลังงานชีวภาพในระดับครัวเรือนและชุมชน 6) การสรางความมันคงดานพลังงานชีวภาพเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศและความเขมแข็ง ภาคเกษตร 7) การปรับระบบบริหารจัดการภาครัฐเพื่อเสริมสรางความมั่นคงดานอาหารและพลังงาน ง. ยุทธศาสตรการปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูการเติบโตอยางมีคุณภาพและยั่งยืน โดยใหความสําคัญ กับประเด็นเหลานี้ คือ 1) การปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูการพัฒนาที่มีคุณภาพและยั่งยืน 2) การพัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม 3) การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันที่มีประสิทธิภาพ เทาเทียม และเปนธรรม 4) การบริหารจัดการเศรษฐกิจสวนรวมอยางมีเสถียรภาพ จ. ยุทธศาสตรการสรางความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม โดยใหความสําคัญกับประเด็นเหลานี้ คือ 1) การพัฒนาความเชื่อมโยงดานการขนสงและระบบโลจิสติกสภายใตกรอบความรวมมือใน อนุภูมิภาคตางๆ 2) การพัฒนาฐานลงทุนโดยเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันระดับอนุภูมิภาค 3) การสรางความพรอมในการเขาสูประชาคมอาเซียน 4) การเขารวมเปนภาคีความรวมมือระหวางประเทศและภูมิภาคภายใตบทบาทที่สรางสรรคเปน ทางเลือกในการดําเนินนโยบายระหวางประเทศในเวทีโลก 5) การสรางความเปนหุนสวนทางเศรษฐกิจในภูมิภาคดานการพัฒนาทรัพยากรมนุษยการ เคลื่อนยายแรงงาน และการสงเสริมแรงงานไทยในตางประเทศ 6) การมีสวนรวมอยางสําคัญในการสรางสังคมนานาชาติที่มีคุณภาพชีวิต ปองกันภัยจากการกอ การรายและอาชญากรรม ยาเสพติด ภัยพิบัติ และการแพรระบาดของโรคภัย 7) การเสริมสรางความรวมมือที่ดีระหวางประเทศในการสนับสนุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ อยางมีจริยธรรมและไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม พรอมทั้งเปดรับความรวมมือกับองคกรระหวางประเทศที่ ไมแสวงหากําไร 8) การเรงรัดการใชประโยชนจากขอตกลงการคาเสรีที่มีผลบังคับใชแลว
  • 10. “ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 8 9) การสงเสริมใหประเทศไทยเปนฐานการลงทุน และการประกอบธุรกิจในเอเชีย รวมทั้งเปนฐาน ความรวมมือในการพัฒนาภูมิภาค 10) การปรับปรุงและเสริมสรางความเขมแข็งของภาคีการพัฒนาภายในประเทศตั้งแตระดับชุมชน ทองถิ่น ฉ. ยุทธศาสตรการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน โดยใหความสําคัญ กับประเด็นเหลานี้ คือโดยใหความสําคัญกับประเด็นเหลานี้ คือ 1) การอนุรักษ ฟนฟู และสรางความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 2) การปรับกระบวนทัศนการพัฒนาและขับเคลื่อนประเทศเพื่อเตรียมพรอมไปสูการเปนเศรษฐกิจ และสังคมคารบอนต่ําและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม 3) การยกระดับขีดความสามารถในการรองรับและปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพื่อใหสังคมมีภูมิคุมกัน 4) การเตรียมความพรอมรองรับการภัยพิบัติทางธรรมชาติ 5) การสรางภูมิคุมกันดานการคาจากเงื่อนไขดานสิ่งแวดลอมและวิกฤตจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ 6) การเพิ่มบทบาทประเทศไทยในเวทีประชาคมโลกที่เกี่ยวของกับกรอบความตกลงและพันธกรณี ดานสิ่งแวดลอมระหวางประเทศ 7) การควบคุมและลดมลพิษ 8) การพัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหมีประสิทธิภาพ โปรงใสและเปนธรรมอยางบูรณาการ 2. นโยบายดานการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ 2.1 แนวนโยบายดานการศึกษาของรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ (นโยบายทั่วไป) 2.1.1. การจัดทําแผนงาน /โครงการริเริ่มใหม 1) ตองเขาใจจุดมุงหมายและวัตถุประสงค ของงานที่ปฏิบัติใหชัดเจน 2) ตองมองภาพงานในอนาคตไดอยางชัดเจนสามารถ กําหนดรายละเอียดของงานหลักงานรอง และงานที่ตองดําเนินการกอน /หลัง เพื่อใหบรรลุผลสําเร็จ 3) ตองมีฐานขอมูลที่ดีถูกตอง ครบถวน ชัดเจนตั้งแตหนวยงานยอยขึ้นมาจนถึงหนวยงานหลัก และทันตอสถานการณ เชน จะผลิตนักศึกษาอาชีวศึกษาตองรูความตองการจางงานของตลาดแรงงานในแตละ สาขาวิชา 4) มีการวิเคราะหปญหาและทบทวนการดําเนินงานที่ผานมาใหชัดเจน ซึ่งผลการวิเคราะห จะ ชวยใหการแกไขปญหามีความแมนย้ํามากขึ้น
  • 11. “ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 9 2.1.2. การปรับปรุงแผนงาน /โครงการเดิมที่ไมสัมฤทธิ์ผล ใหคนหาสาเหตุปญหาการดําเนินงานที่ผานมาแลววิเคราะหหาทางเลือกในการแกไขปญหาที่ หลากหลาย เชน ปญหาเรื่องอายุของผูเรียน ปญหาอยูที่ครู ปญหาอยูที่พอแม ปญหาอยูที่สภาวะแวดลอม ตางๆ ซึ่งบางครั้งไมสามารถแกไขไดดวยวิธีหนึ่งวิธีเดียว 2.1.3 แผนงาน /โครงการตามพระราชดําริ 1) ใหมีการดําเนินโครงการตามพระราชดําริในสวนที่กระทรวงศึกษาธิการรับผิดชอบโดยตรง หรือมีสวนเกี่ยวของ 2) โครงการพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ สมเด็จพระนางเจา พระบรมราชินีนาถฯ หรือพระบรมวงศานุวงศพระองคใดที่กระทรวงศึกษาธิการดําเนินการ หรือใหการ สนับสนุนตองสามารถอธิบายที่มาเหตุผล และความสําคัญของโครงการใหนักเรียนนักศึกษารูและเขาใจ หลักการแนวคิด ของโครงการไดชัดเจนรวมทั้งถายทอดใหเกิดการเรียนรูไดอยางดี 3) สงเสริมใหมีการดําเนินงานโครงการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสวนที่ เกี่ยวของโดยการเรียนรู ทําความเขาใจและยึดเปนแนวปฏิบัติในการดําเนินชีวิต พรอมทั้งสามารถเผยแพร ขยายผลตอไปได 4) สงเสริมใหมีการดําเนินงานโครงการ /กิจกรรม เพื่อเสริมสรางอุดมการณรักชาติและสถาบัน หลักของชาติ 2.1.4 งบประมาณ ก. งบลงทุน 1) ใหเตรียมการดําเนินโครงการใหพรอมในไตรมาสแรกของปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ 2) การใชงบประมาณเมื่อไดรับแลวตองเรงดําเนินการตามแผนที่กําหนดเพื่อใหเกิดการกระจาย งบประมาณในพื้นที่ ข. งบกลาง 1) ใหเสนอขอใชงบกลางอยางมีเหตุผลและใชเทาที่จําเปน 2) ใหเกลี่ยงบประมาณปกติของสวนราชการมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด ค. การใชงบประมาณในการดําเนินงานตองเปนไปดวยความโปรงใสและตรวจสอบได ซึ่งรัฐบาลจะ แตงตั้งคณะกรรมการติดตาม และตรวจสอบการใชงบประมาณภาครัฐ (คตร.) ทุกระทรวงและมีการแตงตั้ง คณะกรรมการ (คตร.) เฉพาะกระทรวงศึกษาธิการเพื่อตรวจสอบการใชจายงบประมาณภาครัฐของ กระทรวงศึกษาธิการ และชวยการปฏิบัติงานของผูบริหารกระทรวงศึกษาธิการเพื่อความโปรงใสและถูกตอง ง. งานบางโครงการที่ตองมีการบูรณาการตามแผนงบประมาณบูรณาการนั้น ใหมีการบูรณา การงบประมาณหนวยงานยอยรวมกันภายในกระทรวงใหเรียบรอยกอน การบูรณาการกับหนวยงานภายนอก เพื่อใหการใชงบประมาณคุมคาและเกิดประโยชนสูงสุด 2.1.5 เนนการสื่อสารภายในและภายนอกองคกร ก. จัดใหมีชองทางการสื่อสารอยางเปนระบบ นําเทคโนโลยีการสื่อสารเขามาชวยปฏิบัติงาน อาทิ การประชุมทางไกล โปรแกรมไลน เปนตน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ 1) สรางความเขาใจภายในองคกรใหมากขึ้น 2) ใหผูบริหารมีชองทางติดตอสื่อสารไดตลอดเวลา สามารถถายทอดคําสั่งไปยังหนวยรอง และหนวยปฏิบัติไดทันที รวดเร็ว และทั่วถึง
  • 12. “ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 10 3) ใหมีการรายงานที่รวดเร็วทันเหตุการณ และทดสอบระบบที่มีอยูเสมอ ข. ทุกหนวยงานตองจัดใหมีแผนการประชาสัมพันธ อาทิ 1) เสมาสนเทศ เปนการสื่อสารประชาสัมพันธภายในองคกร คือ การสรางความเขาใจ ภายใน องคกร หนวยงาน 2) ประชาสนเทศ เปนการประชาสัมพันธ ผานสื่อภายนอกองคกร คือ การสรางความเขาใจ กับประชาชน 2.1.6 อํานวยการเมื่อมีเหตุการณฉุกเฉิน กรณีเกิดอุบัติเหตุภัยพิบัติ หรือเหตุการณที่สงผลกระทบตอสถานศึกษา ผูบริหาร ครู นักเรียน นักศึกษา ทั้งที่เกิดในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา อาทิ การกลาวหาพฤติกรรมผู บริหาร การประทวง ตอตานผู บริหาร นักเรียนเจ็บปวยผิดปกติ โรงเรียนถูกขูวางระเบิด โรงเรียนเกิดวาตภัย ฯลฯ ใหทุกหนวยงาน ที่เกี่ยวของกําหนดมาตรการ วิธีการ ขั้นตอนปฏิบัติที่ชัดเจน ในการปองกันแกไขปญหา ตลอดจนสรางความรู ความเขาใจที่ถูกตองแกผู เกี่ยวของ ใหทบทวน ปรับปรุงหรือทําการซักซอมความเขาใจอยูเสมอ ซึ่งเบื้องตน ตองมีรายละเอียด ดังนี้ 1) มีการจัดระบบและกําหนดผูปฏิบัติที่ชัดเจน 2) มีวิธีการขั้นตอนการแกไขปญหาเฉพาะหนาระยะสั้น และระยะยาว 3) สํารวจระบบที่มีอยูใหมีความพรอมปฏิบัติงานอยูเสมอ 4) ใหมีระบบการรายงานเหตุดวนตามลําดับชั้นอยางรวดเร็ว 2.1.7 การรวมมือกับภาคเอกชนและภาคประชาสังคม ประสานความรวมมือกับทุกภาคสวน ใหเขามามีสวนรวมดําเนินการจัดการศึกษาใหครบวงจร เชน รวมกําหนดหลักสูตรการเรียนการสอนใหนักเรียนนักศึกษาเขาทํางานระหวางกําลังศึกษา และการรับเขา ทํางานเมื่อสําเร็จการศึกษา 2.1.8 ใหความสําคัญกับการบริหารงานสวนภูมิภาคและเขตพื้นที่ตาง ๆ ของแตละสวนราชการ 1) ใหมีการทบทวนบทบาทหนาที่ การปฏิบัติงานของหนวยงานระดับพื้นที่ใหครบถวน 2) กําหนดบทบาทภารกิจในสิ่งที่ตองรูและสิ่งที่ยังไมรู ใหมีการแบงภารกิจงานใหชัดเจน 3) กําหนดความตองการและสิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ ใหพอเพียง 2.1.9 โครงการจัดอบรม สัมมนา ตองบรรลุตามวัตถุประสงค 1) การจัดโครงการประชุมสัมมนา ตองดําเนินการใหบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายที่กําหนด อยางมีประสิทธิผล เปนไปตามนโยบายและเกิดประโยชนแกประชาชน 2) การคัดเลือกกลุมเปาหมายวิทยากร หรือสงบุคลากรเขารวมประชุมสัมมนากับหนวยงานใน ทุกระดับตองเปนผูที่มีความรูเหมาะสม เพื่อใหไดผลการดําเนินงานที่มีคุณภาพ 2.1.10 ยกระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษในทุกหลักสูตร ใหเรงยกระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษในกลุมเปาหมายหลักนักเรียนนักศึกษาใหมีความรูและ สามารถใชในการสื่อสารเพื่อการเขาสูประชาคมอาเซียน รวมถึงครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษา
  • 13. “ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 11 2.1.11 ใหมีการนํา ICT มาใชในการบริหารงานในกระทรวงศึกษาธิการอยางทั่วถึงและมี ประสิทธิภาพ 1) ใหมีการดําเนินงานของศูนยศึกษาทางไกล (Distance Learning Thailand) โดยบูรณาการ เขากับสถานีวิทยุ เพื่อการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ (ETV) และเครือขายของสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาใชเปนชองทางในการสื่อสารเพื่อการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ 2) จัดใหมี CEO ดาน ICT เพื่อขับเคลื่อนงานการจัดการศึกษา การใชสื่อเพื่อสรางความเขาใจ ความสนใจ และการประชาสัมพันธดาน “เสมาสนเทศ” และ “ประชาสนเทศ” 2.1.12 ใหความสําคัญกับเทคนิคการสอน และการสื่อความหมาย สงเสริมใหครูผูสอนพัฒนาหรือตอยอดนวัตกรรมการเรียนการสอน การใชสื่อเทคโนโลยีตางๆ จัดการเรียนการสอน การสรางความรูความเขาใจที่ดีทําใหเด็กเกิดความสนใจเรียนรูและมีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนสูงขึ้น 2.1.13 การดูแลรักษาสภาพแวดลอม 1) ใหมีการประดับธงชาติในสถานที่ราชการ และสถานศึกษาใหเรียบรอยเหมาะสม 2) ดูแลความสวยงามและความสะอาดบริเวณพื้นที่ที่รับผิดชอบของหนวยงาน และ สถานศึกษาทุกระดับ 3) การักษาความปลอดภัยของหนวยงาน และสถานศึกษาตองจัดใหมีแผนรักษาความ ปลอดภัยใหชัดเจน อาทิ แผนเผชิญเหตุอัคคีภัยอุทกภัยจัดลําดับความสําคัญและสภาพปญหาภัยคุกคามของ แตละพื้นที่ และมีการซักซอมแผนอยางสม่ําเสมอ 2.1.14 ใหลดภาระงานที่ไมเกี่ยวกับการเรียนการสอนของครู และนักเรียน 1) ใหนอมนํากระแสพระราชดํารัส มาเปนกรอบแนวทางในการปฏิบัติงานการสอนของครู 2) ใหลดเวลาเรียนตอวันในชวงเวลาบาย เพื่อใหเด็กไดใชเวลานอกหองเรียนเพื่อการเรียนรู และเขารวมกิจกรรมที่โรงเรียนจัดขึ้นตามความถนัดและความสนใจ เพื่อใหเกิดการผอนคลายและมีความสุข 3) ใหสถานศึกษาลดภาระงานที่ไมเกี่ยวกับการเรียนการสอน การนํานักเรียน และครูออก นอกหองเรียนไปรวมกิจกรรมที่ไมเกี่ยวกับการศึกษา อาทิ การยืนเขาแถวตอนรับผูใหญ เปนตน ควรสงเสริมให เด็กไดรวมกิจกรรมเพื่อเสริมสรางประสบการณเรียนรู สรางทักษะ ความสามารถ 2.1.15 การประเมินเพื่อมีหรือเลื่อนวิทยฐานะใหสอดคลองกับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ใหจัดระบบการประเมินผลงานความกาวหนา และการปรับเพิ่มวิทยฐานะและภาระงานของ ครูผูสอนใหสามารถวัดผลไดจริงสอดคลองกับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียนทั้งดานความรูคุณลักษณะที่พึงประสงค และทักษะชีวิต 2.1.16 การแกไขปญหาการจัดการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต ใหเรงรัดการดําเนินโครงการขับเคลื่อนตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดชายแดนใต และ สนับสนุนการดําเนินโครงการในสวนที่เกี่ยวของใหบังเกิดผลโดยเร็ว อาทิ โครงการสานฝนการกีฬาสูจังหวัด ชายแดนภาคใต เปนตน 2.1.17 ครูควรมีขอมูลนักเรียนและผูปกครอง
  • 14. “ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 12 ใหจัดระบบการทําระเบียนขอมูลประวัติผูเรียนและผูปกครองใหเปนปจจุบัน เพื่อเปนระบบ ดูแลนักเรียนและชวยแกไขปญหาที่ตัวผูเรียนและครอบครัวเปนรายบุคคลได เชน ครอบครัวที่ประสบเหตุภัย แลง อุทกภัยตาง ๆ และรวบรวมเปนขอมูลในภาพรวมของหนวยงานระดับพื้นที่ในการใหความชวยเหลือ บรรเทาปญหาในรูปแบบที่เหมาะสมตอไป 2.2. นโยบายสงเสริมและสนับสนุนการศึกษา 2.2.1 นโยบายดานการปราบปรามการทุจริต 1) หามมิใหมีการซื้อขายตําแหนง หรือเรียกรับเงินเพื่อการสอบบรรจุ การรับโอน การโยกยาย หรือผลตอบแทนอันใด ที่ไมเปนไปตามกฎหมายและระเบียบปฏิบัติราชการ 2) หยุดการทุจริตภายในองคกรโดยเด็ดขาด หากพบขอมูล 1)) ดําเนินการสอบสวนหาผูกระทําผิดและดําเนินคดีตามกฎหมายอยางจริงจัง 2)) ทําการตรวจสอบชองวางที่ทําใหเกิดการทุจริตตามที่ตรวจพบนั้นๆ และทําการแกไข 3)) ปรับปรุงระบบ ระเบียบ รวมถึงมาตรการตางๆ ควบคุมเพื่อไมใหเกิดการทุจริตขึ้นอีก 3) ดําเนินการสุมตรวจสอบ หากพบมีการทุจริตในหนวยงานใด ผูบังคับบัญชาหนวยงาน ตามลําดับชั้นตองมีสวนรวมรับผิดชอบดวยฐานปลอยปละละเลยใหเกิดการกระทําผิดดังกลาว 2.2.2 นโยบายดานสวัสดิการ 1) การสอบบรรจุแตงตั้งโยกยายใหเปนไปดวยความโปรงใสและเปนธรรม 2) ใหสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ดําเนินการตามอํานาจหนาที่ในการดูแลสวัสดิการและสวัสดิภาพครู ใหครอบคลุมทุกดาน ไมเฉพาะกรณีเสียชีวิตเทานั้น เพื่อชวยใหครูไดมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 3) เรื่องหนี้สินของครูสงเสริมใหครูมีจิตสํานึกรูจักการดําเนินชีวิตโดยยึดหลักปรัชญา ของ เศรษฐกิจพอเพียง รูจักใชรูจักเก็บสรางเกียรติภูมิในตนเอง เพื่อไมใหสงผลกระทบตอการเรียนการสอน 2.2.3 นโยบายดานการจัดการขยะ 1) ใหสถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ขยายผล โครงการโรงเรียนขยะใหเพิ่มมากขึ้น 2) ใหสถานศึกษา/สถาบันการศึกษาทุกสังกัด ขับเคลื่อนนโยบายการจัดการขยะ โดยการปลูก จิตสํานึกแกผูเรียนทุกระดับ ใหลดการทิ้งขยะ รูจักการคัดแยกประเภทขยะ และการกําจัดขยะที่ถูกตอง 2.2.4 นโยบายดานการดูแลรักษาสิ่งปลูกสราง ครุภัณฑ ใหมีการจัดระบบการดูแลรักษาสิ่งปลูกสรางและครุภัณฑใหมีประสิทธิภาพ ดังนี้ 1) ระบบการจัดหาและแจกจายครุภัณฑ - ใหใชหลักตรรกะในการดําเนินการตามเหตุผลและความจําเปนของหนวยงาน 2) ระบบการซอมบํารุง - ใหจัดตั้งหนวยเฉพาะกิจสรางระบบการดูแลซอมบํารุง ตรวจสอบวงรอบการใชงาน กําหนดผูรับผิดชอบใหชัดเจน มีการเชื่อมโยงและรวมมือกับหนวยงานที่มีทักษะในการซอมบํารุง 3) ระบบดูแลอาคารสถานที่ - ใหจัดระบบการดูแลรักษาความสะอาด ความเปนระเบียบเรียบรอย ตรวจสภาพไมให ทรุดโทรมอยางตอเนื่อง
  • 15. “ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 13 2.2.5 การขับเคลื่อนและกํากับงานตามนโยบาย 2.2.6 แนวทางดําเนินการของรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ Hit The Point : งานทุกเรื่องตองตีโจทยปญหาใหชัดเจน และทําใหตรงประเด็น Dynamic : มีการขับเคลื่อนการดําเนินงานไปดวยกันทั้งระบบอยางตอเนื่อง ทั้งภายใน องคกรและองคกรภายนอก Lively : ทํางานดวยชีวิตจิตใจที่ดี เขาใจเนื้องานตรงกันเห็นประโยชนรวมกันไม ขัดแยงกัน และทํางานรวมกันอยางมีความสุข 3. นโยบายดานการอาชีวศึกษา (สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา) 3.1 การเปลี่ยนคานิยมอาชีวะของผูปกครองและนักเรียนใหหันมาเขาสูระบบอาชีวะมากยิ่งขึ้น - ทวิศึกษา เปนการจัดการศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา รวมกับสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) และสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย จบแลวไดวุฒิการศึกษา 2 ใบ สามารถออกไปประกอบอาชีพได - ความรวมมือกับสถานประกอบการ เปนการจัดการศึกษาระหวางสถานประกอบการและ สถานศึกษา โดยมุงเนนใหนักศึกษาไดฝกปฏิบัติจริงและเมื่อจบการศึกษาแลว สามารถประกอบอาชีพไดทันที - การลดเรื่องการทะเลาะวิวาท เพื่อสรางความปลอดภัย - ใหความสนใจกับนักศึกษาทุกคนอยางทั่วถึง - ใหโอกาสนักศึกษาเขาฝกงานในสถานประกอบการ เพื่อเปนการสรางนิสัยในการรักการประกอบ อาชีพ การตรงตอเวลา ความอดทน ความมั่นใจตนเอง และมองถึงอนาคตขางหนา
  • 16. “ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 14 3.2 การทําใหวิทยาลัยอาชีวะมีความเปนเลิศเฉพาะดาน - ใหมีการจัดการศึกษาทางดานเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร - การจัดการศึกษาดานปโตรเคมี - การทองเที่ยว โรงแรม อาหาร มัคคุเทศก - การจัดหลักสูตรเพื่อรองรับการพัฒนาประเทศดานสาธารณูปโภค และอื่นๆ เชน การเปดสอน หลักสูตรเกี่ยวกับระบบราง หลักสูตรการซอมแซมยุทโธปกรณ และหลักสูตรเกี่ยวกับการบิน 3.3 จัดการศึกษาอาชีวะมาตรฐานสากล - การจัดการอาชีวศึกษาอาเซียน รวมมือกับกลุมประเทศอาเซียน รวมทั้งจีน ญี่ปุน เกาหลี และยุโรป บางประเทศ ไดแก อังกฤษ เดนมารก เยอรมัน 4. ทักษะของเด็กในศตวรรษที่ 21 (3R + 8C) 4.1 3R ไดแก 1) Reading (อานออก) 2) Writing (เขียนได) 3) Arithmetics (คิดเลขเปน) 4.2 8C ไดแก 1) Critical thinking and problem solving (ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณ และ ทักษะในการแกปญหา) 2) Creativity & innovation (ทักษะดานการสรางสรรค และนวัตกรรม) 3) Cross-cultural understanding (ทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรม ตางกระบวนทัศน) 4) Collaboration, teamwork & leadership (ทักษะดานความรวมมือ การทํางานเปนทีม และภาวะผูนํา) 5) Communications, information & media literacy (ทักษะดานการสื่อสาร สารสนเทศ และรูเทาทันสื่อ) 6) Computing & ICT literacy (ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ และ การสื่อสาร) 7) Career & learning skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู) 8) Compassion (ความมีเมตตากรุณา) (วินัย, คุณธรรม, จริยธรรม ฯลฯ) 4.3 พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี (ในคราวประชุมนายกรัฐมนตรีพบเพื่อนครู) 1) อยากรูอยากเห็น 2) มีเหตุผล 3) คิดสรางสรรค
  • 17. “ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 15 4) คิดวิเคราะห 5) อยากลองสิ่งใหม 6) ทักษะการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 7) รูจักปรับตัว 8) ทักษะการสื่อสาร 9) เรียนรูดวยตนเอง 10) มีความสามารถในการพัฒนา 5. ขอมูลวิทยาลัยการอาชีพรอยเอ็ด 5.1 ประวัติความเปนมาของวิทยาลัยการอาชีพรอยเอ็ด ชื่อสถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพรอยเอ็ด ชื่อภาษาอังกฤษ Roi – Et Industrial and Community Education College วิทยาลัยการอาชีพรอยเอ็ด สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดรอยเอ็ด สํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา ตั้งอยูเลขที่ 177 ถนนรณชัยชาญยุทธ ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดรอยเอ็ด 45000 โทรศัพท 043-511602 โทรสาร 043-513862 เว็บไซต www.roiet-icec.ac.th อีเมล icec101@hotmail.com เนื้อที่ 25 ไร เดิมชื่อ “ศูนยฝกวิชาชีพ” ไดจัดตั้งขึ้นตามโครงการจัดตั้งศูนยฝกวิชาชีพ โดยเงินกูของ ธนาคารโลก จัดตั้งเปนศูนยขนาดเล็กในเขตการศึกษา 10 ประกาศจัดตั้งเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2522 เริ่มกอสรางเมื่อวันที่ 3 กันยายน 2523 ไดเปดทําการสอนเมื่อเดือน พฤศจิกายน 2524 โดยเปดสอนใน หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายสายวิชาชีพ “เรียกวาหลักสูตรวิชาชีพ (วช.)” บริการใหกับนักเรียนใน โรงเรียนมัธยมศึกษาของกรมสามัญศึกษา ซึ่งเรียกวาโรงเรียนตนสังกัดในเขตจังหวัดรอยเอ็ดและจังหวัด ใกลเคียง ทั้งภาครัฐบาลและเอกชน นอกจากนั้นยังไดเปดสอนในหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นใหกับประชาชน ทั่วไปทั้งภาคในเวลาราชการและภาคนอกเวลาราชการในสาขาวิชาตางๆ ตามความตองการของทองถิ่น เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2534 ไดเปลี่ยนชื่อเปน วิทยาลัยการอาชีพรอยเอ็ด ไดเปดสอน หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในสาขาวิชาที่ขาดแคลน ปการศึกษา 2539 เปดสอนหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ตั้งแตนั้นเปนตนมา และในปการศึกษา 2556 ไดเปดสอนระดับ ปริญญาตรีสาขาเทคโนโลยีแมพิมพ 5.2 ปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค คานิยม อัตลักษณและเอกลักษณ ปรัชญา (Philosophy) วิชาการดี ฝมือเลิศ ประเสริฐน้ําใจ วินัยเครงครัด มัธยัสถและซื่อตรง วิสัยทัศน (Vision)
  • 18. “ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 16 มุงจัดการศึกษาดานวิชาชีพตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา ดวยนวัตกรรมและเทคโนโลยี ตรงตามความตองการของตลาดแรงงาน สูมาตรฐานสากล พันธกิจ (Mission) 1) ผลิตและพัฒนากําลังคนดานวิชาชีพ 2) ใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจัดการศึกษาวิชาชีพ 3) สรางเครือขายความรวมมือกับสถานประกอบการและชุมชน 4) ยกระดับคุณภาพการศึกษาวิชาชีพสูมาตรฐานสากล เปาประสงค (Goal) 1) ผูเรียนไดเรียนสาขาวิชาชีพตามความตองการ 2) มีนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาที่ทันสมัยและเพียงพอ 3) ผูสําเร็จการศึกษาวิชาชีพตรงตามความตองการของตลาดแรงงาน 4) ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผูสําเร็จการศึกษาคือผูทรงคุณคา คานิยม (Value) ตรงเวลา ตรงหนาที่ มีวินัย อัตลักษณ (Identity) บริการดวยความรู คูคุณธรรม (Knowledge and Morality Service) หมายถึง วิทยาลัยการอาชีพรอยเอ็ด มุงพัฒนานักเรียนนักศึกษา ใหมีอัตลักษณในการบริการวิชาชีพดวยความรู เทคโนโลยี คุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ เอกลักษณ (Uniqueness) สรางอาชีพ (Career Empowerment) หมายถึง การเสริมสรางความรูความชํานาญใน การปฏิบัติงานและสงเสริมใหผูเรียนมีจิตบริการ ดวยคุณลักษณะอันพึงประสงค 5.3 จุดเนนในการพัฒนาสถานศึกษาและความโดนเดนของสถานศึกษา จุดแข็ง (Strengths) /สภาพแวดลอมภายใน 1) บุคลากรมีจํานวนเพียงพอตอการปฏิบัติหนาที่ 2) อาคารสถานที่/พื้นที่มีจํานวนเพียงพอ 3) สถานที่ตั้งอยูใกลชุมชนและการคมนาคมสะดวก 4) ผานการประกันคุณภาพภายในและภายนอก 5) วิทยาลัยมีชื่อเสียงที่เปนที่รูจักของชุมชนและผูปกครองเปนอยางมาก 6) มีการติดตามนักเรียนออกกลางคัน จุดออน (Weakness) สภาพแวดลอมภายใน
  • 19. “ อาชีวะ ฝมือชนคนสรางชาติ ” “ ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ ผูทรงคุณคาของสังคม ” หนา 17 1) การปฏิบัติหนาที่ขาดการประสานและความสอดคลองกัน 2) วัสดุครุภัณฑไมเพียงพอ 3) บุคลากรขาดความรูความเชี่ยวชาญในงานเฉพาะทาง 4) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนต่ํา 5) การติดตาม นิเทศไมเพียงพอ 6) สภาพแวดลอมและภูมิทัศนขาดการปรับปรุงและพัฒนาอยางตอเนื่อง โอกาส (Opportunity) สภาพแวดลอมภายนอก 1) ชุมชนทองถิ่นใหการยอมรับและพรอมใหความชวยเหลือ 2) มีกองทุนกูยืมเพื่อการศึกษา ปญหา/อุปสรรค (threats) สภาพแวดลอมภายนอก 1) ภายในตัวจังหวัดมีสถานศึกษาจํานวนมาก ทําใหเกิดการแขงขันในการจัดการศึกษา สูงตามไปดวย 2) ไดรับงบประมาณสนับสนุนนอย ไมเพียงพอตอการบริหารจัดการอยางมีประสิทธิภาพ และคุณภาพ 3) คานิยมของผูปกครองและนักศึกษา ชอบเรียนสายสามัญมากกวาสายอาชีพ 4) คานิยมของผูปกครองและนักเรียนเลือกเรียนวิทยาลัยเทคนิคและอาชีวศึกษากอนจนเต็ม และคอยมาเขาเรียนที่วิทยาลัยการอาชีพรอยเอ็ด 5.4 ผลการประเมินภายในสถานศึกษาโดยตนสังกัดป (พ.ศ. 2555 - 2557) จุดเดนของสถานศึกษา 1) นักเรียนนักศึกษาสําเร็จการศึกษามีงานทํา 2) มีกิจกรรมพัฒนาผูเรียนที่หลากหลาย สอดคลองและครอบคลุมกิจกรรมทุกประเภท 3) วิทยาลัยจัดกิจกรรม/โครงการบริการสูสังคมที่เปนประโยชนตอชุมชนและนักเรียน นักศึกษา บุคลากรทั้งในและภายนอกใหความรวมมือเปนอยางดี 4) คณะผูบริหารมีวิสัยทัศน ภาวะผูนําและไดมอบหมายหนาที่แกคณะบุคลากรอยางเดนชัด 5) การจัดระบบการประกันคุณภาพภายในอยางเปนระบบและมีแผนปฏิบัติงานอยางเดนชัด 6) คณะครูและบุคลากรทุกคนมีความตระหนักในการปฏิบัติงานจนเกิดผลสัมฤทธิ์ตาม วัตถุประสงคที่ตั้งไว จุดที่ควรพัฒนาของสถานศึกษา 1) นักเรียนนักศึกษาออกกลางคันมาก คุณธรรมจริยธรรม การประยุกตหลักการทาง คณิตศาสตร วิทยาศาสตรควรมีการพัฒนาระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน นักศึกษาอยางตอเนื่อง 2) ควรปรับปรุงศูนยวิทยบริการใหมีความหลากหลาย 3) ควรพัฒนาระบบดูแลผูเรียนในบทบาทครูที่ปรึกษาใหใกลชิดมากขึ้น