SlideShare a Scribd company logo
1 of 112
Download to read offline
จังหวัดศรีสะเกษ         ประชากร                 ศรีสะเกษ แดนปราสาทขอม หอมกระเทีย มดี 
                                                     มีส วนสมเด็จ เขตดงลําดวน หลากลวน
  ประวัติ                 เศรษฐกิจ                          วัฒ นธรรม เลิศล้ําสามัค คี 
สัญ ลักษณประจําจังหวัด การคมนาคม                 จังหวัด ศรีสะเกษ เปน จังหวัด หนึ่งใน 76 จังหวัด ของ
                                              ประเทศไทย ตั้งอยูในภาคตะวัน ออกเฉีย งเหนือ มีเนื้อที่
  อาณาเขตติดตอ           การศึกษา            ประมาณ8,840 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรประมาณ 
  สถานที่ทองเที่ยว       แหลงประวัตศาสตร
                                      ิ       1.44 ลานคน มากเปน อัน ดับ ที ่ 9 ของประเทศ ประชากร
                                              สวนใหญพ ูดภาษาถิ่น อีส าน ภาษาเขมร (เขมรสูง) และ
  การปกครอง               กีฬา                ภาษากวย (กูย, โกย, สวย) ตั้งศาลากลางจังหวัด ที่ตําบล
  ภูมิประเทศ            หางสรรพสินคา        เมืองเหนือ อําเภอเมืองศรีส เกษ จังหวัด ศรีสะเกษ 
  ภูมิอากาศ               ทรัพ ยากร
            ชาวศรีสะเกษที่มีชื่อเสียง
                                              ตราประจําจังหวัด ตราผาผูกคอลูกเสือ
จังหวัดศรีสะเกษ
ศรีสะเกษ แดนปราสาทขอม หอมกระเทียมดี มีสวนสมเด็จ 
    เขตดงลําดวน หลากลวนวัฒนธรรม เลิศล้ําสามัคคี



              ต รา ประจํ า จั ง หวัด



                ต รา ผ า ผู ก ค อลู ก เสือ
ขอมูลทั่วไป
ชื่ออักษรไทย ศรีสะเกษ
ชื่ออักษรโรมัน Si Sa Ket
ผูวาราชการ นายกองเอกวิลาศ รุจิวัฒนพงษ (ตั้งแต พ.ศ. 2553 )ISO 
3166-2 TH-33
สีประจํากลุมจังหวัด สีสม ███
ตนไมประจําจังหวัด ลําดวน
ดอกไมประจําจังหวัด   ลําดวน
ขอมูลสถิติ
พื้นที ่  8,839.976 ตร.กม.[1] (อันดับที ่ 21)
ประชากร 1,446,345 คน[2] (พ.ศ. 2552) (อันดับที ่ 9)
ความหนาแนน 163.61 คน/ตร.กม. (อันดับที ่ 19)
 ศูนยราชการ
ที่ตั้ง
ศาลากลางจังหวัดศรีสะเกษ ถนนเทพา ตําบลเมืองเหนือ  อําเภอเมือง
ศรีสะเกษ
จังหวัดศรีสะเกษ 33000
โทรศัพท (+66) 0 4561 1139
เว็บไซต จังหวัดศรีสะเกษ                                   แผนที่
จังหวัดศรีสะเกษ เปนจังหวัดหนึ่งใน 76 จังหวัดของประเทศ
ไทย ตั้งอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ประมาณ 8,840 
ตารางกิโลเมตร และมีประชากรประมาณ 1.44 ลานคน มาก
เปนอันดับที ่ 9 ของประเทศ ประชากรสวนใหญพูดภาษาถิ่น
อีสาน ภาษาเขมร (เขมรสูง) และภาษากวย(กูย, โกย, สวย) ตั้ง
ศาลากลางจังหวัดที่ตําบลเมืองเหนือ  อําเภอเมืองศรีสะเกษ 
จังหวัดศรีสะเกษ
พัฒนาการทางประวัติศาสตร

   จังหวัดศรีสะเกษ เริ่มขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย เมื่อ พ.ศ. 2302
สมเด็จพระเจาเอกทัศนโปรดใหยกบานปราสาทสี่เหลี่ยมดงลําดวนขึ้นเปน
เมืองนครลําดวน ตอมาเมืองนครลําดวนเกิดภาวะขาดแคลนน้ําจึงโปรดเกลา
ฯ ใหเทครัวไปจัดตั้งเมืองใหมที่ริมหนองแตระหางจากเมืองเดิม  ไปทางใต 
เมืองใหมเรียก "เมืองขุขันธ" หรือ "เมืองคูขัณฑ" ซึ่งไดแกอําเภอขุขันธใน
ปจจุบัน ตอมาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกโปรดเกลาฯ ใหแยก
บานโนนสามขาสระกําแพงจากเมืองขุขันธ แลวตั้งเปนเมืองใหมเรียก เมือง
ศรีสะเกศ
ประวัติเมืองศรีสะเกษ
               กอนสมัยกรุงศรีอยุธยา
  ประมาณป พ.ศ.1100 พวกละวาที่เคยมีอํานาจปกครอง 
อาณาจักรฟูนันเสื่อมอํานาจลง ขอมเขามามีอํานาจแทนและตั้ง
อาณาจักรเจนละหรืออิศานปุระขึ้น พวกละวาถอยรนไปทาง
เหนือ ปลอยใหพื้นที่ภาคอีสานรกรางวางเปลาเปนจํานวนมาก
เขตพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษและจังหวัดใกลเคียงจึงถูกทิ้งใหเปน
 ที่รกรางและเปนปาดง ขอมไดแบงการปกครองเปน 3 ภาค
โดยมีศูนยการปกครองอยูที่ละโว(ลพบุร) พิมาย(นครราชสีมา)
                                      ี
 และสกลนคร มีฐานะเปนเมืองประเทศราช ขึ้นตรงตอศูนย
              กลางการปกครองใหญที่นครวัด 
สมัยกรุงศรีอยุธยา
    ในสมัยกรุงศรีอยุธยาอาณาจักรไทยกวางขวางมาก มีชาวบานปาซึ่งเปนชนกลุมนอย 
( MINORITY TRIBE )อาศัยอยูแถบเมืองอัตปอแสนแป แควนจําปาสักฝงซายแมน้ําโขง 
                                  
ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวปจจุบัน ชนพวกนี้เรียกตัวเองวา "ขา" 
สวย" "กวย" หรือ "กุย" อยูในดินแดนของราชอาณาจักรไทย โดยสมบูรณ (เพิ่งเสียให
ฝรั่งเศสเมื่อ พ.ศ.2436หรือ ร.ศ.112) พากนี้มีความรูความสามารถในการจับชางปามาเลี้ยง
ไวใชงาน ชาวสวยหรือชาวกวยไดอพยพยายที่ทํามาหากินขามมาฝงขวาแมน้ําโขง เนื่องจาก
ชาวเมืองศรีสัตนาคนหุต(เวียงจันทน) ไดเขาไปตั้งถิ่นฐานแยงที่ทํามาหากิน
    ในป พ.ศ.2260 ชาวสวยไดอพยพแยกออกเปนหลายพวกดวยกัน แตละพวกมีหัวหนา
ควบคุมมา เชน เซียงปุม เซียงสีเซียงสง ตากะจะและเซียงขัน เซียงฆะ เซียงไชย หัวหนาแต
ละคนก็ไดหาสมัครพรรคพวกไปตั้งรกรากในที่ตาง ๆ กัน เวียงปุม อยูที่บานที เซียงสีหรือ
ตะกะอาม อยูที่รตนบุร ี เซียงสงอยูบานเมือลีง (อําเภอจอมพระ)
                 ั
เซียงฆะ อยูที่สังขะ เวียงไชยอยูบานจารพัด (อําเภอศรีขรภูม)ิ  สวนตากะจะและเซียงขัน อยู
             
ที่บานปราสาทสี่เหลี่ยมดงลําดวน(บานดวนใหญปจจุบัน)พวกสวยเหลานี้อยูรวมกันเปน
                                                    
ชุมชนใหญ หาเลี้ยงชีพ ดวยการเกษตรและหาของปามาบริโภคใชสอย 
สมัยกรุงธนบุรี
     เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแกพมาในป พ.ศ.2310 แลว สมเด็จพระเจากรุง
ธนบุร ี พระเจาตากสินมหาราช ไดทรงกอบกูอิสรภาพ และทรงตั้งกรุงธนบุรี
เปนราชธานี   พ.ศ.2321 ปจอ จุลศักราช 1140 กรุงศรีสัตนาคนหุต 
(เวียงจันทน)เปนกบฎตอไทย สมเด็จพระเจากรุงธนบุรีไดโปรดเกลาฯ ให
สมเด็จเจาพระยามหากษัตริยศึก  (พระบามสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก
มหาราช) กับเจาพระยาสุรสียหเปนแมทัพยกขึ้นไปทางเมืองพิมายแมทพสั่ง  ั
ใหเจาเมืองพิมายแตงขาหลวงออกมาเกณฑกําลังเมืองประทายสมันต 
(จังหวัดสุรินทร) เมืองสังฆะ เมืองขุขันธ เมืองรัตนบุร ี เปนทัพบกยกไปตี
เมืองเวียงจันทน เมืองจําปาศักดิ์ ไดชัยชนะยอมขึ้นตอไทยทั้งสองเมือง 
กองทัพไทยเขาเมืองเวียงจันทน ไดอัญเชิญพระแกวมรกต และพระบาง
พรอมคุมตัวนครจําปาศักดิ์ไชยกุมารกลับกรุงธนบุรีในการศึกครั้งนี้เมื่อ
เดินทางกลับ หลวงปราบ(เซียงขัน) ทหารเอกในกองทัพ ไดหญิงมายชาวลาว
คนหนึ่งกลับมาเปนภรรยา มีบุตรชายติดตามมาดวยชื่อทาวบุญจันทน
สมัยกรุงรัตนโกสินทร 
          ลุ พ.ศ.2325 ปขาล จุลศักราช 1144 พระบามสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก
มหาราช เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติพ ระยาไกรภักดีศรีนครลําดวน(เซียงขัน) ไดบรรดา
สักดิเ์ ปนพระยาขุขันธภักดี ไดมีใบบอกกราบบังคมทูลขอตั้งทาวบุญ จันทร เปนพระยาไกร
ภักดีศรีนครลําดวน ผูชวยเจาเมือง อยูมาวันหนึ่ง พระยาขุขันธภักดี เผลอเรียกพระยาไกร
                                       
ภักดีฯ(บุญ จันทร) วา"ลูกเชลย" พระยาไกรภักดีจงโกรธและผูกพระยาบาทภายหลังมี
                                                  ึ
พอคาญวน 30 คน มาซื้อโคกระบือทีเ่ มืองขุขันธ พระยาขุขันธภักดีอํานวยความสะดวก
และจัดทีพ ักใหญ วนตลอดจนใหไพรนําทางไปชองโพย ใหพ วกญวนนําโค กระบือไปยัง
           ่
เมืองพนมเปญไดสะดวก พระยาไกรภักดีฯ (บุญ จันทร) ไดกลาวโทษมายังกรุงเทพฯ และ
โปรดเกลา ใหเรียกตัวพระยาขุขันธไปลงโทษและจําคุกไวทกรุงเทพฯ แลวโปรดเกลาฯ ให
                                                         ี่
ตั้งพระยาไกรภักดีฯ-(บุญ จันทร) เปนเจาเมืองขุขันธแทนในป พ.ศ.2325 นี ้ พระภักดีภธร
                                                                                   ู
สงคราม(อุน) ปลัดเมืองขุขันธ กราบบังคมทูลขอแยกจากขุขันธไปตั้งที่บานโนนสามขาจึง
ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหยกบานโนนสามขาขึ้นเปนเมือง 
"ศรีสระเกศ" ตอมาป พ.ศ.2328ไดยายเมืองศรีสระเกศจากบานโนนสามขา
 มาตั้ง ณ บานพันทาเจียงอีอยูในเขตเทศบาลเมืองศรีสะเกษทุกวันนี ้
สัญลักษณประจําจังหวัด


      ตราประจําจังหวัด


       ธงประจําจังหวัด 



 ดอกไมประจําจังหวัด(ดอกลําดวน)
ตนไมประจําจังหวัด (ตนลําดวน)




ตราปราสาทพระวิหาร ตราประจําจังหวัดศรีสะเกษ
         ระหวาง พ.ศ. 2483 - 2512
• ตราประจําจังหวัด  : รูปปรางคกูมีดอกลําดวน 6 กลีบอยูเบื้อง
  ลาง (เดิมใชภาพปราสาทหิน   เขาพระวิหารเปนตราประจําจังหวัด  
  มาเปลี่ยนเปนตราปจจุบันเมื่อพ.ศ. 2512[5]
  •  ดอกไมประจําจังหวัด : ดอกลําดวน (Melodorum fruticosum) 
  •  ตนไมประจําจังหวัด : ลําดวน  (Melodorum fruticosum) 
  • คําขวัญประจําจังหวัด : แดนปราสาทขอม หอมกระเทียม
เทียมดี มีสวนสมเด็จ เขตดงลําดวน     หลากลวนวัฒนธรรม 
เลิศล้ําสามัคคี 
   • สีประจํากลุมจังหวัด     สีสม 
อาณาเขตติดตอ

•      ทิศเหนือ ติดตอกับจังหวัดยโสธร
•      ทิศตะวันออก ติดตอกับจังหวัดอุบลราชธานี
•      ทิศใต ติดตอกับราชอาณาจักรกัมพูชา
•      ทิศตะวันตก ติดตอกับจังหวัดสุรินทรและ
จังหวัดรอยเอ็ด
สถานที่ทองเที่ยวประเภทแหลงวัตถุโบราณและวัด




วัดสระกําแพงใหญ
นารายณบรรทมสินธุนอนตะแคงซาย และตัวนาคเปนแบบบาปวน 
                  
และที่เทาของพระนารายณ จะมีศักติ 2 องค คือ นางลักษมี และนางภูมิ
วัดสระกําแพงใหญ
ปราสาทแหงนี้ไดพบทับหลังประมาณ 9 ชิ้น และชิ้นที่สําคัญสันนิฐานวาเปน
ของปรางคองคทิศเหนือเปนรูปคชลักษมี ซึงไมคอยพบในประเทศไทย การสลัก
                                          ่
เปนรูปคชลักษมี หมายถึง ความอุดมสมบูรณ คชลักษมีมีลักษณะเปนรูปชาง 2 
ตัว หันหนาเขาหากันและงวงประสานกัน เปนรูปวงกลมภายในรูปพระนาง
ลักษมี สําหรับหลังที่ปรางคองคประธานจะสลักเปนรูปพระอินทรทรงชาง
เอราวัณ และสําหรับทับหลังชิ้นอื่น ๆ เชน พระกฤษณะประลองกําลังตาง ๆ นา ๆ 
วัดสระกําแพงใหญ
ตั้งอยูท ี่ หมูท ี่ 1 บานสระกําแพงใหญ ต.สระกําแพงใหญ อ.อุทุมพรพิสัย จ.ศรี
                
สะเกษ กอสรางประมาณกลางพุทธศตวรรษที่ 16 ถึงพุทธศตวรรษที ่ 16 ตอน
ปลายเปนศาสนสถานในศาสนาพราหมณ ลัทธิไศวนิกาย และจากการพบเทพ
นพเคราะหชิ้นหนึ่งสันนิษฐานวาใชงานสะเดาะห ใชวางอดกบัวแตละดอก และ
ก็พบพระพุทธรูปนาคปรกองคหนึ่งเปนศิลปแบบนายน จึงอาจสันนิษบานไดวา
เมื่อพนสมัยศาสนาพราหมณไปแลวคือ สมัยพระเจาชัยวรมันที ่ 7 ที่เขามา
ปกครองแถบนี้ก็เปลี่ยนศาสนาจากศาสนาพราหมณเปนศาสนาพุทธมหายาน 
กูสมบูรณ
อยูบริเวณบานหนองคูใหญ ตําบลเปาะ อําเภอบึงบูรพ จังหวัดศรีสะเกษ เปน
ปราสาทสามหลังบนฐานศิลาแลงเดียวกัน  ปราสาทกอนดวยศิลาแลงรวมกับ
อิฐ กอดวยศิลาแลงดานใน หันหนาไปทางทิศตะวันออก ตัวปราสาททั้งหมด
ลอมรอบดวยคูน้ํารูปเกือกมาเวนทางเขา ดานทิศใต สันนิษฐานวาปราสาท
แหงนี้คงจะสรางขึ้นราวพุทธศตวรรณที ่ 17 ปจจุบันกรมศิลปากร ไดขึ้น
ทะเบียนและบูรณะซอมแซม ตําบลเปาะ อําเภอบึงบูรพ จังหวัดศรีสะเกษ 
พระพุทธบาทภูฝาย
ตั้งอยูท ี่ หมูท ี่ 1 บานภูฝาย ต.ภูฝาย อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ พระพุทธบาทภูฝาย 
                
ตั้งอยูบนเขาภูฝายโดยการสรางจําลองขึ้นของพระในวัดบนภูเขาภูฝายขนาด
กวาง 1 เมตร ยาว 2 เมตร ในทุก ๆ ป จะมีราษฎรจากตําบลตาง ๆ ไปทําบุญ และ
กราบไหวเปนประจําทุกป ปจจุบันบนเขาภูฝายไดจดทะเบียนจากกรมศิลปากร 
พื้นที ่ 1,415 ไรเปนแหลงทองเที่ยวที่อยูบนภูเขาสูง มีสํานักสงฆ 1 แหง พระภิกษุ 
2 รูป สระน้ําที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และรอยพระพุทธบาทจําลอง ตลอดจน
สัตวปา เชนลิง
วัดปามหาเจดียแกว (วัดลานขวด)
ตั้งอยูหมูท ี่ 2 บานดอน ต.โนนสูง อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ ไดกอสรางเมื่อป 
พ.ศ. 2524 โดยมีพระครูวิเวกธรรมจารย (รอด) ถิรคุโณ เปนเจาอาวาสองค
แรกจนถึงปจจุบัน พื้นที่บริเวณวัด 18 ไร พระภิกษุ 8 รูป สิ่งปลูกสรางมี
อุโบสถ (ริมน้ํา) 1 หลังศาลาการเปรียญ 1 หลัง กุฎ ิ 8 หลัง   ศาลา
เอนกประสงค 1 หลัง
เปนศาสนสถาน และสิ่งกอสราง ในบริเวณวัดประดับตกแตง
ดวยขวดแกว หลากสีหลายแบบนับลาน ๆ ขวด 
ในแตละวันจะมีนักทองเที่ยวมาเยี่ยมชม และรวมทําบุญเปน
จํานวนมาก 
วัดบานพราน (วัดสุพรรณรัตน)
เปนวัดเกาแกของตําบลพราน โดยมีจํานวนหมูบาน 5 หมูบาน 
รวมกิจกรรม และเปนสถานที่ที่จัดงานบุญของตําบลพราน 
เชน ประเพณีสารทเขมร (แซนโดนตา) มีทับหลังนารายณ
บรรทมสิน 
พระธาตุเรืองรอง
ตั้งอยูท ี่ หมูท ี่ 3 บานสรางเรือง ต.หญาปลอง อ.เมืองศรีสะเกษ จ.ศรีสะเกษ 
                
เปนพระธาตุที่สรางแบบศิลปะพื้นบาน สูง 49 เมตร แบงออกเปน 6 ชั้น ชั้นที ่ 1 
ใชสําหรับประกอบพิธีทางศาสนา ชั้นที ่ 2 - 3 ทําเปนพิพิธภัณฑพื้นบานชนสี
เผาของศรีสะเกษ คือ เขมร สวย ลาว เยอ ชันที ่ 4 ประดิษฐานพระพุทธรูป
                                                ้
สําคัญ ชั้นที ่ 5 ใชสําหรับการทําสมาธิ ชั้นที ่ 6 เปนที่ประดิษฐานพระบรม
สารีริกธาตุ และเปนที่ชมทัศนียภาพของพื้นที่ 
สถานที่ทองเที่ยวประเภทแหลงธรรมชาติ




หวยตะวัน
หวยตะวันอยูในเขตตําบลบึงมะลู ติดกับ ตําบลรุงเปนหวยที่
เพิ่งคนพบเปนหวยที่มีน้ําไหลลักษณะคลายน้ําตาก
อุทยานแหงชาติเขาพระวิหาร
ตั้งขึ้นในป พ.ศ.2542 โดยมีอาณาเขตติดพื้นที่ตําบลเสาธงชัย  มีแหลงทอง
เที่ยวที่สําคัญคือผามออีแดง ปราสาทโดนตรอน และเปนเสนทางผานเขาชม
ปราสาทเขาพระวิหาร ประเทศกัมพูชา ตําบลเสาธงชัยอําเภอกันทรลักษ 
จังหวัดศรีสะเกษ 
น้ําตกสําโรงเกียรติ
ตั้งอยูหมูท ี่ 5 บานสําโรงเกียรติ ต.บักดอง อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ เดิมชื่อวา 
น้ําตกปศาจ เรียกตามชื่อหนวยทหารพรานที่มีสมญานาม พ.ศ. 2519 
ตอมาในป พ.ศ. 2524 ไดปรับปรุงใหเปนสถานที่ททองเที่ยว และไดเปลี่ยนชื่อ
เปนน้ําตกสําโรงเกียรติ ตามชื่อหมูบานสําโรงเกียรติ โดยมีแหลงกําเนินมา
จากภูเขากันทุงบนเทือกเขาบรรทัดเปนน้ําตกขนาดกลางที่งดงามแหงหนึ่ง
ของจังหวัดศรีสะเกษ
แกงพระพุทธบาท
ตั้งอยูหมูท ี่ 8 บานโนน ตําบลรังแรง อําเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรี
สะเกษ ซึ่งอยูตามลํานํามูลกับตําบลสมปอย อําเภอราษีไศล จังหวัด
ศรีสะเกษ หางจากตัวจังหวัดประมาณ 20 กม. เปนสถานที่ทองเที่ยว
ที่สวยงามตามธรรมชาติมีแกงหินสวยงามมากมาย บรรยากาศรมรื่น  
เหมาะแกการทองเที่ยวพักผอน 
น้ําตกนาตราว
เปนน้ําตกที่เพิ่งคนพบ มีความอุดมสมบูรณของธรรมชาติ
มาก น้ําตกสวยงาม บรรยากาศนาทองเที่ยว ตําบลดงรัก 
อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ 
หนองบัวดง
ตั้งอยูหมูที่ 1 ตําบลหนองบัวดง กิ่งอําเภศิลาลาด จังหวัด
ศรีสะเกษ เปนแหลงทองเที่ยว พักผอนหยอนใจ 
และเปนที่ออกกําลังกายของประชาชน
วัดสระกําแพงใหญ
กูสมบูรณ
พระพุทธบาทภูฝาย
วัดปามหาเจดียแกว (วัดลานขวด)
การปกครอง




             แผนที่อําเภอในจังหวัดศรีสะเกษ

จังหวัดศรีสะเกษแบงการปกครองออกเปน 22 อําเภอ 206 ตําบล 
              และอีก 2,557 หมูบาน อําเภอไดแก
1. อําเภอเมืองศรีสะเกษ                                                      
                                              14. อําเภอศรีรัตนะ
2. อําเภอยางชุมนอย                                                                
                                              15. อําเภอน้ําเกลี้ยง
3. อําเภอกันทรารมย                           16. อําเภอวังหิน
4. อําเภอกันทรลักษ                                                                
                                              17. อําเภอภูสิงห                                      
5. อําเภอขุขันธ                              18. อําเภอเมืองจันทร
6. อําเภอไพรบึง                               19. อําเภอเบญจลักษ
7. อําเภอปรางคกู                            20. อําเภอพยุห
8. อําเภอขุนหาญ                               21. อําเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ
9. อําเภอราษีไศล                              22. อําเภอศิลาลาด 
10. อําเภออุทุมพรพิสัย
11. อําเภอบึงบูรพ
12. อําเภอหวยทับทัน
13. อําเภอโนนคูณ
การปกครองสวนทองถิ่น

องคกรปกครองสวนทองถิ่น  (อปท.) ประกอบดวย
 องคการบริหารสวนจังหวัด  1 แหง เทศบาลเมือง 2 แหง เทศบาล
ตําบล 18 แหง
 และองคการบริหารสวนตําบล 196 แหง
• องคการบริหารสวนจังหวัดศรีสะเกษ 
• เทศบาลเมืองศรีสะเกษ 
• เทศบาลเมืองกันทรลักษ 
การเลือกตั้ง
จังหวัดศรีสะเกษ แบงเขตเลือกตั้งออกเปน  3 เขต มีจํานวน
สมาชิกสภาผูแทนราษฎรทั้งสิ้น 9 คน โดยแตละเขตแบงออกดังนี้
• เขต 1 ประกอบดวย อําเภอเมืองศรีสะเกษ อําเภอยางชุมนอย อําเภอ
กันทรารมย อําเภอโนนคูณ  อําเภอพยุห อําเภอราษีไศล อําเภอศิลาลาด 
อําเภอบึงบูรพ และอําเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ 
• เขต 2 ประกอบดวย อําเภอเมืองจันทร อําเภออุทุมพรพิสัย อําเภอหวย
ทับทัน อําเภอวังหิน  อําเภอปรางคกู อําเภอขุขันธ และอําเภอภูสิงห 
• เขต 3 ประกอบดวย อําเภอกันทรลักษ อําเภอขุนหาญ อําเภอไพรบึง 
อําเภอศรีรัตน อําเภอเบญจลักษ และอําเภอน้ําเกลี้ยง 
ภูมิประเทศ
จังหวัดศรีสะเกษนั้น ตอนใตมีทิวเขาพนมดงรักซึ่งทอดตัวใน
แนวตัวตกและตะวันออกเปนเสนแบงเขตแดนระหวางไทยกับ
กัมพูชา ยอดเขาสูงสุดในจังหวัดชื่อ  "พนมโนนอาว" สูงหกรอย
เจ็ดสิบเอ็ดเมตรจากระดับทะเลปานกลาง โดยตั้งอยูในเขตอําเภอ
กันทรลักษ จากเขาพนมโนนอาวนี้ พื้นที่คอย ๆ ลาดต่ําขึ้นไป
ทางเหนือลงสูที่ราบลุมแมน้ํามูล
ภูมิประเทศสวนใหญเปนที่ราบลอนลาด มีระดับความสูงระหวาง
หนึ่งรอยหาสิบเมตรถึงสองรอยเมตรจากระดับทะเลปานกลาง มี
ลําน้ําหลายสายไหลผานที่ราบลอนลาดนี้ลงไปยังแมน้ํามูลซึ่ง
ไดแก หวยทับทัน หวยสําราญ และหวยขะยุง
ตัวเมืองตั้งอยูฝงหวยสําราญ หางจากแมน้ํามูลไปทางทิศใต
ประมาณสิบกิโลเมตร และอยูสูงจากระดับทะเลปานกลางห
นี่งรอยยี่สิบหกเมตรทางตอนเหนือของจังหวัดมีแมน้ํามูล
ไหลผานเขตอําเภอราษีไศล อําเภอยางชุมนอย และอําเภอ
กันทรารมย เปนระยะทางยาวประมาณหนึ่งรอยยี่สิบกิโลม
เตร บริเวณนี้ถือเปนแหลงอุดมสมบูรณที่สุดของจังหวัด 
เนื่องจากเปนที่ราบลุมแมน้ําขนาดใหญอันอยูสูงจากระดับ
ทะเลปานกลางประมาณ 115-130 เมตร
ภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศโดยทั่วไปของจังหวัดศรีสะเกษ มีอากาศรอนจัดในฤดูรอน
และคอนขางหนาวจัดในฤดูหนาว สวนฤดูฝนจะมีฝนตกหนักในเดือน
กันยายน โดยมักจะตกหนักในพื้นที่ตอนกลางและตอนใตของจังหวัด สวน
พื้นที่ทางตอนเหนือของจังหวัดจะมีปริมารฝนตกนอย และไมคอยสม่ําเสมอ 
โดยเฉลี่ยแลวในปหนึ่ง ๆ จะมีฝนตก 100 วัน ปริมาณฝนเฉลี่ย 1,200-1,400 
มิลลิเมตรตอป อุณหภูมิต่ําสุดประมาณ 10 องศาเซลเซียส สูงสุดประมาณ 
40 องศาเซลเซียส เฉลี่ยประมาณ 26-28 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพันธ
เฉลี่ยรอยละ 66-73
ชาวศรีสะเกษที่มีชื่อเสียง
•   นกนอย อุไรพร นักรองลูกทุง ศิลปนพื้นบาน 
•   ฉันทนา กิติยพันธ นักรอง นักแสดง 
•   ธนัญชัย บริบาล นักฟุตบอลทีมชาติไทย 
•   ปยะณัฐ วัชราภรณ อดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข  
•   พยอม สีนะวัฒน ศิลปนแหงชาติ สาขาทัศนศิลป พ.ศ. 2530
•   ภูมินทร ลีธระประเสริฐ รองโฆษกประจําสํานักนายกรัฐมนตรี 
                  ี
•   มานะ มหาสุวีระชัย อดีตสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ 
    หัวหนาพรรคแทนคุณแผนดิน 
•   ยิ่งยง ยอดบัวงาม นักรองลูกทุง 
                                  
•   ร็อคกี ้ ส.จิตรลดา นักมวย 
•   สุดา ศรีลําดวน นักรองลูกทุง 
                               
•   สุริยะใส กตะศิลา ผูประสานงานพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย 
ประชากร
ในจังหวัดศรีสะเกษมีชุมชนหลายกลุมอาศัยอยูรวมกัน ทั้งนี้เปนผล
มาจากการอพยพยายครัวเขามาของคนเชื้อชาติตาง ๆ ในอดีต แม
ปจจุบันยังคงเห็นลักษณะเฉพาะทางกายภาพและวัฒนธรรมของกลุม
คนเหลานั้นอยู กลุมคนที่วานี้ไดแก ชาวลาว ชาวเขมร ชาวสวยหรือ
กูย และเยอ
เศรษฐกิจ
                  เศรษฐกิจของจังหวัดศรีสะเกษขึ้นอยูกับเกษตรกรรมเปนหลัก 
จังหวัดไมมทรัพยาการแรที่สําคัญแตอยางใด แตมีแรรัตนชาติอยูบางเล็กนอยใน
              ี
อําเภอกันทรลักษ โดยในป พ.ศ. 2550 มีสัดสวนตอผลิตภัณฑมวลรวม (GPP) 
44,191 ลานบาท และรายไดเฉลี่ยของประชากร 29,174 บาทตอคนตอป ซึ่งต่ํา
ที่สุดของประเทศชาวศรีสะเกษทํานากันมากตามที่ราบลุมแมน้ํามูลและในเขต
ชลประทานของลําน้ําสายตาง ๆ สวนใหญเปนนาปซึ่งมีการเก็บเกี่ยวปละครั้ง 
พืชไรที่สําคัญคือ ขาวโพด มันสําปะหลัง ปอแกว และผักตาง ๆ นอกจากนี้ ชาว
ศรีสะเกษนิยมปลูกหอมแดงมากดังปรากฏในคําขวัญประจําจังหวัดจังหวัดศรี
สะเกษ เปนจังหวัดทีมีพื้นที่ตดตอกับประเทศเพื่อนบาน (ประเทศกัมพูชา) มีจด
                      ่       ิ                                             ุ
ผานแดนถาวร 1 แหง คือ จุดผานแดนถาวรชองสะงํา ซึ่งเปนชองสําหรับการคา
ระหวางประเทศ มีมูลคาการซื้อขายระหวางเดือนมกราคม-พฤษภาคม 
พ.ศ. 2552 ประมาณ 571.756 ลานบาท
การคมนาคม




             แผนที่ทองเที่ยวจังหวัดศรีสะเกษ
จากกรุงเทพมหานครสามารถเดินทางไปยังจังหวัดศรีสะเกษไดดังนี้
โดยรถไฟ สายตะวันออกเฉียงเหนือ มาลงที่สถานีศรีสะเกษ ระยะทาง 
515.09 กิโลเมตร 
•       โดยทางหลวงแผนดินหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน ) ถึงทางแยก
เขาทางหลวงแผนดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ที่กิโลเมตรที่ 107 แลว
ไปตามทางหลวงแผนดินหมายเลข 2 ถึงจังหวัดนครราชสีมา แยก
ทางขวาเขาทางหลวงหมายเลข 226 ผานจังหวัดบุรีรัมยและจังหวัด
สุรินทรจึงถึงจังหวัดศรีสะเกษ รวมระยะทาง 571 กิโลเมตร 
•       โดยรถโดยสารประจําทาง สามารถเดินทางจากสถานีขนสง
ผูโดยสารกรุงเทพฯ สายตะวันออกเฉียงเหนือ มาลงที่สถานีรขนสง
ผูโดยสารจังหวัดศรีสะเกษไดโดยตรง 
โดยเครื่องบิน  สามารถเดินทางโดยสายการบินภายในประเทศ
มายังทาอากาศยานอุบลราชธานี  และเดินทาง ตอมายังจังหวัด
ศรีสะเกษ ดวยระยะทางอีกประมาณ 60 กิโลเมตร 
การศึกษา
                               โรงเรียน
                    ดูท รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดศรีสะเกษ 
                       ี่
     รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดศรีสะเกษโรงเรียนประถม สพฐ.
โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ อําเภอเมืองศรีสะเกษ 
โรงเรียนอนุบาลดํารงราชานุสรณ อําเภอกัน ทรลักษ 
โรงเรียนอนุบาลขุนหาญ(สิ) อําเภอขุนหาญ 
โรงเรียนหนองอารีพิทยา อําเภอไพรบึง 
โรงเรียนบานสรางใหญ อําเภอไพรบึง 
โรงเรียนบานหนองระเยียว อําเภอไพรบึง 
โรงเรียนบานดินแดง อําเภอไพรบึง 
โรงเรียนบานกันตรวจ อําเภอไพรบึง 
โรงเรียนบานดองดึง อําเภอไพรบึง 
โรงเรียนบานแดง อําเภอไพรบึง 
โรงเรียนบานตาเจา อําเภอไพรบึง 
โรงเรียนมัธยม สพฐ.
โรงเรียนกระแชงวิทยา อําเภอกันทรลักษ 
โรงเรียนกระดุมทองวิทยา อําเภอกันทรารมย 
โรงเรียนกันทรลักษณวิทยาคม อําเภอกันทรลักษ 
โรงเรียนกันทรลักษวิทยา อําเภอกันทรลักษ 
โรงเรียนกันทรอมวิทยาคม อําเภอขุนหาญ 
โรงเรียนกันทรารมณ อําเภอกันทรารมย                 
โรงเรียนกําแพง อําเภออุทุมพรพิสัย 
โรงเรียนกุญชรศิรวิทย อําเภอไพรบึง 
โรงเรียนกุดเสลาวิทยาคม อําเภอกันทรลักษ 
โรงเรียนไกรภักดีวิทยาคม อําเภอเมืองศรีสะเกษ 
โรงเรียนขุขันธ อําเภอขุขันธ 
โรงเรียนขุนหาญวิทยาสรรคอําเภอขุนหาญ
โรงเรียนเขื่อนชางวิทยาคาร อําเภอน้ําเกลี้ยง 
โรงเรียนคลีกลิ้งพัฒนาทร อําเภอศิลาลาด 
โรงเรียนคูซอดประชาสรรค อําเภอเมืองศรีสะเกษ 
โรงเรียนโคกสะอาดวิทยาคม อําเภอโนนคูณ 
โรงเรียนโคกหลามวิทยา อําเภออุทุมพรพิสย   ั
โรงเรียนจตุรภูมิพิทยาคาร อําเภออุทมพรพิสัย 
                                   ุ
โรงเรียนจิกสังขทองวิทยา อําเภอราษีไศล 
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร ศรีสะเกษ อําเภอเมืองศรีสะเกษ 
โรงเรียนดงรักวิทยา อําเภอกันทรลักษ 
โรงเรียนดานอุดมศึกษา อําเภอราษีไศล 
โรงเรียนตระกาศประชาสามัคคี อําเภอกันทรลักษ 
โรงเรียนตูมวิทยา อําเภอปรางคกู 
โรงเรียนไตรมิตร อําเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ 
โรงเรียนทุงไชยพิทยา รัชมังคลาภิเษก อําเภออุทุมพรพิสัย 
โรงเรียนทุงสิมวิทยาคม อําเภออุทมพรพิสย 
                                 ุ      ั
โรงเรียนนครศรีลําดวนวิทยา อําเภอวังหิน 
โรงเรียนนาแกววิทยา อําเภอขุนหาญ 
โรงเรียนน้ําเกลี้ยงวิทยา อําเภอน้ําเกลี้ยง 
โรงเรียนน้ําคําวิทยา อําเภอเมืองศรีสะเกษ 
โรงเรียนโนนกระสังวิทยาคม อําเภอปรางคกู 
โรงเรียนโนนคอวิทยาคม อําเภอโนนคูณ  
โรงเรียนโนนปูนวิทยาคม อําเภอไพรบึง 
โรงเรียนโนนเพ็กวิทยาคม อําเภอพยุห        
โรงเรียนบกวิทยาคม อําเภอโนนคูณ  
โรงเรียนบัวเจริญวิทยา อําเภอน้ําเกลี้ยง 
โรงเรียนบัวนอยวิทยา อําเภอกันทรารมย 
โรงเรียนบึงบูรพ อําเภอบึงบูรพ 
โรงเรียนบึงมะลูวิทยา อําเภอกันทรลักษ 
โรงเรียนเบญจประชาสรรค อําเภอราษีไศล 
โรงเรียนเบญจลักษพทยา อําเภอเบญจลักษณ 
                      ิ
โรงเรียนประชาพัฒ นศึกษา อําเภออุทุมพรพิสย  ั
โรงเรียนประสานมิตรวิทยา อําเภอกันทรารมย 
โรงเรียนปรางคก อําเภอปรางคก 
                 ู             ู
โรงเรียนปรือใหญวทยบัลลังก อําเภอขุขันธ 
                    ิ
โรงเรียนผักแพววิทยา อําเภอกันทรารมย 
โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล อําเภอหวยทับทัน 
โรงเรียนไผงามพิทยาคม อําเภอราษีไศล 
โรงเรียนพยุหวิทยา อําเภอพยุห 
                             
โรงเรียนพรานวิบูลวิทยา อําเภอขุนหาญ 
โรงเรียนพอกพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก อําเภอปรางคกู 
โรงเรียนโพธิ์ธาตุประชาสรรค อําเภอวังหิน 
โรงเรียนโพธิ์วงษวิทยา อําเภอขุนหาญ 
โรงเรียนโพธิศรีสุวรรณวิทยาคม อําเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ 
             ์
โรงเรียนไพรธรรมคุณวิทยา อําเภอขุนหาญ 
โรงเรียนไพรบึงวิทยาคม อําเภอไพรบึง 
โรงเรียนภูมิซรอลวิทยา อําเภอกันทรลักษ 
โรงเรียนภูสิงหประชาเสริมวิทย อําเภอภูสิงห 
โรงเรียนมัธยมบักดองวิทยา อําเภอขุนหาญ 
โรงเรียนมัธยมโพนคอ อําเภอเมืองศรีสะเกษ 
โรงเรียนเมืองแคนวิทยาคม อําเภอราษีไศล 
โรงเรียนเมืองจันทรวิทยาคม อําเภอเมืองจันทร 
โรงเรียนยางชุมนอยพิทยาคม อําเภอยางชุมนอย 
โรงเรียนราษีไศล อําเภอราษีไศล 
โรงเรียนลมศักดิ์วิทยาคม อําเภอขุขันธ 
โรงเรียนละทายวิทยา อําเภอกันทรารมย 
โรงเรียนละลมวิทยา อําเภอภูสิงห 
โรงเรียนลิ้นฟาพิทยาคม อําเภอยางชุมนอย 
โรงเรียนวรคุณอุปถัมภ อําเภอเมืองจันทร 
โรงเรียนแวงแกววิทยา อําเภอกันทรารมย 
โรงเรียนศรีแกวพิทยา อําเภอศรีรัตนะ 
โรงเรียนศรีตระกูลวิทยา อําเภอขุขันธ 
โรงเรียนศรีรัตนวิทยา อําเภอศรีรัตนะ 
โรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย อําเภอเมืองศรีสะเกษ 
โรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย 2 หวยคลา อําเภอเมืองศรีสะเกษ 
โรงเรียนศิลาลาดวิทยา อําเภอศิลาลาด 
โรงเรียนสตรีสิริเกศ อําเภอเมืองศรีสะเกษ 
โรงเรียนสมปอยพิทยาคม อําเภอราษีไศล 
โรงเรียนสวงษวิทยาคม อําเภอขุขันธ 
โรงเรียนสวายพิทยาคม อําเภอปรางคกู 
โรงเรียนสะเดาใหญประชาสรรค อําเภอขุขันธ 
โรงเรียนสายธารวิทยา อําเภอกันทรลักษ 
โรงเรียนสิริเกศนอมเกลา อําเภอเมืองศรีสะเกษ 
โรงเรียนหนองคูวิทยา อําเภอปรางคกู 
โรงเรียนหนองถมวิทยา อําเภอกันทรารมย 
โรงเรียนหนองทุมศรีสําราญวิทยา อําเภอวังหิน 
โรงเรียนหนองหวาประชาสรรค อําเภอเบญจลักษณ 
โรงเรียนหวยทับทันวิทยาคม อําเภอหวยทับทัน 
โรงเรียนเอกชน

โรงเรียนขุขันธราษฎรบํารุง อําเภอขุขันธ 
โรงเรียนเพิ่มพิทยา อําเภออุทุมพรพิสัย 
โรงเรียนวัดไพรบึงวิทยา อําเภอไพรบึง 
โรงเรียนวัดมหาพุทธาราม อําเภอเมืองศรีสะเกษ 
โรงเรียนวัดหลวงวิทยา อําเภอเมืองศรีสะเกษ
ระดับอุดมศึกษา 
มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
 มหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดศรีสะ
เกษ 
สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตศรีสะเกษ 
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย  ศูนยวัดสระกําแพงใหญ 
อําเภออุทุมพรพิสัย 
มหาวิทยาลัยมหามกฏราชวิทยาลัย ศูนยการศึกษาศรีสะเกษ 
วิทยาลัยเฉลิมกาญจนา
แหลงประวัติศาสตร



ปราสาทสระกําแพงใหญ
บริเวณที่ตั้งของจังหวัดนี้เคยเปนอูวัฒ นธรรมสมัยทวารวดีแลอาณาจัก ร
เขมรโบราณเชนเดียวกับพื้นที่อื่น  ๆ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จาก
หลักฐานทางโบราณคดีที่บานหลุบโมก ตําบลเมืองคง อําเภอราษีไศลพบ
รองรอยเมืองโบราณมีคูน้ําและคันดินลอมรอบสองชั้น  ภายในเมืองมี
ซากโบราณสถานและใบเสมาอันแสดงถึงรองรอยการนับถือพุทธศาสนา 
นอกจากนี้ยังพบปราสาทและปรางคกูอีกหลายแหง  โดยเปนศิลปะเขมร
ราวพุทธศตวรรษที ่ 16-17
แหลงทางประวัติศาสตรที่สําคัญ  เชน ปราสาทสระกําแพงใหญ อําเภอ
อุทุมพรพิสัย, ปราสาทตาเล็ง อําเภอขุขันธ, ปราสาทโดนตวล อําเภอ
กันทรลักษ และปราสาทปรางคกู อําเภอปรางคกู
แหลงทองเที่ยว
จังหวัดศรีสะเกษ มีแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติและทางวัฒนาธรรม
หลายแหง อาทิ

   สวนสมเด็จพระศรีนครินทร
   •    สวนสมเด็จพระศรีนครินทร ศรีสะเกษ 
   •    พระธาตุเรืองรอง อําเภอเมืองศรีสะเกษ        
•   ผามออีแดง
•   อุทยานแหงชาติเขาพระวิหาร  
•   ปราสาทสระกําแพงนอย อําเภออุทุมพรพิสัย 
•   ปราสาทหวยทับทัน อําเภอหวยทับทัน  
•   ปราสาทตาเล็ง อําเภอขุขันธ 
•   ปราสาทโดนตวล อําเภอกันทรลักษ 
•   ปราสาทปรางคกู อําเภอปรางคกู 
ภายในสวนสมเด็จ มีตนลําดวน        อนุสาวรียสมเด็จยา (สมเด็จพระศรี
มากกวา 50,000 ตน                นครินทรบ รมราชชนนี)เมื่อครี้งมีพ ระ
                                  ชนมอยู ทรงมีพ ระราชเสาวนีย ให
                                                              
เมื่อถึงตนเดือนมีนาคมของทุกป 
                                  จัดสรางสวนสมเด็จศรีนครินทร ศรี
กลีบของดอกลําดวน                  สะเกษ
จะรัญบวนหอมไปทั้งสวนฯ 
 ทองไปแดนลําดวน สัมผัสกลิ่นหอมรัญจวนใจของดอกลําดวน
50,000 กวาตน มีมากที่สุดในประเทศไทย สวนสมเด็จศรีนครินทร 




พลับพลาที่ประทับชั่วคราว ภายในสวนสมเด็จศรีนครินทร ศรีสะเกษ 
ศรีนครินทร ศรีสะเกษ ซึ่งอยูภายในวิทยาลัยเกษตร และเทคโนโลยี 
                           ศรีสะเกษ 




                    ทางเขาสวนสมเด็จ  
ตั้งอยูในวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศรีสะเกษ ถนนกสิกรรม
ตําบลหนองครก อําเภอเมืองหางจากศาลากลางจังหวัด  2 กิโลเมตร
มีเนื้อนที่ประมาณ 237 ไร ลักษณะเปนสวนปาขนาดใหญที่อยูในเขต
เมืองประกอบดวยดงลําดวนซึ่งเปนพันธุไมหอมและเปนตนไมสัญญา
ลักษณของจังหวัดจํานวนกวาหาหมื่นตน มีสวนสาธารณะ ที่ตกแตงสวย
งามรมรื่นเปนแหลงพักผอนของประชาชนทั่วไป ภายในมีสวนสัตว
และมีสวนปาลําดวนซึ่งเหมาะแกการทัศนศึกษา ในเชิงพฤกษศาสตร
ในชวงเดือนมีนาคม จะเปนชวงเวลาที่ดอกลําดวนจะบานสงกลิ่นหอม
ประทับใจแกผูมาเยือนซึ่งจังหวัดจะจัดงานเทศกาลดอกลําดานบานขึ้น
ณ สถานที่แหงนี้ดวย
งานเทศกาลดอกลําดวนบาน จัดขึ้นเปนประจําในชวงวันหยุด
สุดสัปดาหที่ 1 ของเดือน มีนาคมของทุกป ณ บริเวณสวนสมเด็จศรี-
นครินทร ซึ่งเปนชวงที่ดอกลําดวนกําลังบาน จํานวนมากกวา
50,000 ตน ภายในงานจะประกอบไปดวยกิจกรรมสาธิตศิลปวัฒ-
ธรรมพื้นบานสี่เผา คือ เขมร สวย ลาว เยอ การออกรานจําหนาย
สินคาหัถตกรรม การแสดงละครประกอบแสง เสียง ตํานานการสราง
เมือง การประชันดนตรีพื้นบานภายใตดงลําดวนอันรมรื่นในงาน
เทศกาลดอกลําดวนบาน
พระธาตุเรืองรอง
พระธาตุเรืองรอง ตั้งอยูที่บานสรางเรือง ตําบลหญาปลอง หาง
จากเมืองไปตามทางหลวงหมายเลข 2373 สายศรีสะเกษ-ยาง
ชุมนอย ประมาณ 7.5 กิโลเมตร เปนพระธาตุที่ สรางขึ้นโดย
ผสมศิลปอีสานใตสี่เผาไทย ไดแก ลาว สวย เขมร เยอ มีความ
สวยงามและเปน เอกลักษณอยางลงตัว 
พระธาตุมีความสูง 49 เมตร แบงออกเปน 6 ชั้น ชั้นที ่ 1 ใชสําหรับ
 ประกอบพิธีทางศาสนา ชั้นที ่ 2-3 เปนพิพิธภัณฑพื้นบานสี่เผาไทย


ชั้นที ่ 4 เปนที่ประดิษฐานพระพุทธรูปสําคัญ ชั้นที ่ 5 ใชสําหรับการทํา
สมาธิ และชั้นที ่ 6 เปนที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุและ เปนที่ชม
ทัศนียภาพของพื้นที่โดยรอบ
  ตอมาในพุทธศตวรรษที ่ 18 รัชสมัยของพระเจาชัยวรมันที ่ 7 อาจมีการ
บูรณะหรือสรางเพิ่มเติมขึ้นใหม สังเกตไดจาก มีสถาปตยกรรมแบบ
บายนอยูดวย สิ่งกอสรางดังกลาวเรียกกันในสมัยนั้นวา “อโรคยาศาล” 
หมายถึง สถานพยาบาล หรือสุขศาลาประจําชุมชนนั่นเอง 
ผามออีแดง
ผามออีแดง อยูในเขตอําเภอกันทรลักษณ ตามทางหลวงหมายเลข 221 
ผานทางแยกเขาอําเภอกันทรลักษณลงไปทางใต  หางจากตัวจังหวัด 
ประมาณ 80 กิโลเมตร และหางจากอําเภอกันทรลักษณประมาณ 34 
กิโลเมตร เปนทางเดียวกับทางขึ้นเขาพระวิหารซึ่งคอนขาง สูงชัน เมื่อ
ถึงเชิงเขาตองเดินเทาตอไปอีกประมาณ 200 เมตร ผามออีแดงเปนจุด
ชมทัศนียภาพเขาพระวิห ารที่ใกลที่สุด จะมอง เห็นยอดเขาพระวิหารใน
ระยะหางประมาณ 1 กิโลเมตร นอกจากนี้ในบริเวณผามออีแดง
ทางดานทิศใต ซึ่งเปนหนาผาที่อยูต่ําลง ไป พบภาพสลักหินนูนต่ํา ซึ่ง
สันนิษฐานวาเกาแกที่สุดในประเทศไทยมีอายุอยูในพุทธศตวรรษที่ 15 
ระหวาง พ.ศ. 1465-1490 ขณะนีผามออีแดงอยูในความดูแลของทหาร
                                ้
พรานกรมที่ 23 ผุที่สนใจเที่ยวชมตองติดตอขออนุญาติโดยติดตอผาน
                  
ทางนาย อําเภอกันทรลักษณเ 
สินคา 1 ตําบล 1 ผลิตภัณฑ (OTOP)
ตะกราเถาวัลย เปนผลิตภัณฑจากเถาวัลย มีใหเลือกมากแบบ เชน 
กระเชาดอกไม ตะกราใสผลไม ผลงานจากชาวบานในชุมชนกุดหวาย 
เขตเทศบาลเมืองศรีสะเกษ 
อุทยานแหงชาติเขาพระวิหาร 




                 อุทยานแหงชาติเขาพระวิหาร
 เปนของคนไทยทุกคน โปรดชวยกันรักษาไวให
             ลูกหลานของเรา 
ขอมูลทั่วไป 
อุทยานแหงชาติเขาพระวิหาร  ตั้งอยูในทองที่อําเภอน้ํายืน   กิ่ง
อําเภอน้ําขุน   จังหวัดอุบลราชธานี  และอําเภอกันทรลักษ  จังหวัด
ศรีสะเกษ มีเนื้อที่ประมาณ 81,250 ไร หรือ 130 ตารางกิโลเมตร มี
อาณาเขตติดตอกับประเทศกัมพูชา            ถนนและบันไดทางขึ้นสู
ปราสาทเขาพระวิหารทางดานบริเวณผามออีแดง  ทองที่ตําบลเสา
ธงชัย  อําเภอกันทรลักษ  จังหวัดศรีสะเกษ  ซึ่งอยูในเขตอุทยาน
แหงชาติเขาพระวิหาร จัดไดวาสะดวกที่สุด 
พื้นที่ปาสงวนแหงชาติปาเขาพระวิห าร  ปาฝงลําโดมใหญ  ทองที่
อําเภอกันทรลักษ  จังหวัดศรีสะเกษ  และอําเภอน้ํายืน   จังหวัด
อุบลราชธานี  เปนพื้นที่กองทัพภาคที่  2  และกองอํานวยการรักษา
ความมั่งคงภายในภาค  2  คายสุรนารี  นครราชสีมา  ซึ่งไดทําความ
ตกลงกับกรมปาไม  กําหนดพื้นที่ปาไมชายแดนใหเปนพื้นที่เพื่อ
การอนุรักษ  หามเขาไปและอาศัยอยูโดยเด็ดขาด  เนื่องจากพื้นที่
ดังกลาวยังคงความอุดมสมบูรณไปดวยปาไมและเปนแหลงตนน้ํา
ลําธาร มีสัตวปานานาชนิดอาศัยอยูมาก 
อุทยานแหงชาติเขาพระวิหาร  ไดมีพระราชกฤษฎีกากําหนด
ที่ดินปาฝงซายลําโดมใหญในทองที่ตําบลโซง  อําเภอน้ํายืน  
ตําบลโคกสะอาด  กิ่งอําเภอน้ําขุน   อําเภอน้ํายืน   จังหวัก
อุบลราชธานี  และปาเขาพระวิหารในทองที่ตําบลเสาธงชัย 
ตําบลภูผาหมอก  อําเภอกันทรลักษ  จังหวัดศรีสะเกษ  ใหเปน
อุทยานแหงชาติตามพระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ พ.ศ. 2504 
โดยไดประกาศในราชกิจจานุเบกษา  เลม 115  ตอนที ่ 14  ก  ลง
วันที ่ 20 มีนาคม 2541 นับเปนอุทยานแหงชาติลําดับที่  19 ของ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  และ  เปนอุทยานแหงชาติลําดับที่  83 
ของประเทศ
แดนปราสาทขอม หอมกระเทียมดี มีสวนสมเด็จ เขตดงลําดวน 
          หลากลวนวัฒนธรรม เลิศล้ําสามัคคี
ปราสาทสระกําแพงนอย




   ปราสาทสระกําแพงนอย
ปราสาทสระกําแพงนอย ตั้งอยูวัดสระกําแพงนอย บานกลาง ตําบลขยุง 
ปราสาทวัดสระกําแพงนอยประกอบดวยปรางคและวิหารกอดวยศิลาแลง 
ดานหนาปรางคมีสระน้ําใหญ ทั้งปรางค วิหาร และสระน้ํา ลวนลอมรอบดวย
กําแพงศิลาแลง เคยมีทับหลังประตูสลักเปนพระวรุณเทพเจาแหงฝนประทับ
บนแทนมีหงสแบก ๓ ตัว อยูเหนือเศียรเกียรติมุข เปนศิลปะแบบบาปวนมีอายุ
ราวพุทธศตวรรษที ่ ๑๖ สันนิษฐานวาปราสาทหินแหงนี้เดิม เปนศาสนสถานมา
กอน แลวตอมาในพุทธศตวรรษที่ ๑๘ รัชสมัยของพระเจาชัยวรมันที่ ๗ อาจมี
การบูรณะหรือสรางเพิ่มเติมขึ้นใหม สังเกตไดจากมีสถาปตยกรรมแบบบายนอ
ยูดวย สิ่งกอสรางดังกลาวเรียกกันในสมัยนั้นวา “อโรคยาศาล” หมายถึง 
สถานพยาบาล หรือสุขศาลาประจําชุมชนนันเอง การเดินทาง หางจากตัว
                                             ่
จังหวัดประมาณ ๘ กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข ๒๒๖ (สายศรีสะเกษ-
อุทุมพรพิสัย) อยูดานขวามือ
ปราสาทหวยทับทัน (ปราสาทบานปราสาท )




ปราสาทหวยทับทัน วัดปราสาทพนาราม อําเภอหวยทับ
              ทัน จังหวัดศรีสะเกษ 
ปราสาทหวยทับทัน หรือ ปราสาทบานปราสาท ตั้งอยูที่วัด
ปราสาทพนาราม บานปราสาท เปนโบราณสถานแบบขอมแหง
หนึ่งที่ถูกดัดแปลงในสมัยหลังเชนเดียวกับปราสาทศีขรภูมิ 
จังหวัดสุรินทร โดยเฉพาะสวนหลังคาซึ่งคลายคลึงกันมากแตมี
ขนาดสูงกวาประกอบดวยปรางคอิฐ  3 องค ตั้งอยูบนฐานศิลาแลง
เดียวกันในแนวเหนือ-ใต มีกําแพงลอมรอบพรอมซุมประตูกอ
ดวยศิลาแลง สันนิษฐานวาเดิมมี 3 หรือ 4 ทิศ ปจจุบันคงเหลือ
เพียงดานทิศใตเทานั้น
ปรางคองคกลางขนาดใหญกวาปรางคอีก  2 องค ที่ขนาบขางเล็กนอย
แตสวนหลังคาเตี้ยกวา เปนรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสยอมุมไมสิบสอง มี
ประตูเดียวดานหนาทางทิศตะวันออก มีกรอบประตูหินทราย และ
ทับหลังติดอยูเปนภาพบุคคลยืนอยูเหนือหนากาล สวนทอน
พวงมาลัยมีลายมาแบงที่เสี้ยวภาพบุคคลยืนในซุมเรือนแกว  ไมอาจ
สันนิษฐานวาเปนผูใดดวยลายสลักยังไมแลวเสร็จ
ปรางคสององคที่ขนาบขางขนาดเดียวกันไดรับการดัดแปลงรูปแบบ
ไปมากโดยเฉพาะสวนหลังคาและประตูซึ่งกอทึบหมดทุกดาน ยังคง
ปรากฏกรอบประตูหินทราย และชิ้นสวนทับหลังสลักภาพการกวน
เกษียรสมุทรตกอยูหนาประตูปรางคองคที่อยูดานทิศใต  จาก
ลักษณะทางดานศิลปกรรมของทับหลังที่ปรากฏอาสันนิษฐาน
ไดวาปราสาทแหงนี้มีอายุอยูในราวพุทธศตวรรษที่  16 รวม
สมัยศิลปะขอมแบบคลัง-บาปวนของเขมร และตอมาไดรับ
การดัดแปลงในสมัยหลัง
การเดินทาง จากตัวเมืองศรีสะเกษ ใชท างหลวงหมายเลข 226 
ประมาณ 39 กิโลเมตร ถึงอําเภอหวยทับทัน  แลวเลี้ยวขวาตาม
ทางอีก 8 กิโลเมตร
ปราสาทตาเล็ง




ปราสาทตาเล็ง อ.ขุขันธ จ.ศรีสะเกษ
ปราสาทตาเล็ง
ปราสาทตาเล็ง ลักษณะเปนปรางคองคเดียวตั้งอยูบนฐานองคปรางคมี
ผังเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยอมุมไมสิบสองหันหนาไปทางทิศตะวันออก 
ปจจุบันเหลือเพียงผนังดานหนาและผนังดานขางบางสวน มีประตูเขา
ไดเพียงประตูเดียวดานหนา อีกสามดานเปนประตูหลอก
ตั้งอยูที่หมู 6 บานปราสาท ตําบลกันท รารมย การเดินทางจากจังหวัด
ศรีสะเกษ ตามทางหลวงสาย 220 จนถึงอําเภอขุขันธเลี้ยวขวาผาน
สถานีตํารวจไป 3 กิโลเมตร ถึงสามแยกเลี้ยวซาย 300 เมตร แลวเลี้ยว
ขวาตรงไปอีกประมาณ 8 กิโลเมตร จนถึงบานปราสาท แลวเลี้ยวขวา
อีกครั้ง ปราสาทตั้งอยูดานขวามือ  ปราสาทตาเล็ งลักษณะเปน ปรางค
องคเดียวตั้งอยูบนฐานองคปรางคมีผังเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยอ มุมไม
สิบสองหันหนาไปทางทิศตะวันออก ปจจุบันเหลือเพียงผนังดานหนา
และผนังดานขางบางสวน มีประตูเขาไดเพียงประตูเดียวดานหนา อีก
สามดานเปนประตูหลอก ที่สําคัญคือเสาติดผ นังของประตูหนาทั้งสอง
ขางยังคงมีลวดลายกานขดสลักเต็มแผนอยางสวยงาม สรางขึ้นในราว
พุทธศตวรรษที ่ 16–17นอกจากนี้บนพื้นรอบๆ
ยังมีทับหลังวางอยูหลายชิ้น  ชิ้นหนึ่งวางอยูหนาประตูดานทิศเหนือ 
สลักเปนภาพพระอินทรทรงชางในซุมเรือนแกวเหนือหนากาล ซ  ึ่งคาย
ทอนพวงมาลัยออกมาจากปากและยึดทอนพวงมาลัยนั้นไวดวยมือทั้ง
สองขาง ทับหลังชิ้นอื่นๆ ลักษณะคลายกัน ทับหลังชิ้นหนึ่งมีแนวภาพ
ตอนบนสลักเปนรูปฤาษีนั่งเรียงกันในทาสมาธิ 7 ตอน จากลักษณะทาง
สถาปตยกรรม และศิลปกรรมที่ปรากฏกลาวไดวาปราสาทตาเล็ง  สราง 
ขึ้นในศิลปะขอมแบบบาปวน ซึ่งมีอายุราว พ.ศ. 1560–1630
การเดินทาง จากจังหวัดศรีสะเกษ ตามทางหลวงหมายเลข 220 จนถึง
อําเภอขุขันธเลี้ยวขวาผานสถานีตํารวจไป 3 กิโลเมตร ถึงสามแยกเลี้ยว
ซาย 300 เมตร แลวเลี้ยวขวาตรงไปอีกประมาณ 8 กิโลเมตร จนถึงบาน
ปราสาท แลวเลี้ยวขวาอีกครั้ง ปราสาทตั้งอยูดานขวามือ  
ปราสาทโดนตวล




ปราสาทโดนตวล อ.กันทรลักษ จ.ศรีสะเกษ
ปราสาทโดนตวล

ปราสาทโดนตวล ตั้งอยูที่บานภูมิซรอล ตําบลบึงมะลู หางจาก
หมูบาน 8 กิโลเมตร หางจากตัวอําเภอ 38 กิโลเมตร ตาม
เสนทาง อําเภอกันทรลักษ-ผามออีแดง เปนปราสามขอม
โบราณขนาดเล็กที่ตั้งอยูริมหนาผาสูง  บนเทือกเขาพนมดงรัก 
ใกลชายแดนไทย-กัมพูชา ประกอบดวยปรางครูปสี่เหลี่ยมยอ
มุม กอดวยอิฐ ซุมประตูกอดวยศิลา และมีรูปสิงโตจําหลักอยู
หนาปราสาท 
ตัวปราสาทปราสาทโดนตวล เปนปราสาทขอมโบราณขนาดเล็กที่
ตั้งอยูริมหนาผาสูง บนเทือกเขาพนมดงรัก บริเวณใกลชายแดนไทย-
กัมพูชา ประกอบดวยปรางครูปสี่เหลี่ยมยอมุม กอดวยอิฐ ซุมประตูกอ
ดวยศิลา และมีรูปสิงโตจําหลักอยูหนาปราสาทตัวปราสาทหันหนาไปทาง
ทิศตะวันออก บริเวณหนาปราสาทมีถนนปูดวยหินขนาดเล็ก  กวาง 6 
เมตร มีเสาหิน 2 คู  สูง 3 เมตร อยูหางกันราว 250 เซนติเมตร ซุมประตู
ทางเขาปราสาทมีรูป สิงหโตจําหลักตั้งอยูบนแทนขางละ 1 ตัว ตัว
ปราสาทประกอบดวยซุมประตู และปรางค 2 องค ซุมประตูมีจํานวน 3 
ประตํา กอดวยศิลา ประตูกลางมีขนาดใหญที่สุด  กวาง 1 เมตร สูง 2.5 
เมตร ประตูเล็กซายขวา กวาง 70 เซนติเมตร สูง 1.8 เมตร กรอบประตู
และศิลาทับหลังไมไดจําหลักลวดลาย
ปรางคองคหนาอยูถัดจากซุมประตูเขาไปประมาณ 1 เมตร หัก
พังจนมีสภาพเปนกองอิฐทับถมกันอยู ปรางคองคในอยูหางจาก
ปรางคองคแรกประมาณ 1 เมตร กอดวยอิฐและศิลาแลงฐานทํา
เปน 4 ชั้น กวางดานละ 6 เมตร สูง 26 เมตร ตัวปรางคมีประตูเขา
ออกทางดานหนา 1 ประตู กวาง 1 เมตรสูง 2 เมตร คูหาปรางคมี
เนื้อที่ 3.7 x 3 เมตร ลักษณะของปรางคเปนรูปสี่เหลี่ยมยอมุม
สลับซับซอนลดหลั่นกันไปจนถึงยอด หางจากปราสาทประมาณ 
10 เสน มีสระน้ําขนาดใหญกวางดานละ 80 เมตร มีรองระบายน้ํา
จากยอดเขาลงมาสูสระรองน้ําลึกประมาณ 2 เมตร 
ปราสาทปรางคกู




ปราสาทปรางคกู อ.ปรางคก จ.ศรีสะเกษ 
                         ู
ปราสาทปรางคกู
ปราสาทปรางคกู ตั้งอยูที่บานกู ปรางคองคนี้สรางดวยอิฐเรียงแผน
โต ๆ เหมือนปราสาทศีขรภูมิที่จังหวัดสุรินทรซึ่งเปนศาสนสถาน
สมัยขอมที่เกาแกมาก มีอายุกวาพันปมาแลว  ดานหนาปรางคกูมีสระ
น้ําขนาดใหญ เปนทําเลพักหากินของนกเปดน้ํา ซึ่งมีมากในชวงฤดู
แลงตั้งแตเดือนกุมภาพันธเปนตนไป การเดินทาง อยูหางจากศรีสะ
เกษเปนระยะทาง ประมาณ ๗๐ กิโลเมตร สามารถเดินทางเขาถึงได
สองเสนทางคือ เสนทางศรีสะเกษ-สุรินทร แลวแยกซายเขาทาง
หลวง ๒๒๓๔ หรือเสนทางศรีสะเกษ-ขุขันธ แลวแยกขวาเขาทาง
หลวงหมายเลข ๒๑๖๗ ปรางคกูอยูหางจากตัวอําเภอ ๑๐ กิโลเมตร
กีฬา
หางสรรพสินคา


•   บิ๊กซี ศรีสะเกษ
•   เทสโก โลตัส ศรีสะเกษ
•   ซุนเฮง
•   แม็คโคร ศรีสะเกษ
จังหวัดศรีสะเกษ1
จังหวัดศรีสะเกษ1
จังหวัดศรีสะเกษ1
จังหวัดศรีสะเกษ1
จังหวัดศรีสะเกษ1
จังหวัดศรีสะเกษ1
จังหวัดศรีสะเกษ1

More Related Content

What's hot (7)

ศ ลปะอ นเด_ย
ศ ลปะอ นเด_ยศ ลปะอ นเด_ย
ศ ลปะอ นเด_ย
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.
 
สระบุรี
สระบุรีสระบุรี
สระบุรี
 
ฝันถึงในหลวง
ฝันถึงในหลวงฝันถึงในหลวง
ฝันถึงในหลวง
 
#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดีย#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดีย
 
ลพบุรี
ลพบุรีลพบุรี
ลพบุรี
 

Similar to จังหวัดศรีสะเกษ1

งานนำเสนอ1.ppt
งานนำเสนอ1.pptงานนำเสนอ1.ppt
งานนำเสนอ1.ppt
Beebe Benjamast
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัย
sangworn
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
Ning Rommanee
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
JulPcc CR
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
JulPcc CR
 
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
teacherhistory
 

Similar to จังหวัดศรีสะเกษ1 (20)

งานนำเสนอ1.ppt
งานนำเสนอ1.pptงานนำเสนอ1.ppt
งานนำเสนอ1.ppt
 
Sukhothai
SukhothaiSukhothai
Sukhothai
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสาน
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัย
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
ก่อนสถาปนาสุโขทัย
 ก่อนสถาปนาสุโขทัย ก่อนสถาปนาสุโขทัย
ก่อนสถาปนาสุโขทัย
 
จังหวัดศรีสะเกษ
จังหวัดศรีสะเกษจังหวัดศรีสะเกษ
จังหวัดศรีสะเกษ
 
จังหวัดนครราชสีมา502
จังหวัดนครราชสีมา502จังหวัดนครราชสีมา502
จังหวัดนครราชสีมา502
 
จังหวัดนครราชสีมา502
จังหวัดนครราชสีมา502จังหวัดนครราชสีมา502
จังหวัดนครราชสีมา502
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
วีรชนชาวบ้านบางระจัน+583+dltvp6+55t2his p05 f14-1page
วีรชนชาวบ้านบางระจัน+583+dltvp6+55t2his p05 f14-1pageวีรชนชาวบ้านบางระจัน+583+dltvp6+55t2his p05 f14-1page
วีรชนชาวบ้านบางระจัน+583+dltvp6+55t2his p05 f14-1page
 
วีระชนชาวบ้านบางระจัน ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f14-1page
วีระชนชาวบ้านบางระจัน ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f14-1pageวีระชนชาวบ้านบางระจัน ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f14-1page
วีระชนชาวบ้านบางระจัน ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f14-1page
 
วีระชนชาวบ้านบางระจัน ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f14-4page
วีระชนชาวบ้านบางระจัน ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f14-4pageวีระชนชาวบ้านบางระจัน ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f14-4page
วีระชนชาวบ้านบางระจัน ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f14-4page
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
 
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
 

More from Beebe Benjamast

ครูของแผ่นดิน
ครูของแผ่นดินครูของแผ่นดิน
ครูของแผ่นดิน
Beebe Benjamast
 
ความหมายของพระนาม
ความหมายของพระนามความหมายของพระนาม
ความหมายของพระนาม
Beebe Benjamast
 
ครูของแผ่นดิน1
ครูของแผ่นดิน1ครูของแผ่นดิน1
ครูของแผ่นดิน1
Beebe Benjamast
 
การศึกษา1
การศึกษา1การศึกษา1
การศึกษา1
Beebe Benjamast
 
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ1
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ1อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ1
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ1
Beebe Benjamast
 
ราชตระกูล1
ราชตระกูล1ราชตระกูล1
ราชตระกูล1
Beebe Benjamast
 
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก1
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก1พระราชพิธีบรมราชาภิเษก1
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก1
Beebe Benjamast
 
เสด็จขึ้นครองราชย์1
เสด็จขึ้นครองราชย์1เสด็จขึ้นครองราชย์1
เสด็จขึ้นครองราชย์1
Beebe Benjamast
 
พระราชประวัติ
พระราชประวัติพระราชประวัติ
พระราชประวัติ
Beebe Benjamast
 
พระราชบุตร1
พระราชบุตร1พระราชบุตร1
พระราชบุตร1
Beebe Benjamast
 
พระราชทรัพย์1
พระราชทรัพย์1พระราชทรัพย์1
พระราชทรัพย์1
Beebe Benjamast
 
พระราชกรณียกิจ พระราชนิพนธ์ และผลงานอื่น1
พระราชกรณียกิจ พระราชนิพนธ์ และผลงานอื่น1พระราชกรณียกิจ พระราชนิพนธ์ และผลงานอื่น1
พระราชกรณียกิจ พระราชนิพนธ์ และผลงานอื่น1
Beebe Benjamast
 
พระเกียรติยศ1
พระเกียรติยศ1พระเกียรติยศ1
พระเกียรติยศ1
Beebe Benjamast
 
ทรัพย์สินส่วนพระองค์1
ทรัพย์สินส่วนพระองค์1ทรัพย์สินส่วนพระองค์1
ทรัพย์สินส่วนพระองค์1
Beebe Benjamast
 
ด้านศิลปวัฒนธรรมและวรรณคดี1
ด้านศิลปวัฒนธรรมและวรรณคดี1ด้านศิลปวัฒนธรรมและวรรณคดี1
ด้านศิลปวัฒนธรรมและวรรณคดี1
Beebe Benjamast
 
ด้านดนตรี1
ด้านดนตรี1ด้านดนตรี1
ด้านดนตรี1
Beebe Benjamast
 
ทรงประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์1
ทรงประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์1ทรงประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์1
ทรงประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์1
Beebe Benjamast
 
ด้านศาสนา1
ด้านศาสนา1ด้านศาสนา1
ด้านศาสนา1
Beebe Benjamast
 

More from Beebe Benjamast (20)

ครูของแผ่นดิน
ครูของแผ่นดินครูของแผ่นดิน
ครูของแผ่นดิน
 
ความหมายของพระนาม
ความหมายของพระนามความหมายของพระนาม
ความหมายของพระนาม
 
ครูของแผ่นดิน1
ครูของแผ่นดิน1ครูของแผ่นดิน1
ครูของแผ่นดิน1
 
การศึกษา1
การศึกษา1การศึกษา1
การศึกษา1
 
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ1
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ1อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ1
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ1
 
อ้างอิง
อ้างอิงอ้างอิง
อ้างอิง
 
ราชตระกูล1
ราชตระกูล1ราชตระกูล1
ราชตระกูล1
 
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก1
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก1พระราชพิธีบรมราชาภิเษก1
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก1
 
เสด็จขึ้นครองราชย์1
เสด็จขึ้นครองราชย์1เสด็จขึ้นครองราชย์1
เสด็จขึ้นครองราชย์1
 
พระราชประวัติ
พระราชประวัติพระราชประวัติ
พระราชประวัติ
 
พระราชบุตร1
พระราชบุตร1พระราชบุตร1
พระราชบุตร1
 
พระราชทรัพย์1
พระราชทรัพย์1พระราชทรัพย์1
พระราชทรัพย์1
 
พระราชกรณียกิจ พระราชนิพนธ์ และผลงานอื่น1
พระราชกรณียกิจ พระราชนิพนธ์ และผลงานอื่น1พระราชกรณียกิจ พระราชนิพนธ์ และผลงานอื่น1
พระราชกรณียกิจ พระราชนิพนธ์ และผลงานอื่น1
 
พระเกียรติยศ1
พระเกียรติยศ1พระเกียรติยศ1
พระเกียรติยศ1
 
ทรัพย์สินส่วนพระองค์1
ทรัพย์สินส่วนพระองค์1ทรัพย์สินส่วนพระองค์1
ทรัพย์สินส่วนพระองค์1
 
ด้านศิลปวัฒนธรรมและวรรณคดี1
ด้านศิลปวัฒนธรรมและวรรณคดี1ด้านศิลปวัฒนธรรมและวรรณคดี1
ด้านศิลปวัฒนธรรมและวรรณคดี1
 
ทรงผนวช1
ทรงผนวช1ทรงผนวช1
ทรงผนวช1
 
ด้านดนตรี1
ด้านดนตรี1ด้านดนตรี1
ด้านดนตรี1
 
ทรงประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์1
ทรงประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์1ทรงประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์1
ทรงประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์1
 
ด้านศาสนา1
ด้านศาสนา1ด้านศาสนา1
ด้านศาสนา1
 

จังหวัดศรีสะเกษ1