SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
Tech & Inno
INDUSTRY FOCUS | No.02 Vol.026 | October 2013
16 17
(Lean Production System, LPS)
การน�ำเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีมาใช้ภาคการผลิตมีกล่าวถึงค่อนข้างจ�ำกัด เพื่อ
ให้สะท้อนเห็นประโยชน์ของเทคโนโลยีดังกล่าวต่อภาคการผลิต จ�ำเป็นอย่างยิ่ง
ที่จะน�ำแนวคิดในการปรับปรุงกระบวนการท�ำงานมาช่วยในการวิเคราะห์ หนึ่ง
ในแนวคิดที่จะชี้ให้เห็นประโยชน์ของเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีในกระบวนการผลิตคือ
แนวคิดการผลิตแบบลีน (Lean Production System)
สถาบันส่งเสริมความเป็นเลิศทาง
เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีแห่งประเทศไทย
	 การน�ำเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีมาใช้ภาคการ
ผลิตมีกล่าวถึงค่อนข้างจ�ำกัด ซึ่งสาเหตุส่วนหนึ่งอาจมา
จากประโยชน์ของเทคโนโลยีดังกล่าวที่มีต่อกระบวนการ
ผลิตยังไม่สามารถชี้ให้เห็นได้ชัดเจน เพื่อให้สะท้อนเห็น
ประโยชน์ของเทคโนโลยีดังกล่าวต่อภาคการผลิตจ�ำเป็น
อย่างยิ่งที่จะน�ำแนวคิดในการปรับปรุงกระบวนการ
ท�ำงานมาช่วยในการวิเคราะห์ หนึ่งในแนวคิดดังกล่าว
ที่จะชี้ให้เห็นประโยชน์ของเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีใน
กระบวนการผลิตคือ แนวคิดการผลิตแบบลีน (Lean
Production System)
ความหมาย
Lean Production
	 กระบวนการผลิตแบบลีน (Lean Produc-
tion) เป็นกระบวนการผลิตที่ให้ความส�ำคัญในการใช้
ทรัพยากรในการผลิตน้อยที่สุด ดังนั้น การท�ำงานดัง
กล่าวจะเน้นที่ลดกิจกรรมใด ๆ ที่มิได้สร้างคุณค่าในการ
ผลิต (non-value added) ตามแนวคิดแบบลีนกิจกรรม
ที่มิได้สร้างคุณค่าในการผลิตจะก่อให้เกิดความสูญเสีย
(Waste) ตามแนวคิดของ Toyota ความสูญเสียในการ
ผลิตสามารถแบ่งได้เป็น 7 ประเด็น ดังต่อไปนี้
	 1. การผลิตสินค้ามากเกินไป (Over Produc-
tion) การผลิตสินค้ามากเกินความต้องการจะก่อให้เกิด
ความสูญเสียในทุกกิจกรรมของการผลิต รวมถึงเวลาที่
ต้องจัดเก็บสินค้าเหล่านั้น
	 2.การหยุดรอ (Waiting) ความสูญเสียที่เกิดจาก
การรอคือ เวลาที่จะต้องรองานต่าง ๆ จากกระบวนการ
ผลิตในขั้นตอนการท�ำงานก่อนหน้า ก่อนที่จะสามารถ
ด�ำเนินการผลิตต่อไปได้
	 3.การเคลื่อนย้ายสินค้า(Transport) การเคลื่อน
ย้ายชิ้นงานระหว่างการผลิต จะต้องใช้เวลา แรงงาน
ดังนั้น การที่ต้องเคลื่อนย้ายสินค้าโดยไม่จ�ำเป็น ท�ำให้
เกิดความสูญเสียในด้านเวลา แรงงานในกระบวนการ
ผลิตได้ และความเสียหายในชิ้นงานจากการขนส่งที่ไม่
เหมาะสม
	 4. กระบวนการท�ำงานที่ไม่เหมาะสม (Inap-
propriateProcessing) เป็นขั้นตอนการท�ำงานที่ซับซ้อน
เกินความจ�ำเป็นท�ำให้เกิดความสูญเสียในการท�ำงานซึ่ง
อาจจะเป็นการสูญเสียจากการขนส่ง แรงงาน หรือเวลา
	 5. สินค้าคงเหลือที่ไม่จ�ำเป็น (Unnecessary
Inventory) ประกอบด้วยองค์ประกอบการผลิตที่ไม่ได้
ใช้งาน ซึ่งจะก่อให้เกิดความสูญเสียในหลายด้าน ได้แก่
ต้นทุนในการจัดเก็บคุณภาพของสินค้าที่เสียไปตามระยะ
เวลาในการจัดเก็บ
	 6. กิจกรรมการเคลื่อนไหวที่ไม่จ�ำเป็น (Unne-
cessaryMotion)การที่คนท�ำงานจ�ำเป็นต้องเคลื่อนไหว
ร่างกายเพื่อท�ำกิจกรรมที่ไม่ได้ก่อให้เกิดประโยชน์ในการ
ผลิต
	 7. สินค้ามีต�ำหนิ (Defect) การผลิตสินค้าที่มี
ต�ำหนิมีผลโดยตรงต่อความสูญเสียในด้านต้นทุนการ
ผลิตในการผลิตชิ้นงานที่ไม่มีคุณภาพและต้นทุนที่เพิ่ม
ขึ้นในการแก้ไขชิ้นงานดังกล่าว
Lean Production กับ
เทคโนโลยีบาร์โค้ด
	 เมื่อท�ำการพิจารณาตามแนวคิดLeanProduc-
tion จะเห็นได้ว่า กระบวนการผลิตที่ใช้เทคโนโลยีบาร์-
โค้ดในการท�ำงานจะก่อให้เกิดความสูญเสียในด้านต่าง ๆ
ดังต่อไปนี้
	 การใช้บาร์โค้ดในการเก็บข้อมูลจะท�ำให้เกิด
ความสูญเสีย เนื่องจากมีการเคลื่อนไหวในกิจกรรมที่ไม่
จ�ำเป็น  (Unnecessary Motion) ผู้ท�ำงานจ�ำเป็นต้องมี
การน�ำเครื่องอ่านบาร์โค้ดมาท�ำการอ่านบาร์โค้ดที่ติดอยู่
บนชิ้นงาน   หรือไม่ก็ก่อให้เกิดความสูญเสียในการเคลื่อน
ย้ายสินค้า(Transport)อย่างไม่จ�ำเป็นเพราะต้องเคลื่อน
ย้ายชิ้นงานเข้าไปให้เครื่องอ่านบาร์โค้ดท�ำการอ่านข้อมูล
นอกจากนั้น การใช้บาร์โค้ดจ�ำเป็นที่เจ้าหน้าที่ท�ำการ
สแกนบาร์โค้ดทุกครั้งที่ต้องการเก็บข้อมูลจากการศึกษา
การน�ำเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีไปช่วยในการท�ำงานของ
บริษัท Rockwell Reliance Electric (Datalogic Case
Study)พบว่ากระบวนการท�ำงานที่มีขั้นตอนการท�ำงาน
10-30ขั้นตอนการท�ำงานจะมีโอกาสที่เจ้าหน้าที่ท�ำการ
สแกนบาร์โค้ดผิดพลาด 1 % การที่มีการสแกนบาร์โค้ด
ผิดพลาดดังกล่าวท�ำให้เกิดการสูญเสียได้หลายประการ
ตัวอย่างเช่นภาพด้านล่างนี้
ชนิดของความสูญเสีย
ลักษณะทำ�งานที่ทำ�ให้เกิดความสูญเสีย
จากการที่มิได้ใช้เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี หน่วยนับความสูญเสีย
การผลิตมากเกินไป การสแกนบาร์โค้ดผิด ทำ�ให้ข้อมูลที่บันทึกใน
ระบบไม่ถูกต้อง เนื่องจากจำ�นวนชิ้นงานที่มีอยู่
จริง ไม่ตรงกับจำ�นวนของชิ้นงานที่บันทึกในระบบ
จำ�นวนชิ้นงานที่ผลิตขึ้นมาเกิน
การรอ การบันทึกข้อมูลด้วยการสแกนบาร์โค้ดหรือการ
จดข้อมูลเข้าสู่ระบบ จะใช้เวลานาน และอาจจะ
ต้องแก้ไขหากมีการบันทึกผิดพลาด
เวลา
การขนส่ง จำ�เป็นต้องมีการเคลื่อนย้ายชิ้นงานเพื่อมาทำ�การ
สแกน เวลา
กระบวนการทำ�งานที่ไม่เหมาะสม ในกรณีที่มีการสแกนบาร์โค้ดผิดพลาด ทำ�ให้ต้อง
นำ�ชิ้นงานมาดำ�เนินการแก้ไข เวลา
สินค้าคงเหลือที่ไม่จำ�เป็น ในกรณีที่มีการสแกนบาร์โค้ดผิดพลาด ทำ�ให้ต้อง
ผลิตชิ้นงานที่ไม่จำ�เป็น จำ�นวนชิ้นงานที่ผลิตขึ้นมาเกิน
กิจกรรมการเคลื่อนไหวที่ไม่
จำ�เป็น
ในการใช้บาร์โค้ด เจ้าหน้าที่จำ�เป็นต้องเคลื่อนไหว
ร่างกายไปทำ�สแกน เวลา
สินค้าเสียหาย ในกรณีที่มีการสแกนบาร์โค้ดผิดพลาด ทำ�ให้ผลิต
สินค้าไม่ตรงตามที่ต้องการ จะทำ�ให้เกิดความ
สูญเสียขึ้น
จำ�นวนชิ้นงานที่เสียหาย
เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี
กับระบบการผลิตแบบลีน
	 หากการผิดพลาดดังกล่าว เกิดขึ้นในกรณีที่ชิ้น
งานได้มีการเคลื่อนย้ายไปขั้นตอนการท�ำงานต่อไป แต่
เจ้าหน้าที่ที่ท�ำงานในขั้นตอนก่อนหน้านั้นไม่ได้ท�ำการ
สแกนข้อมูลเข้าสู่ระบบ จะท�ำให้เจ้าหน้าที่ในขั้นตอน
ต่อจากนั้น ไม่สามารถด�ำเนินการใด ๆ ได้ จ�ำเป็นต้องรอ
(Waiting) เพื่อให้ข้อมูลของชิ้นงานดังกล่าวได้ถูกสแกน
เข้าสู่ระบบก่อน นอกเหนือจากความสูญเสียในการรอ
ความสูญเสียที่เพิ่มเติม ได้แก่ ชิ้นงานจ�ำเป็นต้องถูก
เคลื่อนย้ายย้อนกลับมาเพื่อท�ำสแกนบาร์โค้ด นอกจาก
นั้น การที่สแกนข้อมูลผิดพลาดสามารถน�ำไปสู่ความ
Lean Production กับ
เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี
	 ตามที่ทราบเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีมีความแตก-
ต่างกับเทคโนโลยีบาร์โค้ดในหลายประเด็นตัวอย่างเช่น
การอ่านข้อมูลได้อัตโนมัติโดยไม่ต้องมองเห็นอาร์เอฟไอ-
ดี Tag เป็นต้น ในการวิเคราะห์เพื่อให้เห็นประโยชน์ของ
เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีในกระบวนการผลิต จะท�ำการ
แยกพิจารณาตามขั้นตอนการบริหารข้อมูลโดยเริ่มต้น
จากกระบวนการเก็บข้อมูล(DateCollection)การเชื่อม-
โยงข้อมูล (Data Dependency) และความชัดเจนของ
ข้อมูล (Data Visibility)
ŸŸ กระบวนการเก็บข้อมูล (Data Collection)
ในการเก็บข้อมูลโดยมิได้ใช้เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี ไม่
ว่าจะเป็นการเก็บข้อมูลด้วยการจดบันทึก หรือการใช้
เทคโนโลยีบาร์โค้ด จะท�ำให้เกิดความสูญเสียขึ้น ใน
กรณีการใช้เทคโนโลยีบาร์โค้ด จะท�ำให้เกิดความสูญ-
เสียในด้านการเคลื่อนไหวที่ไม่จ�ำเป็น (Unnecessary
Motion) เพราะเจ้าหน้าที่ต้องน�ำเครื่องอ่านบาร์โค้ดมา
ท�ำการอ่านบาร์โค้ดที่ติดบนชิ้นงานและเกิดความสูญเสีย
ในด้านการขนส่ง(Transportation)เนื่องจากต้องเคลื่อน
ย้ายชิ้นงานมาอ่านด้วยเครื่องอ่านบาร์โค้ด ในกรณีที่ใช้
การเก็บข้อมูลแบบจดบันทึก นอกเหนือจากความสูญ-
เสียในการเคลื่อนไหวที่ไม่จ�ำเป็น เจ้าหน้าที่ต้องหยุด
งานที่ท�ำอยู่ เพื่อมาท�ำการบันทึกข้อมูล เมื่อชิ้นงานดัง
กล่าวเสร็จสิ้นกระบวนการท�ำงานทั้งหมด ข้อมูลที่มีการ
บันทึกไว้ในแต่ละขั้นตอนการผลิต จะต้องท�ำการบันทึก
เข้าสู่ระบบอีกครั้ง ซึ่งเป็นการท�ำให้เกิดความสูญเสียใน
เรื่องกระบวนการท�ำงานที่ไม่เหมาะสม (Unnecessary
Process) เพิ่มเติมขึ้นไปอีก
	 ในกรณีที่มีการน�ำเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีมาใช้
งานในการเก็บข้อมูล ในขั้นต้นจะเห็นได้ว่า สามารถลด
ความสูญเสียในด้านการเคลื่อนไหวที่ไม่จ�ำเป็น และ
ความสูญเสียในด้านการขนส่ง เนื่องจากเทคโนโลยีดัง
กล่าวสามารถที่อ่านข้อมูลได้อัตโนมัติ โดยไม่ต้องอาศัย
เจ้าหน้าที่มาท�ำการสแกน หรือหยุดการท�ำงานที่ท�ำอยู่
เพื่อบันทึกข้อมูล นอกจากนั้น เมื่อเสร็จสิ้นครบขั้นตอน
การท�ำงาน ข้อมูลทั้งหมดก็จะถูกบันทึกเข้าไปในระบบ
พร้อมกัน ไม่จ�ำเป็นต้องให้เจ้าหน้าที่มาท�ำการบันทึก
ข้อมูลเข้าสู่ระบบเหมือนระบบการจดบันทึก ซึ่งเป็นการ
ลดความสูญเสียในเรื่องกระบวนการท�ำงานที่ไม่เหมาะ-
สมตามไปด้วย
ŸŸ กระบวนการเชื่อมโยงของข้อมูล (Data De-
pendency) ข้อมูลรหัสชิ้นงานที่ใช้ในการผลิต จะมีการ
เชื่อมข้อมูลดังกล่าวกับข้อมูลอื่นๆของชิ้นงานนั้นๆเช่น
น�ำไปเชื่อมโยงกับสินค้าส�ำเร็จรูป หรือชิ้นส่วนงานอื่นที่
ต้องใช้ร่วมกับชิ้นงานที่ผลิตอยู่ นอกจากนั้น ข้อมูลของ
ชิ้นงานจะมีการเปลี่ยนแปลง (Update) ในแต่ละขั้น-
ตอนของการผลิต
ชนิดของความสูญเสีย
ลักษณะทำ�งานที่ทำ�ให้เกิดความสูญเสีย
จากการที่มิได้ใช้เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี ประโยชน์ของเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี
การผลิตมากเกินไป การสแกนบาร์โค้ดผิด ทำ�ให้ข้อมูลที่บันทึกใน
ระบบไม่ถูกต้อง เนื่องจากจำ�นวนชิ้นงานที่มีอยู่
จริงไม่ตรงกับจำ�นวนของชิ้นงานที่บันทึกในระบบ
ช่วยให้ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องในเวลาที่
ต้องการ (Data Visibility)
การรอ การบันทึกข้อมูลด้วยการสแกนบาร์โค้ดหรือการ
จดข้อมูลเข้าสู่ระบบ จะใช้เวลานาน และอาจจะ
ต้องแก้ไขหากมีการบันทึกผิดพลาด
บันทึกข้อมูลอัตโนมัติ  
การขนส่ง จำ�เป็นต้องมีการเคลื่อนย้ายชิ้นงานเพื่อมาทำ�การ
สแกน
บันทึกข้อมูลอัตโนมัติ  
กระบวนการทำ�งานที่
ไม่เหมาะสม
ในกรณีที่มีการสแกนบาร์โค้ดผิดพลาด ทำ�ให้ต้อง
นำ�ชิ้นงานมาดำ�เนินการแก้ไข
บันทึกข้อมูลอัตโนมัติ  
สินค้าคงเหลือที่ไม่จำ�เป็น ในกรณีที่มีการสแกนบาร์โค้ดผิดพลาด ทำ�ให้ต้อง
ผลิตชิ้นงานที่ไม่จำ�เป็น
ช่วยให้ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องในเวลาที่
ต้องการ (Data Visibility)
กิจกรรมการเคลื่อนไหว
ที่ไม่จำ�เป็น
ในการใช้บาร์โค้ด เจ้าหน้าที่จำ�เป็นต้องเคลื่อนไหว
ร่างกายไปทำ�สแกน
บันทึกข้อมูลอัตโนมัติ  
สินค้าเสียหาย ในกรณีที่มีการสแกนบาร์โค้ดผิดพลาด ทำ�ให้ผลิต
สินค้าไม่ตรงตามที่ต้องการ จะทำ�ให้เกิดความ
สูญเสียขึ้น
ช่วยให้ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องในเวลาที่
ต้องการ (Data Visibility)
สูญเสียในอีกหลายประเด็นเช่นการผลิตสินค้ามากเกิน
ไป (Over Production) สินค้าคงเหลือที่ไม่จ�ำเป็น (Un-
necessary Inventory) หรือสินค้าเสียหาย (Defects)
เป็นต้น จากตัวอย่างข้างต้นจะเห็นได้ว่า ในการท�ำงาน
ที่มิได้น�ำเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีมาใช้งาน ความสูญ
เสียที่อาจจะเกิดขึ้นสามารถสรุปได้ตามตารางด้านบน
(ตารางที่ 1)
ตารางที่ 1
ตารางที่ 2
Tech & Inno
INDUSTRY FOCUS | No.02 Vol.026 | October 2013
18 19
	 นวัตกรรมด้านกระบวนการโดยการปรับปรุง
ระบบอบแห้งของเครื่องพิมพ์ เพื่อการแห้งตัวของสี
พิมพ์ที่ไวขึ้น ซึ่งบริษัท เค. เอ็ม. แพ็กเกจจิ้ง จ�ำกัด ได้
วิเคราะห์หาสาเหตุและแนวทางการแก้ไขป้องกัน และ
ได้ข้อสรุปในการแก้ไขโดยการเปลี่ยนระบบการแห้ง
ตัวของหมึกพิมพ์ออฟเซตจากระบบการแห้งตัวโดย
การท�ำปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศ (Oxidation)
เป็นระบบการแห้งตัวโดยใช้แสง Ultraviolet (UV)
โดยระบบการแห้งตัวแบบนี้จะใช้กับหมึกพิมพ์ที่เป็นUV
โดยเฉพาะ เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ดังนี้
ŸŸ เนื่องจากระบบการแห้งตัวโดยใช้แสง UV นั้น
สามารถแห้งตัวได้ทันทีหลังจากที่มีการพิมพ์งานจึงท�ำให้
ไม่ต้องรอให้งานพิมพ์แห้งตัว ระยะเวลาในการแห้งตัว
เป็น 0 เป็นผลให้ Lead Time ในการผลิตของหน่วยงาน
พิมพ์ออฟเซตลดลง จาก 5-7 วัน เป็น 0 วัน
ŸŸ ไม่เกิดปัญหางานพิมพ์ซับหลัง/เลอะหลังและ
ไม่มีต้นทุนในการคัดแยก คัดเช็ด เกิดขึ้น 100 %
ŸŸ ไม่จ�ำเป็นต้องลดความเร็วที่ใช้ในการพิมพ์งาน
เพื่อเป็นการป้องกันปัญหางานพิมพ์ซับหลัง/เลอะหลัง
เหมือนกับระบบการแห้งตัวแบบเดิม (แบบ Oxidation)
ŸŸ ในขั้นตอนของการพิมพ์งานระบบออฟเซต
ระบบนี้ไม่มีการพ่นแป้งเพื่อป้องกันงานพิมพ์เกิดการซับ
หลัง/เลอะหลังจึงไม่ท�ำให้เกิดการฟุ้งกระจายของแป้งพ่น
เหมือนกับระบบการแห้งตัวแบบเดิม (แบบ Oxidation)
ข้อแตกต่างของการแห้งตัวของ
หมึกธรรมดา (Conventional)
และหมึกพิมพ์ UV คือ
	 ตามกระบวนการที่กล่าวไว้ข้างต้นการเก็บข้อมูล
ด้วยวิธีการจดบันทึก หรือใช้เทคโนโลยีบาร์โค้ด มีความ
เป็นไปได้ที่เกิดข้อผิดพลาดเนื่องจากต้องอาศัยเจ้าหน้าที่
เข้ามาเกี่ยวข้อง หากเกิดความผิดพลาดในส่วนดังกล่าว  
จะมีผลให้เกิดความสูญเสียในหลายด้านเช่นความสูญ-
เสียการรอ เพื่อท�ำการแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องก่อน ก่อน
จะไปงานขั้นต่อไป หากแก้ไขข้อมูลไม่ทันอาจจะมีผล
ท�ำให้เกิดความสูญเสียอื่นๆที่ตามมาตัวอย่างเช่นอาจ
จะท�ำให้เกิดสินค้าเสียหายผลิตสินค้ามากเกินไปหรือมี
สินค้าคงเหลือที่ไม่จ�ำเป็น เป็นต้น  
	 ในทางตรงกันข้าม หากมีการใช้เทคโนโลยีอาร์-
เอฟไอดีเข้ามาช่วยในกระบวนการบันทึกข้อมูลหรือการ
เชื่อมโยงข้อมูลที่บันทึกกับข้อมูลอื่น ๆ การท�ำงานดัง
กล่าว จะเป็นอัตโนมัติทั้งหมด ซึ่งมีผลท�ำให้ลด Human
error ลงไปได้ เมื่อความผิดพลาดในส่วนนี้ลดน้อยลง
ย่อมมีผลให้ความสูญเสียที่กล่าวมาข้างต้นได้แก่ความ
สูญเสียในการอ ความสูญเสียสินค้าเสียหาย ความสูญ-
เสียผลิตสินค้าเกินไป หรือความสูญเสียสินค้าคงเหลือที่
ไม่จ�ำเป็นลดลงไปด้วย
ŸŸ ความชัดเจนของข้อมูล(DataVisibility)ความ
ชัดเจนของข้อมูล หมายถึง การได้รับข้อมูลถูกต้องใน
เวลาที่ผู้ใช้งานต้องการ ในกระบวนการผลิตหากผู้ตัดสินใจ
ได้รับทราบข้อมูลปริมาณชิ้นงานที่อยู่ระหว่างการผลิตที่
ถูกต้องภายในเวลาที่ก�ำหนด ย่อมมีผลในการลดความ
สูญเสียทางด้านผลิตสินค้ามากเกินไป หากผู้ตัดสินใจ
ไม่ทราบถึงจ�ำนวนชิ้นงานที่อยู่ระหว่างการผลิต อาจจะ
ตัดสินใจผลิตสินค้ามากเกินความจ�ำเป็น ซึ่งก็จะน�ำไปสู่
ความสูญเสียในสินค้าคงคลัง
	 เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีสามารถที่จะท�ำให้ข้อมูล
ในการผลิตมีความชัดเจนมากขึ้นเนื่องจากเทคโนโลยีดัง
กล่าวสามารถเก็บข้อมูลของแต่ละชิ้นได้ทันทีที่ชิ้นงาน
มาถึงต�ำแหน่งที่ก�ำหนด ท�ำให้ข้อมูลในระบบกับจ�ำนวน
ชิ้นตรงกัน โดยไม่ต้องอาศัยคนเข้ามาเกี่ยวข้อง การที่
สามารถได้ข้อมูลในรูปแบบดังกล่าวท�ำให้ผู้ตัดสินใจรับ
ทราบสถานะและจ�ำนวนที่อยู่ในกระบวนการผลิตในเวลา
ที่ต้องการเพื่อประกอบในการตัดสินใจได้ถูกต้องซึ่งมีผล
ท�ำให้ลดความสูญเสียสองด้านที่กล่าวมาข้างต้น
	 จากที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่า เทคโนโลยีอาร์-
เอฟไอดีสามารถช่วยให้กระบวนการผลิตมีประสิทธิภาพ
มากขึ้น โดยการลดความสูญเสียในด้านต่าง ๆ ความ
สูญเสียทั้ง 7 ประเภท ที่กล่าวมาสามารถลดลงได้ด้วย
การน�ำเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีมาใช้ตามตารางในหน้า
17 (ตารางที่ 2)
ขอบคุณแหล่งข้อมูลจาก
บริษัท ไอเดนทิไฟ จ�ำกัด
บรรณานุกรม
Brintrup A, Roberts P, and Astle M., Definition of
RFIDDecisionSupportSystemforManufac-
turing Applications, BRIDGE Project, June
2008.
BrintrupA,RobertsP,andAstleM.,Report:Metho-
dology for manufacturing process analysis
for RFID implementation, BRIDGE Project,
March 2008.
ผู้ที่สนใจใช้งาน RFID ติดต่อรับค�ำปรึกษา และเรียนรู้
เทคโนโลยีด้าน RFID ได้ที่ สถาบันส่งเสริมความ
เป็นเลิศทางเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีแห่งประเทศไทย
โทร. 0-2345-1211, -1213, -1231 หรืออีเมล
rfid.th@gmail.com; mintrak@off.fti.or.th หรือเวปไซต์
www.rfid.or.th
การปรับปรุงระบบอบแห้งของเครื่องพิมพ์
เพื่อการแห้งตัวของสีพิมพ์ที่ไวขึ้น
เครื่องต้นแบบจ่ายหมึกพิมพ์ (ระบบปิด)
ส�ำหรับการพิมพ์ออฟเซต
	 ปัจจุบันอุตสาหกรรมการพิมพ์มียอดการผลิต
เป็นจ�ำนวนมากและได้มีการคิดค้นพัฒนาเครื่องมือ
เทคโนโลยีในด้านต่าง ๆ ขึ้นมา เพื่อเป็นการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีเข้ามาช่วยพัฒนาการพิมพ์ ระบบการพิมพ์
ออฟเซตเป็นระบบการพิมพ์ที่ได้รับความนิยมสูง แต่ถึง
อย่างไรก็ตาม ในระบบการพิมพ์ออฟเซตก็ยังมีวัสดุสิ้น-
เปลืองเช่นหมึกพิมพ์เนื่องจากการใช้หมึกพิมพ์ในแต่ละ
ครั้งนั้นจะใช้หมึกพิมพ์เป็นกระป๋องซึ่งมีราคาสูงกว่าหมึก
พิมพ์เป็นถังขนาดใหญ่ เมื่อหมึกพิมพ์หมดก็จะเหลือ
กระป๋องหมึกที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ เนื่องจากหมึก
พิมพ์เป็นสารเคมีท�ำให้เกิดมลพิษทางสิ่งแวดล้อมดังนั้น
อาจารย์อัครเดชทองสว่างและนักศึกษาสาขาวิชา
เทคโนโลยีการพิมพ์ คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จึงได้จัด
ท�ำเครื่องต้นแบบจ่ายหมึกพิมพ์ (ระบบปิด) ส�ำหรับการ
พิมพ์ออฟเซต เพื่อรองรับระบบการพิมพ์ออฟเซตใน
อุตสาหกรรมการพิมพ์ขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่
	 ในกระบวนการพิมพ์ออฟเซตนั้นจะต้องมีการตัก
หมึกจากกระป๋องใส่รางหมึกเพื่อพิมพ์งาน เมื่อเวลาตัก
หมึกออกจากกระป๋องแล้วจะมีหมึกที่เหลืออยู่ในกระป๋อง
หมึกที่เหลือนั้นหน้าหมึกจะไม่มีวัสดุปิดไว้จึงท�ำให้หน้า
หมึกท�ำปฏิกิริยากับอากาศที่ผ่านเข้าไปในกระป๋องหน้า
หมึกจึงเกิดการแห้งตัว เมื่อจะใช้หมึกในครั้งต่อไปก็ต้อง
ตักหน้าหมึกที่แห้งตัวออกทิ้งซึ่งหน้าหมึกส่วนที่ทิ้งไปนั้น
เป็นตัวที่ท�ำให้เกิดมลพิษดังนั้นอุตสาหกรรมการพิมพ์ที่
ผลิตงานสิ่งพิมพ์ต่างๆที่เป็นโรงพิมพ์ขนาดใหญ่จึงได้มี
การสั่งซื้อน�ำเข้าเครื่องจ่ายหมึกพิมพ์(ระบบปิด)ส�ำหรับ
การพิมพ์ออฟเซตจากประเทศญี่ปุ่นเยอรมนีและเกาหลี
เข้ามาใช้งานเพราะในประเทศไทยนั้นยังไม่มีผู้ผลิตราย
ใดที่สามารถผลิตเครื่องจ่ายหมึกพิมพ์(ระบบปิด)ส�ำหรับ
การพิมพ์ออฟเซตออกจ�ำหน่ายเนื่องจากมีต้นทุนในการ
ผลิตสูง จึงได้คิดค้นเครื่องต้นแบบจ่ายหมึกพิมพ์ (ระบบ
ปิด)ส�ำหรับการพิมพ์ออฟเซตขึ้นมาเพื่อควบคุมค่าความ
หนืดของหมึกพิมพ์ที่มีผลต่องานพิมพ์เป็นอย่างมากและ
ลดต้นทุนในการสั่งซื้อหมึกเป็นกระป๋องเข้ามาใช้ในโรง-
พิมพ์ เพราะการสั่งซื้อหมึกพิมพ์เป็นกระป๋องที่น�ำมาใช้
ในโรงพิมพ์แต่ละครั้งนั้นจะต้องใช้ต้นทุนที่มีราคาสูงกว่า
การใช้หมึกพิมพ์ที่เป็นถังขนาดใหญ่เช่นสั่งซื้อหมึกพิมพ์
1 กระป๋อง บรรจุหมึกพิมพ์หนัก 1 กก. ราคา 200 บาท/
กระป๋อง ในระยะเวลา 1 เดือน โรงพิมพ์จะต้องใช้หมึก
พิมพ์ประมาณ 2 ตัน เท่ากับหมึกพิมพ์ 2,000 กก. หาก
เปลี่ยนมาใช้เป็นถังขนาดใหญ่จะอยู่ที่กก.ละ180บาท
ทางโรงพิมพ์จะประหยัดต้นทุน กก. ละ 20 บาท ในการ
สั่งซื้อหมึกพิมพ์ที่เป็นถังขนาดใหญ่
	 หมึกพิมพ์มีค่าความหนืดสูง จึงต้องท�ำการ
ทดสอบเครื่องต้นแบบฯ ใช้แรงดันลมตั้งแต่ 1 บาร์ - 6
บาร์, 6.5 บาร์, 7 บาร์, 7.5 บาร์, 8 บาร์, 8.5 บาร์, 9 บาร์,
9.5 บาร์ และ 10 บาร์ ผลปรากฏว่าหมึกพิมพ์มีการปั๊ม
จ่ายออกมาในแรงดันลมที่ 6 บาร์ ขึ้นไป เครื่องจึงจะ
สามารถปั๊มจ่ายหมึกพิมพ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท�ำให้
สามารถลดต้นทุนในการสั่งซื้อหมึกพิมพ์ลง ซึ่งเปลี่ยน
จากการสั่งซื้อหมึกพิมพ์กระป๋องเล็กขนาด 1 กก. มา
เป็นหมึกพิมพ์ถังใหญ่ขนาด 20 กก. เป็นการลดมลพิษ
ทางสิ่งแวดล้อมและเพิ่มโอกาสในการพัฒนาเครื่องมือ
เทคโนโลยีในอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย
	 การใช้เครื่องต้นแบบฯ นั้นจะช่วยควบคุมใน
เรื่องของการแห้งตัวของหมึกพิมพ์ และสามารถควบคุม
คุณภาพค่าความหนืดของหมึกพิมพ์ให้คงที่ได้ตลอด
เวลา ในการสร้างเครื่องต้นแบบฯ จะใช้ในการปั๊มจ่าย
หมึกพิมพ์จากถังหมึกด้วยระบบลม ปั๊มจ่ายขึ้นสู่ท่อส่ง
หมึกไปยังรางหมึกของเครื่องพิมพ์เพื่อกระบวนการพิมพ์
ขั้นตอนต่อไปและข้อส�ำคัญสามารถท�ำให้หมึกสามารถ
ไหลลงสู่รางหมึกโดยตรง และน�ำไปใช้งานได้จริงใน
อุตสาหกรรมโรงพิมพ์ และลดต้นทุนค่าใช้จ่ายในการซื้อ
หมึก และลดมลพิษทางสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นแนวทางใน
การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
	 หมึกพิมพ์ UV จะแห้งตัวโดยการต่อตัวกันของ
โครงสร้างเล็ก ๆ จนเป็นโครงสร้างที่ใหญ่ขึ้น หรือการเกิด
พอลิเมอร์ ซึ่งหมึกพิมพ์ UV สามารถแห้งตัวได้จากการเกิด
ปฏิกิริยา UV Polymerization คืออาศัยรังสี UV เป็นตัว
กระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ ซึ่งโดยส่วนใหญ่
แล้วเป็นแบบอนุมูลอิสระ (Free Radical) ส่วนหมึกพิมพ์
ธรรมดาจะอาศัยการแห้งตัวแบบ Oxidation Polymeriza-
tion คืออาศัยอากาศ (ออกซิเจน, O2) เป็นตัวกระตุ้นโดย
การเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ ดังภาพ
	 ซึ่งลักษณะการแห้งตัวที่แตกต่างกันของทั้ง2ระบบ
จะเห็นว่า ระบบการแห้งตัวด้วยแสง UV จะมีการแห้งตัว
ที่เร็วกว่าระบบการแห้งตัวแบบอาศัยออกซิเจนในอากาศ
เนื่องจากระบวนการแห้งตัวของหมึกพิมพ์UVหลังจากผ่าน
แสงUVสารPhotoinitiatorที่มีอยู่ในหมึกจะถูกกระตุ้นแล้ว
ส่งผ่านอิเล็กตรอนไปยังวาร์นิชยูวีและตัวท�ำละลาย UV ที่
มีจุดเชื่อมต่อที่ว่องไวต่อปฏิกิริยา จนเกิดการเชื่อมต่อ แล้ว
แข็งตัวเป็นพอลิเมอร์(หมึกแห้ง)จึงเป็นเหตุผลที่ทางบริษัทฯ
ได้น�ำเทคโนโลยีนี้มาใช้ในการแก้ปัญหางานพิมพ์ซับหลัง/
เลอะหลัง ส�ำหรับงานพิมพ์ออฟเซตนั้นเอง
ลักษณะการแห้งตัวของหมึกธรรมดา (Conventional) และหมึกพิมพ์ UV

More Related Content

Similar to RFID Lean Production

บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารPrakaywan Tumsangwan
 
รายละเอียดโครงการพัฒนาฐานข้อมูลห่วงโซ่อุปทานระบบอัตโนมัติ
รายละเอียดโครงการพัฒนาฐานข้อมูลห่วงโซ่อุปทานระบบอัตโนมัติรายละเอียดโครงการพัฒนาฐานข้อมูลห่วงโซ่อุปทานระบบอัตโนมัติ
รายละเอียดโครงการพัฒนาฐานข้อมูลห่วงโซ่อุปทานระบบอัตโนมัติBOONLUE BOONKONG :Thai-German Institute
 
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
NSIIM Data Structure V 3.9 Present
NSIIM Data Structure V 3.9 PresentNSIIM Data Structure V 3.9 Present
NSIIM Data Structure V 3.9 Presentpkovitan
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพJakarin Damrak
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ053681478
 
Business approach thailand 4.0
Business approach thailand 4.0Business approach thailand 4.0
Business approach thailand 4.0OiL Thamanoon V
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี lukhamhan school
 

Similar to RFID Lean Production (20)

Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
 
3.2.1 ผู้บริหาร
3.2.1 ผู้บริหาร3.2.1 ผู้บริหาร
3.2.1 ผู้บริหาร
 
รายละเอียดโครงการพัฒนาฐานข้อมูลห่วงโซ่อุปทานระบบอัตโนมัติ
รายละเอียดโครงการพัฒนาฐานข้อมูลห่วงโซ่อุปทานระบบอัตโนมัติรายละเอียดโครงการพัฒนาฐานข้อมูลห่วงโซ่อุปทานระบบอัตโนมัติ
รายละเอียดโครงการพัฒนาฐานข้อมูลห่วงโซ่อุปทานระบบอัตโนมัติ
 
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
..
....
..
 
NSIIM Data Structure V 3.9 Present
NSIIM Data Structure V 3.9 PresentNSIIM Data Structure V 3.9 Present
NSIIM Data Structure V 3.9 Present
 
Information technology
Information technologyInformation technology
Information technology
 
Chapter2 part1
Chapter2 part1Chapter2 part1
Chapter2 part1
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Activity4_naka
Activity4_nakaActivity4_naka
Activity4_naka
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Business approach thailand 4.0
Business approach thailand 4.0Business approach thailand 4.0
Business approach thailand 4.0
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
 

More from Wirote Ng

Case study RFID Intelligent Cabinet
Case study   RFID Intelligent Cabinet Case study   RFID Intelligent Cabinet
Case study RFID Intelligent Cabinet Wirote Ng
 
RFID VMI (Vendor Managed Inventory
RFID VMI (Vendor Managed Inventory RFID VMI (Vendor Managed Inventory
RFID VMI (Vendor Managed Inventory Wirote Ng
 
Id intelligent cabinet
Id intelligent cabinetId intelligent cabinet
Id intelligent cabinetWirote Ng
 
RFID Intelligent Cabinet
RFID Intelligent Cabinet RFID Intelligent Cabinet
RFID Intelligent Cabinet Wirote Ng
 
Identify RFID fleet visibility
Identify RFID fleet visibilityIdentify RFID fleet visibility
Identify RFID fleet visibilityWirote Ng
 
Case study rfid solution for transportation management
Case study rfid solution for transportation managementCase study rfid solution for transportation management
Case study rfid solution for transportation managementWirote Ng
 
Identify Company
Identify CompanyIdentify Company
Identify CompanyWirote Ng
 

More from Wirote Ng (7)

Case study RFID Intelligent Cabinet
Case study   RFID Intelligent Cabinet Case study   RFID Intelligent Cabinet
Case study RFID Intelligent Cabinet
 
RFID VMI (Vendor Managed Inventory
RFID VMI (Vendor Managed Inventory RFID VMI (Vendor Managed Inventory
RFID VMI (Vendor Managed Inventory
 
Id intelligent cabinet
Id intelligent cabinetId intelligent cabinet
Id intelligent cabinet
 
RFID Intelligent Cabinet
RFID Intelligent Cabinet RFID Intelligent Cabinet
RFID Intelligent Cabinet
 
Identify RFID fleet visibility
Identify RFID fleet visibilityIdentify RFID fleet visibility
Identify RFID fleet visibility
 
Case study rfid solution for transportation management
Case study rfid solution for transportation managementCase study rfid solution for transportation management
Case study rfid solution for transportation management
 
Identify Company
Identify CompanyIdentify Company
Identify Company
 

RFID Lean Production

  • 1. Tech & Inno INDUSTRY FOCUS | No.02 Vol.026 | October 2013 16 17 (Lean Production System, LPS) การน�ำเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีมาใช้ภาคการผลิตมีกล่าวถึงค่อนข้างจ�ำกัด เพื่อ ให้สะท้อนเห็นประโยชน์ของเทคโนโลยีดังกล่าวต่อภาคการผลิต จ�ำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะน�ำแนวคิดในการปรับปรุงกระบวนการท�ำงานมาช่วยในการวิเคราะห์ หนึ่ง ในแนวคิดที่จะชี้ให้เห็นประโยชน์ของเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีในกระบวนการผลิตคือ แนวคิดการผลิตแบบลีน (Lean Production System) สถาบันส่งเสริมความเป็นเลิศทาง เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีแห่งประเทศไทย การน�ำเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีมาใช้ภาคการ ผลิตมีกล่าวถึงค่อนข้างจ�ำกัด ซึ่งสาเหตุส่วนหนึ่งอาจมา จากประโยชน์ของเทคโนโลยีดังกล่าวที่มีต่อกระบวนการ ผลิตยังไม่สามารถชี้ให้เห็นได้ชัดเจน เพื่อให้สะท้อนเห็น ประโยชน์ของเทคโนโลยีดังกล่าวต่อภาคการผลิตจ�ำเป็น อย่างยิ่งที่จะน�ำแนวคิดในการปรับปรุงกระบวนการ ท�ำงานมาช่วยในการวิเคราะห์ หนึ่งในแนวคิดดังกล่าว ที่จะชี้ให้เห็นประโยชน์ของเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีใน กระบวนการผลิตคือ แนวคิดการผลิตแบบลีน (Lean Production System) ความหมาย Lean Production กระบวนการผลิตแบบลีน (Lean Produc- tion) เป็นกระบวนการผลิตที่ให้ความส�ำคัญในการใช้ ทรัพยากรในการผลิตน้อยที่สุด ดังนั้น การท�ำงานดัง กล่าวจะเน้นที่ลดกิจกรรมใด ๆ ที่มิได้สร้างคุณค่าในการ ผลิต (non-value added) ตามแนวคิดแบบลีนกิจกรรม ที่มิได้สร้างคุณค่าในการผลิตจะก่อให้เกิดความสูญเสีย (Waste) ตามแนวคิดของ Toyota ความสูญเสียในการ ผลิตสามารถแบ่งได้เป็น 7 ประเด็น ดังต่อไปนี้ 1. การผลิตสินค้ามากเกินไป (Over Produc- tion) การผลิตสินค้ามากเกินความต้องการจะก่อให้เกิด ความสูญเสียในทุกกิจกรรมของการผลิต รวมถึงเวลาที่ ต้องจัดเก็บสินค้าเหล่านั้น 2.การหยุดรอ (Waiting) ความสูญเสียที่เกิดจาก การรอคือ เวลาที่จะต้องรองานต่าง ๆ จากกระบวนการ ผลิตในขั้นตอนการท�ำงานก่อนหน้า ก่อนที่จะสามารถ ด�ำเนินการผลิตต่อไปได้ 3.การเคลื่อนย้ายสินค้า(Transport) การเคลื่อน ย้ายชิ้นงานระหว่างการผลิต จะต้องใช้เวลา แรงงาน ดังนั้น การที่ต้องเคลื่อนย้ายสินค้าโดยไม่จ�ำเป็น ท�ำให้ เกิดความสูญเสียในด้านเวลา แรงงานในกระบวนการ ผลิตได้ และความเสียหายในชิ้นงานจากการขนส่งที่ไม่ เหมาะสม 4. กระบวนการท�ำงานที่ไม่เหมาะสม (Inap- propriateProcessing) เป็นขั้นตอนการท�ำงานที่ซับซ้อน เกินความจ�ำเป็นท�ำให้เกิดความสูญเสียในการท�ำงานซึ่ง อาจจะเป็นการสูญเสียจากการขนส่ง แรงงาน หรือเวลา 5. สินค้าคงเหลือที่ไม่จ�ำเป็น (Unnecessary Inventory) ประกอบด้วยองค์ประกอบการผลิตที่ไม่ได้ ใช้งาน ซึ่งจะก่อให้เกิดความสูญเสียในหลายด้าน ได้แก่ ต้นทุนในการจัดเก็บคุณภาพของสินค้าที่เสียไปตามระยะ เวลาในการจัดเก็บ 6. กิจกรรมการเคลื่อนไหวที่ไม่จ�ำเป็น (Unne- cessaryMotion)การที่คนท�ำงานจ�ำเป็นต้องเคลื่อนไหว ร่างกายเพื่อท�ำกิจกรรมที่ไม่ได้ก่อให้เกิดประโยชน์ในการ ผลิต 7. สินค้ามีต�ำหนิ (Defect) การผลิตสินค้าที่มี ต�ำหนิมีผลโดยตรงต่อความสูญเสียในด้านต้นทุนการ ผลิตในการผลิตชิ้นงานที่ไม่มีคุณภาพและต้นทุนที่เพิ่ม ขึ้นในการแก้ไขชิ้นงานดังกล่าว Lean Production กับ เทคโนโลยีบาร์โค้ด เมื่อท�ำการพิจารณาตามแนวคิดLeanProduc- tion จะเห็นได้ว่า กระบวนการผลิตที่ใช้เทคโนโลยีบาร์- โค้ดในการท�ำงานจะก่อให้เกิดความสูญเสียในด้านต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ การใช้บาร์โค้ดในการเก็บข้อมูลจะท�ำให้เกิด ความสูญเสีย เนื่องจากมีการเคลื่อนไหวในกิจกรรมที่ไม่ จ�ำเป็น (Unnecessary Motion) ผู้ท�ำงานจ�ำเป็นต้องมี การน�ำเครื่องอ่านบาร์โค้ดมาท�ำการอ่านบาร์โค้ดที่ติดอยู่ บนชิ้นงาน หรือไม่ก็ก่อให้เกิดความสูญเสียในการเคลื่อน ย้ายสินค้า(Transport)อย่างไม่จ�ำเป็นเพราะต้องเคลื่อน ย้ายชิ้นงานเข้าไปให้เครื่องอ่านบาร์โค้ดท�ำการอ่านข้อมูล นอกจากนั้น การใช้บาร์โค้ดจ�ำเป็นที่เจ้าหน้าที่ท�ำการ สแกนบาร์โค้ดทุกครั้งที่ต้องการเก็บข้อมูลจากการศึกษา การน�ำเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีไปช่วยในการท�ำงานของ บริษัท Rockwell Reliance Electric (Datalogic Case Study)พบว่ากระบวนการท�ำงานที่มีขั้นตอนการท�ำงาน 10-30ขั้นตอนการท�ำงานจะมีโอกาสที่เจ้าหน้าที่ท�ำการ สแกนบาร์โค้ดผิดพลาด 1 % การที่มีการสแกนบาร์โค้ด ผิดพลาดดังกล่าวท�ำให้เกิดการสูญเสียได้หลายประการ ตัวอย่างเช่นภาพด้านล่างนี้ ชนิดของความสูญเสีย ลักษณะทำ�งานที่ทำ�ให้เกิดความสูญเสีย จากการที่มิได้ใช้เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี หน่วยนับความสูญเสีย การผลิตมากเกินไป การสแกนบาร์โค้ดผิด ทำ�ให้ข้อมูลที่บันทึกใน ระบบไม่ถูกต้อง เนื่องจากจำ�นวนชิ้นงานที่มีอยู่ จริง ไม่ตรงกับจำ�นวนของชิ้นงานที่บันทึกในระบบ จำ�นวนชิ้นงานที่ผลิตขึ้นมาเกิน การรอ การบันทึกข้อมูลด้วยการสแกนบาร์โค้ดหรือการ จดข้อมูลเข้าสู่ระบบ จะใช้เวลานาน และอาจจะ ต้องแก้ไขหากมีการบันทึกผิดพลาด เวลา การขนส่ง จำ�เป็นต้องมีการเคลื่อนย้ายชิ้นงานเพื่อมาทำ�การ สแกน เวลา กระบวนการทำ�งานที่ไม่เหมาะสม ในกรณีที่มีการสแกนบาร์โค้ดผิดพลาด ทำ�ให้ต้อง นำ�ชิ้นงานมาดำ�เนินการแก้ไข เวลา สินค้าคงเหลือที่ไม่จำ�เป็น ในกรณีที่มีการสแกนบาร์โค้ดผิดพลาด ทำ�ให้ต้อง ผลิตชิ้นงานที่ไม่จำ�เป็น จำ�นวนชิ้นงานที่ผลิตขึ้นมาเกิน กิจกรรมการเคลื่อนไหวที่ไม่ จำ�เป็น ในการใช้บาร์โค้ด เจ้าหน้าที่จำ�เป็นต้องเคลื่อนไหว ร่างกายไปทำ�สแกน เวลา สินค้าเสียหาย ในกรณีที่มีการสแกนบาร์โค้ดผิดพลาด ทำ�ให้ผลิต สินค้าไม่ตรงตามที่ต้องการ จะทำ�ให้เกิดความ สูญเสียขึ้น จำ�นวนชิ้นงานที่เสียหาย เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี กับระบบการผลิตแบบลีน หากการผิดพลาดดังกล่าว เกิดขึ้นในกรณีที่ชิ้น งานได้มีการเคลื่อนย้ายไปขั้นตอนการท�ำงานต่อไป แต่ เจ้าหน้าที่ที่ท�ำงานในขั้นตอนก่อนหน้านั้นไม่ได้ท�ำการ สแกนข้อมูลเข้าสู่ระบบ จะท�ำให้เจ้าหน้าที่ในขั้นตอน ต่อจากนั้น ไม่สามารถด�ำเนินการใด ๆ ได้ จ�ำเป็นต้องรอ (Waiting) เพื่อให้ข้อมูลของชิ้นงานดังกล่าวได้ถูกสแกน เข้าสู่ระบบก่อน นอกเหนือจากความสูญเสียในการรอ ความสูญเสียที่เพิ่มเติม ได้แก่ ชิ้นงานจ�ำเป็นต้องถูก เคลื่อนย้ายย้อนกลับมาเพื่อท�ำสแกนบาร์โค้ด นอกจาก นั้น การที่สแกนข้อมูลผิดพลาดสามารถน�ำไปสู่ความ Lean Production กับ เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี ตามที่ทราบเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีมีความแตก- ต่างกับเทคโนโลยีบาร์โค้ดในหลายประเด็นตัวอย่างเช่น การอ่านข้อมูลได้อัตโนมัติโดยไม่ต้องมองเห็นอาร์เอฟไอ- ดี Tag เป็นต้น ในการวิเคราะห์เพื่อให้เห็นประโยชน์ของ เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีในกระบวนการผลิต จะท�ำการ แยกพิจารณาตามขั้นตอนการบริหารข้อมูลโดยเริ่มต้น จากกระบวนการเก็บข้อมูล(DateCollection)การเชื่อม- โยงข้อมูล (Data Dependency) และความชัดเจนของ ข้อมูล (Data Visibility) ŸŸ กระบวนการเก็บข้อมูล (Data Collection) ในการเก็บข้อมูลโดยมิได้ใช้เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี ไม่ ว่าจะเป็นการเก็บข้อมูลด้วยการจดบันทึก หรือการใช้ เทคโนโลยีบาร์โค้ด จะท�ำให้เกิดความสูญเสียขึ้น ใน กรณีการใช้เทคโนโลยีบาร์โค้ด จะท�ำให้เกิดความสูญ- เสียในด้านการเคลื่อนไหวที่ไม่จ�ำเป็น (Unnecessary Motion) เพราะเจ้าหน้าที่ต้องน�ำเครื่องอ่านบาร์โค้ดมา ท�ำการอ่านบาร์โค้ดที่ติดบนชิ้นงานและเกิดความสูญเสีย ในด้านการขนส่ง(Transportation)เนื่องจากต้องเคลื่อน ย้ายชิ้นงานมาอ่านด้วยเครื่องอ่านบาร์โค้ด ในกรณีที่ใช้ การเก็บข้อมูลแบบจดบันทึก นอกเหนือจากความสูญ- เสียในการเคลื่อนไหวที่ไม่จ�ำเป็น เจ้าหน้าที่ต้องหยุด งานที่ท�ำอยู่ เพื่อมาท�ำการบันทึกข้อมูล เมื่อชิ้นงานดัง กล่าวเสร็จสิ้นกระบวนการท�ำงานทั้งหมด ข้อมูลที่มีการ บันทึกไว้ในแต่ละขั้นตอนการผลิต จะต้องท�ำการบันทึก เข้าสู่ระบบอีกครั้ง ซึ่งเป็นการท�ำให้เกิดความสูญเสียใน เรื่องกระบวนการท�ำงานที่ไม่เหมาะสม (Unnecessary Process) เพิ่มเติมขึ้นไปอีก ในกรณีที่มีการน�ำเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีมาใช้ งานในการเก็บข้อมูล ในขั้นต้นจะเห็นได้ว่า สามารถลด ความสูญเสียในด้านการเคลื่อนไหวที่ไม่จ�ำเป็น และ ความสูญเสียในด้านการขนส่ง เนื่องจากเทคโนโลยีดัง กล่าวสามารถที่อ่านข้อมูลได้อัตโนมัติ โดยไม่ต้องอาศัย เจ้าหน้าที่มาท�ำการสแกน หรือหยุดการท�ำงานที่ท�ำอยู่ เพื่อบันทึกข้อมูล นอกจากนั้น เมื่อเสร็จสิ้นครบขั้นตอน การท�ำงาน ข้อมูลทั้งหมดก็จะถูกบันทึกเข้าไปในระบบ พร้อมกัน ไม่จ�ำเป็นต้องให้เจ้าหน้าที่มาท�ำการบันทึก ข้อมูลเข้าสู่ระบบเหมือนระบบการจดบันทึก ซึ่งเป็นการ ลดความสูญเสียในเรื่องกระบวนการท�ำงานที่ไม่เหมาะ- สมตามไปด้วย ŸŸ กระบวนการเชื่อมโยงของข้อมูล (Data De- pendency) ข้อมูลรหัสชิ้นงานที่ใช้ในการผลิต จะมีการ เชื่อมข้อมูลดังกล่าวกับข้อมูลอื่นๆของชิ้นงานนั้นๆเช่น น�ำไปเชื่อมโยงกับสินค้าส�ำเร็จรูป หรือชิ้นส่วนงานอื่นที่ ต้องใช้ร่วมกับชิ้นงานที่ผลิตอยู่ นอกจากนั้น ข้อมูลของ ชิ้นงานจะมีการเปลี่ยนแปลง (Update) ในแต่ละขั้น- ตอนของการผลิต ชนิดของความสูญเสีย ลักษณะทำ�งานที่ทำ�ให้เกิดความสูญเสีย จากการที่มิได้ใช้เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี ประโยชน์ของเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี การผลิตมากเกินไป การสแกนบาร์โค้ดผิด ทำ�ให้ข้อมูลที่บันทึกใน ระบบไม่ถูกต้อง เนื่องจากจำ�นวนชิ้นงานที่มีอยู่ จริงไม่ตรงกับจำ�นวนของชิ้นงานที่บันทึกในระบบ ช่วยให้ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องในเวลาที่ ต้องการ (Data Visibility) การรอ การบันทึกข้อมูลด้วยการสแกนบาร์โค้ดหรือการ จดข้อมูลเข้าสู่ระบบ จะใช้เวลานาน และอาจจะ ต้องแก้ไขหากมีการบันทึกผิดพลาด บันทึกข้อมูลอัตโนมัติ การขนส่ง จำ�เป็นต้องมีการเคลื่อนย้ายชิ้นงานเพื่อมาทำ�การ สแกน บันทึกข้อมูลอัตโนมัติ กระบวนการทำ�งานที่ ไม่เหมาะสม ในกรณีที่มีการสแกนบาร์โค้ดผิดพลาด ทำ�ให้ต้อง นำ�ชิ้นงานมาดำ�เนินการแก้ไข บันทึกข้อมูลอัตโนมัติ สินค้าคงเหลือที่ไม่จำ�เป็น ในกรณีที่มีการสแกนบาร์โค้ดผิดพลาด ทำ�ให้ต้อง ผลิตชิ้นงานที่ไม่จำ�เป็น ช่วยให้ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องในเวลาที่ ต้องการ (Data Visibility) กิจกรรมการเคลื่อนไหว ที่ไม่จำ�เป็น ในการใช้บาร์โค้ด เจ้าหน้าที่จำ�เป็นต้องเคลื่อนไหว ร่างกายไปทำ�สแกน บันทึกข้อมูลอัตโนมัติ สินค้าเสียหาย ในกรณีที่มีการสแกนบาร์โค้ดผิดพลาด ทำ�ให้ผลิต สินค้าไม่ตรงตามที่ต้องการ จะทำ�ให้เกิดความ สูญเสียขึ้น ช่วยให้ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องในเวลาที่ ต้องการ (Data Visibility) สูญเสียในอีกหลายประเด็นเช่นการผลิตสินค้ามากเกิน ไป (Over Production) สินค้าคงเหลือที่ไม่จ�ำเป็น (Un- necessary Inventory) หรือสินค้าเสียหาย (Defects) เป็นต้น จากตัวอย่างข้างต้นจะเห็นได้ว่า ในการท�ำงาน ที่มิได้น�ำเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีมาใช้งาน ความสูญ เสียที่อาจจะเกิดขึ้นสามารถสรุปได้ตามตารางด้านบน (ตารางที่ 1) ตารางที่ 1 ตารางที่ 2
  • 2. Tech & Inno INDUSTRY FOCUS | No.02 Vol.026 | October 2013 18 19 นวัตกรรมด้านกระบวนการโดยการปรับปรุง ระบบอบแห้งของเครื่องพิมพ์ เพื่อการแห้งตัวของสี พิมพ์ที่ไวขึ้น ซึ่งบริษัท เค. เอ็ม. แพ็กเกจจิ้ง จ�ำกัด ได้ วิเคราะห์หาสาเหตุและแนวทางการแก้ไขป้องกัน และ ได้ข้อสรุปในการแก้ไขโดยการเปลี่ยนระบบการแห้ง ตัวของหมึกพิมพ์ออฟเซตจากระบบการแห้งตัวโดย การท�ำปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศ (Oxidation) เป็นระบบการแห้งตัวโดยใช้แสง Ultraviolet (UV) โดยระบบการแห้งตัวแบบนี้จะใช้กับหมึกพิมพ์ที่เป็นUV โดยเฉพาะ เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ดังนี้ ŸŸ เนื่องจากระบบการแห้งตัวโดยใช้แสง UV นั้น สามารถแห้งตัวได้ทันทีหลังจากที่มีการพิมพ์งานจึงท�ำให้ ไม่ต้องรอให้งานพิมพ์แห้งตัว ระยะเวลาในการแห้งตัว เป็น 0 เป็นผลให้ Lead Time ในการผลิตของหน่วยงาน พิมพ์ออฟเซตลดลง จาก 5-7 วัน เป็น 0 วัน ŸŸ ไม่เกิดปัญหางานพิมพ์ซับหลัง/เลอะหลังและ ไม่มีต้นทุนในการคัดแยก คัดเช็ด เกิดขึ้น 100 % ŸŸ ไม่จ�ำเป็นต้องลดความเร็วที่ใช้ในการพิมพ์งาน เพื่อเป็นการป้องกันปัญหางานพิมพ์ซับหลัง/เลอะหลัง เหมือนกับระบบการแห้งตัวแบบเดิม (แบบ Oxidation) ŸŸ ในขั้นตอนของการพิมพ์งานระบบออฟเซต ระบบนี้ไม่มีการพ่นแป้งเพื่อป้องกันงานพิมพ์เกิดการซับ หลัง/เลอะหลังจึงไม่ท�ำให้เกิดการฟุ้งกระจายของแป้งพ่น เหมือนกับระบบการแห้งตัวแบบเดิม (แบบ Oxidation) ข้อแตกต่างของการแห้งตัวของ หมึกธรรมดา (Conventional) และหมึกพิมพ์ UV คือ ตามกระบวนการที่กล่าวไว้ข้างต้นการเก็บข้อมูล ด้วยวิธีการจดบันทึก หรือใช้เทคโนโลยีบาร์โค้ด มีความ เป็นไปได้ที่เกิดข้อผิดพลาดเนื่องจากต้องอาศัยเจ้าหน้าที่ เข้ามาเกี่ยวข้อง หากเกิดความผิดพลาดในส่วนดังกล่าว จะมีผลให้เกิดความสูญเสียในหลายด้านเช่นความสูญ- เสียการรอ เพื่อท�ำการแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องก่อน ก่อน จะไปงานขั้นต่อไป หากแก้ไขข้อมูลไม่ทันอาจจะมีผล ท�ำให้เกิดความสูญเสียอื่นๆที่ตามมาตัวอย่างเช่นอาจ จะท�ำให้เกิดสินค้าเสียหายผลิตสินค้ามากเกินไปหรือมี สินค้าคงเหลือที่ไม่จ�ำเป็น เป็นต้น ในทางตรงกันข้าม หากมีการใช้เทคโนโลยีอาร์- เอฟไอดีเข้ามาช่วยในกระบวนการบันทึกข้อมูลหรือการ เชื่อมโยงข้อมูลที่บันทึกกับข้อมูลอื่น ๆ การท�ำงานดัง กล่าว จะเป็นอัตโนมัติทั้งหมด ซึ่งมีผลท�ำให้ลด Human error ลงไปได้ เมื่อความผิดพลาดในส่วนนี้ลดน้อยลง ย่อมมีผลให้ความสูญเสียที่กล่าวมาข้างต้นได้แก่ความ สูญเสียในการอ ความสูญเสียสินค้าเสียหาย ความสูญ- เสียผลิตสินค้าเกินไป หรือความสูญเสียสินค้าคงเหลือที่ ไม่จ�ำเป็นลดลงไปด้วย ŸŸ ความชัดเจนของข้อมูล(DataVisibility)ความ ชัดเจนของข้อมูล หมายถึง การได้รับข้อมูลถูกต้องใน เวลาที่ผู้ใช้งานต้องการ ในกระบวนการผลิตหากผู้ตัดสินใจ ได้รับทราบข้อมูลปริมาณชิ้นงานที่อยู่ระหว่างการผลิตที่ ถูกต้องภายในเวลาที่ก�ำหนด ย่อมมีผลในการลดความ สูญเสียทางด้านผลิตสินค้ามากเกินไป หากผู้ตัดสินใจ ไม่ทราบถึงจ�ำนวนชิ้นงานที่อยู่ระหว่างการผลิต อาจจะ ตัดสินใจผลิตสินค้ามากเกินความจ�ำเป็น ซึ่งก็จะน�ำไปสู่ ความสูญเสียในสินค้าคงคลัง เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีสามารถที่จะท�ำให้ข้อมูล ในการผลิตมีความชัดเจนมากขึ้นเนื่องจากเทคโนโลยีดัง กล่าวสามารถเก็บข้อมูลของแต่ละชิ้นได้ทันทีที่ชิ้นงาน มาถึงต�ำแหน่งที่ก�ำหนด ท�ำให้ข้อมูลในระบบกับจ�ำนวน ชิ้นตรงกัน โดยไม่ต้องอาศัยคนเข้ามาเกี่ยวข้อง การที่ สามารถได้ข้อมูลในรูปแบบดังกล่าวท�ำให้ผู้ตัดสินใจรับ ทราบสถานะและจ�ำนวนที่อยู่ในกระบวนการผลิตในเวลา ที่ต้องการเพื่อประกอบในการตัดสินใจได้ถูกต้องซึ่งมีผล ท�ำให้ลดความสูญเสียสองด้านที่กล่าวมาข้างต้น จากที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่า เทคโนโลยีอาร์- เอฟไอดีสามารถช่วยให้กระบวนการผลิตมีประสิทธิภาพ มากขึ้น โดยการลดความสูญเสียในด้านต่าง ๆ ความ สูญเสียทั้ง 7 ประเภท ที่กล่าวมาสามารถลดลงได้ด้วย การน�ำเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีมาใช้ตามตารางในหน้า 17 (ตารางที่ 2) ขอบคุณแหล่งข้อมูลจาก บริษัท ไอเดนทิไฟ จ�ำกัด บรรณานุกรม Brintrup A, Roberts P, and Astle M., Definition of RFIDDecisionSupportSystemforManufac- turing Applications, BRIDGE Project, June 2008. BrintrupA,RobertsP,andAstleM.,Report:Metho- dology for manufacturing process analysis for RFID implementation, BRIDGE Project, March 2008. ผู้ที่สนใจใช้งาน RFID ติดต่อรับค�ำปรึกษา และเรียนรู้ เทคโนโลยีด้าน RFID ได้ที่ สถาบันส่งเสริมความ เป็นเลิศทางเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีแห่งประเทศไทย โทร. 0-2345-1211, -1213, -1231 หรืออีเมล rfid.th@gmail.com; mintrak@off.fti.or.th หรือเวปไซต์ www.rfid.or.th การปรับปรุงระบบอบแห้งของเครื่องพิมพ์ เพื่อการแห้งตัวของสีพิมพ์ที่ไวขึ้น เครื่องต้นแบบจ่ายหมึกพิมพ์ (ระบบปิด) ส�ำหรับการพิมพ์ออฟเซต ปัจจุบันอุตสาหกรรมการพิมพ์มียอดการผลิต เป็นจ�ำนวนมากและได้มีการคิดค้นพัฒนาเครื่องมือ เทคโนโลยีในด้านต่าง ๆ ขึ้นมา เพื่อเป็นการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีเข้ามาช่วยพัฒนาการพิมพ์ ระบบการพิมพ์ ออฟเซตเป็นระบบการพิมพ์ที่ได้รับความนิยมสูง แต่ถึง อย่างไรก็ตาม ในระบบการพิมพ์ออฟเซตก็ยังมีวัสดุสิ้น- เปลืองเช่นหมึกพิมพ์เนื่องจากการใช้หมึกพิมพ์ในแต่ละ ครั้งนั้นจะใช้หมึกพิมพ์เป็นกระป๋องซึ่งมีราคาสูงกว่าหมึก พิมพ์เป็นถังขนาดใหญ่ เมื่อหมึกพิมพ์หมดก็จะเหลือ กระป๋องหมึกที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ เนื่องจากหมึก พิมพ์เป็นสารเคมีท�ำให้เกิดมลพิษทางสิ่งแวดล้อมดังนั้น อาจารย์อัครเดชทองสว่างและนักศึกษาสาขาวิชา เทคโนโลยีการพิมพ์ คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จึงได้จัด ท�ำเครื่องต้นแบบจ่ายหมึกพิมพ์ (ระบบปิด) ส�ำหรับการ พิมพ์ออฟเซต เพื่อรองรับระบบการพิมพ์ออฟเซตใน อุตสาหกรรมการพิมพ์ขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่ ในกระบวนการพิมพ์ออฟเซตนั้นจะต้องมีการตัก หมึกจากกระป๋องใส่รางหมึกเพื่อพิมพ์งาน เมื่อเวลาตัก หมึกออกจากกระป๋องแล้วจะมีหมึกที่เหลืออยู่ในกระป๋อง หมึกที่เหลือนั้นหน้าหมึกจะไม่มีวัสดุปิดไว้จึงท�ำให้หน้า หมึกท�ำปฏิกิริยากับอากาศที่ผ่านเข้าไปในกระป๋องหน้า หมึกจึงเกิดการแห้งตัว เมื่อจะใช้หมึกในครั้งต่อไปก็ต้อง ตักหน้าหมึกที่แห้งตัวออกทิ้งซึ่งหน้าหมึกส่วนที่ทิ้งไปนั้น เป็นตัวที่ท�ำให้เกิดมลพิษดังนั้นอุตสาหกรรมการพิมพ์ที่ ผลิตงานสิ่งพิมพ์ต่างๆที่เป็นโรงพิมพ์ขนาดใหญ่จึงได้มี การสั่งซื้อน�ำเข้าเครื่องจ่ายหมึกพิมพ์(ระบบปิด)ส�ำหรับ การพิมพ์ออฟเซตจากประเทศญี่ปุ่นเยอรมนีและเกาหลี เข้ามาใช้งานเพราะในประเทศไทยนั้นยังไม่มีผู้ผลิตราย ใดที่สามารถผลิตเครื่องจ่ายหมึกพิมพ์(ระบบปิด)ส�ำหรับ การพิมพ์ออฟเซตออกจ�ำหน่ายเนื่องจากมีต้นทุนในการ ผลิตสูง จึงได้คิดค้นเครื่องต้นแบบจ่ายหมึกพิมพ์ (ระบบ ปิด)ส�ำหรับการพิมพ์ออฟเซตขึ้นมาเพื่อควบคุมค่าความ หนืดของหมึกพิมพ์ที่มีผลต่องานพิมพ์เป็นอย่างมากและ ลดต้นทุนในการสั่งซื้อหมึกเป็นกระป๋องเข้ามาใช้ในโรง- พิมพ์ เพราะการสั่งซื้อหมึกพิมพ์เป็นกระป๋องที่น�ำมาใช้ ในโรงพิมพ์แต่ละครั้งนั้นจะต้องใช้ต้นทุนที่มีราคาสูงกว่า การใช้หมึกพิมพ์ที่เป็นถังขนาดใหญ่เช่นสั่งซื้อหมึกพิมพ์ 1 กระป๋อง บรรจุหมึกพิมพ์หนัก 1 กก. ราคา 200 บาท/ กระป๋อง ในระยะเวลา 1 เดือน โรงพิมพ์จะต้องใช้หมึก พิมพ์ประมาณ 2 ตัน เท่ากับหมึกพิมพ์ 2,000 กก. หาก เปลี่ยนมาใช้เป็นถังขนาดใหญ่จะอยู่ที่กก.ละ180บาท ทางโรงพิมพ์จะประหยัดต้นทุน กก. ละ 20 บาท ในการ สั่งซื้อหมึกพิมพ์ที่เป็นถังขนาดใหญ่ หมึกพิมพ์มีค่าความหนืดสูง จึงต้องท�ำการ ทดสอบเครื่องต้นแบบฯ ใช้แรงดันลมตั้งแต่ 1 บาร์ - 6 บาร์, 6.5 บาร์, 7 บาร์, 7.5 บาร์, 8 บาร์, 8.5 บาร์, 9 บาร์, 9.5 บาร์ และ 10 บาร์ ผลปรากฏว่าหมึกพิมพ์มีการปั๊ม จ่ายออกมาในแรงดันลมที่ 6 บาร์ ขึ้นไป เครื่องจึงจะ สามารถปั๊มจ่ายหมึกพิมพ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท�ำให้ สามารถลดต้นทุนในการสั่งซื้อหมึกพิมพ์ลง ซึ่งเปลี่ยน จากการสั่งซื้อหมึกพิมพ์กระป๋องเล็กขนาด 1 กก. มา เป็นหมึกพิมพ์ถังใหญ่ขนาด 20 กก. เป็นการลดมลพิษ ทางสิ่งแวดล้อมและเพิ่มโอกาสในการพัฒนาเครื่องมือ เทคโนโลยีในอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย การใช้เครื่องต้นแบบฯ นั้นจะช่วยควบคุมใน เรื่องของการแห้งตัวของหมึกพิมพ์ และสามารถควบคุม คุณภาพค่าความหนืดของหมึกพิมพ์ให้คงที่ได้ตลอด เวลา ในการสร้างเครื่องต้นแบบฯ จะใช้ในการปั๊มจ่าย หมึกพิมพ์จากถังหมึกด้วยระบบลม ปั๊มจ่ายขึ้นสู่ท่อส่ง หมึกไปยังรางหมึกของเครื่องพิมพ์เพื่อกระบวนการพิมพ์ ขั้นตอนต่อไปและข้อส�ำคัญสามารถท�ำให้หมึกสามารถ ไหลลงสู่รางหมึกโดยตรง และน�ำไปใช้งานได้จริงใน อุตสาหกรรมโรงพิมพ์ และลดต้นทุนค่าใช้จ่ายในการซื้อ หมึก และลดมลพิษทางสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นแนวทางใน การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า หมึกพิมพ์ UV จะแห้งตัวโดยการต่อตัวกันของ โครงสร้างเล็ก ๆ จนเป็นโครงสร้างที่ใหญ่ขึ้น หรือการเกิด พอลิเมอร์ ซึ่งหมึกพิมพ์ UV สามารถแห้งตัวได้จากการเกิด ปฏิกิริยา UV Polymerization คืออาศัยรังสี UV เป็นตัว กระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ ซึ่งโดยส่วนใหญ่ แล้วเป็นแบบอนุมูลอิสระ (Free Radical) ส่วนหมึกพิมพ์ ธรรมดาจะอาศัยการแห้งตัวแบบ Oxidation Polymeriza- tion คืออาศัยอากาศ (ออกซิเจน, O2) เป็นตัวกระตุ้นโดย การเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ ดังภาพ ซึ่งลักษณะการแห้งตัวที่แตกต่างกันของทั้ง2ระบบ จะเห็นว่า ระบบการแห้งตัวด้วยแสง UV จะมีการแห้งตัว ที่เร็วกว่าระบบการแห้งตัวแบบอาศัยออกซิเจนในอากาศ เนื่องจากระบวนการแห้งตัวของหมึกพิมพ์UVหลังจากผ่าน แสงUVสารPhotoinitiatorที่มีอยู่ในหมึกจะถูกกระตุ้นแล้ว ส่งผ่านอิเล็กตรอนไปยังวาร์นิชยูวีและตัวท�ำละลาย UV ที่ มีจุดเชื่อมต่อที่ว่องไวต่อปฏิกิริยา จนเกิดการเชื่อมต่อ แล้ว แข็งตัวเป็นพอลิเมอร์(หมึกแห้ง)จึงเป็นเหตุผลที่ทางบริษัทฯ ได้น�ำเทคโนโลยีนี้มาใช้ในการแก้ปัญหางานพิมพ์ซับหลัง/ เลอะหลัง ส�ำหรับงานพิมพ์ออฟเซตนั้นเอง ลักษณะการแห้งตัวของหมึกธรรมดา (Conventional) และหมึกพิมพ์ UV