SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
สถิติทดสอบที (t - test Statistic) น . ส .  นราธิป  หอมอุทัย  521995011 น . ส .  รจเรข  กำแหงกิจ  521995013
สถิติทดสอบที (t- test Statistic) ,[object Object],[object Object]
การทดสอบที   (t - test)   ใช้ทดสอบกรณีต่าง ๆ  ดังนี้ 1.   การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยของประชากรกลุ่มเดียว 2.  การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยของประชากรสองกลุ่ม
1.  การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยของประชากรกลุ่มเดียว ,[object Object]
ซึ่งขั้นตอนในการทดสอบมีดังนี้ 1.  ตรวจสอบข้อตกลงเบื้องต้นของสถิติทดสอบ มีดังนี้ 1.1  กลุ่มตัวอย่างได้มาจากการสุ่มและเป็นอิสระจากกัน 1.2  ประชากรมีการแจกแจงแบบปกติ 1.3  ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร 1.4  ข้อมูลอยู่ในมาตราอันตรภาคหรืออัตราส่วน 2.  กำหนดสมมติฐานทางสถิติ สำหรับการทดสอบแบบสองทิศทาง H ๐   :  H 1  :  สำหรับการทดสอบแบบทิศทางเดียว  H ๐   :  H 1   :  หรือ   อย่างใดอย่างหนึ่ง   =   = >   <
3.   กำหนด  4.  คำนวณค่าสถิติ  t  จากสูตร t  =   เมื่อ  df  =  n - 1 5.   กำหนดขอบเขตวิกฤตโดยหาค่า  t   วิกฤต  5.1  t  t   และ   t  t   สำหรับ   H 1   :  5.2  t  t   สำหรับ   H 1   :   <  5.3  t  t   สำหรับ  H 1   :   >
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ตัวอย่างที่  1.1   ผู้ผลิตไอศครีมรายหนึ่งเชื่อว่าไอศครีมของเขาประกอบด้วย แคลอรี่เฉลี่ย  500  แคลอรี่   ต่อไอศกรีมหนัก  1  กรัม เขาจึงสุ่มไอศกรีมหนักก้อนละ  1  กรัมมา  25  ก้อน คำนวณปริมาณ   แคลอรี่เฉลี่ยได้  510  แคลอรี่ต่อกรัม และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น  23  แคลอรี่ อยากทราบ   ว่าสิ่งที่ผู้ผลิตเชื่อจริงหรือไม่ ที่ระดับนัยสำคัญ  0.05  ถ้าปริมาณแคลอรี่ในไอศกรีมหนัก    1  กรัม มีการแจกแจงใกล้เคียงกับการแจกแจงแบบปกติ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
จากสูตร t  =   เมื่อ  df  =  n - 1
t  =   =   =  2.17 ขั้นที่  5  ค่า  t  วิกฤต เมื่อ  =  0.05 ,  df  =  n - 1  =  24  แบบ  two - tailed  test  คือ  t  (.05,24)   =  2.064 ขั้นที่  6   t  >  t   วิกฤต   ( 2.17 > 2.064 )  จึงปฏิเสธ  H ๐ นั่นคือ  ปริมาณแคลอรี่เฉลี่ยต่อไอศครีม  1  กรัมไม่เท่ากับ  500  แคลอรี่
2.  การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยของประชากรสองกลุ่ม   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ซึ่งขั้นตอนในการทดสอบมีดังนี้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],=
[object Object],[object Object],[object Object],t  =   มี  df  =  n 1  + n 2   -  2 Sp 2   แทน  ความแปรปรวนร่วม  (Pooled  Variance) Sp 2   =  ดังนั้น อาจสรุปสูตรได้ดังนี้   t  =
[object Object],t  =   โดยมี   df  =  5.   กำหนดขอบเขตวิกฤตโดยหาค่า  t  วิกฤต  6.  สรุปผลการทดลอง พิจารณาตัวเลขไม่คิดเครื่องหมาย t  t   วิกฤต  จะปฏิเสธ  H ๐ t  <  t   วิกฤต  จะยอมรับ  H ๐
ตัวอย่างที่  1.2   ในการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสถิติของนิสิต  2  กลุ่ม โดยสุ่มนิสิตกลุ่ม  A    จำนวน  15  คน กลุ่ม  B  จำนวน  20  คน ใช้แบบทดสอบวิชาสถิติได้ผลการสอบ ดังนี้ จงทดสอบว่า นิสิตกลุ่ม  A  และกลุ่ม  B  มีความสามารถทางสถิติแตกต่างกัน  โดย วิธีทำ ขั้นที่  1   ตรวจสอบข้อมูลพบว่า สอดคล้องกับข้อตกลงเบื้องต้น  t – test ขั้นที่  2   ตั้งสมมติฐานเพื่อการทดสอบ   H ๐   :  =  H 1   :  กลุ่ม   A  ,  S 1 2  =  9 กลุ่ม   B  ,  S 2 2  = 10  กำหนดให้  และ  0.01 = =
[object Object],[object Object],t  =   =   =
=  2.034 นั่นคือ   นิสิตกลุ่ม  A  และกลุ่ม  B  มีความสามารถทางสถิติไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ  ทางสถิติที่ระดับ  0.01 ขั้นที่  5   ค่า  t  วิกฤต  เมื่อ  =  0.01 ,  df  =  n 1  +  n 2  - 2  =  33  แบบ  two-tailed  test  คือ  t  (0.01,33)   =  2.750 ขั้นที่  6   t  <  t   วิกฤต   (  2.034 <  2.750 )  จึงยอมรับ  H ๐
กรณีกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มไม่เป็นอิสระจากกัน  ( Dependent  Samples ) เป็นการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างที่มีความสัมพันธ์กันด้วย  t - test  ( ยุทธ  ไกยวรรณ์ . 2543 : 148) คำนวณจากสูตร เมื่อ  df  =  n - 1
ตัวอย่างที่  1.3   จากการทดลองใช้วิธีการสอนแบบใหม่กับนักเรียนกลุ่มหนึ่ง ก่อนทำการสอนได้มี    การทดสอบก่อน หลังจากนั้นครูทำการสอนด้วยวิธีการสอนแบบใหม่ แล้วทำการ   ทดสอบหลังเรียนด้วยแบบทดสอบชุดเดิมผลการสอบปรากฏ ดังนี้ จงทดสอบว่า   การสอนด้วยวิธีการใหม่ทำให้นักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นหรือไม่    กำหนดให้  =  0.05 10 5 6 7 8 7 12 9 ทดสอบหลัง 5 6 4 3 8 5 10 7 ทดสอบก่อน 8 7 6 5 4 3 2 1 นักเรียนคนที่
วิธีทำ ขั้นที่  1   ตรวจสอบข้อมูลพบว่า สอดคล้องกับข้อตกลงเบื้องต้น  t – test ขั้นที่  2   ตั้งสมมติฐานเพื่อการทดสอบ   H ๐   :  =  H 1   :  > ขั้นที่   3   กำหนด  =  0.05 ขั้นที่   4   คำนวณค่าสถิติ  t  จากสูตร เมื่อ  df  =  n - 1
D 2 4 4 4 0 16 4 1 25 D 2 2 2 0 4 2 -1 5 คะแนนทดสอบหลัง 9 12 7 8 7 6 5 10 คะแนนทดสอบก่อน 7 10 5 8 3 4 6 5 นักเรียนคนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8
นั่นคือ   การสอนโดยวิธีการแบบใหม่  ทำให้นักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทาง  สถิติที่ระดับ  0.05 =  2.935 ขั้นที่  5   ค่า  t  วิกฤต  เมื่อ  =  0.05 ,  df  =  n - 1  =  7  แบบ  0ne - tailed  test  คือ  t  (0.05,7)   =  1.895 ขั้นที่  6   t  >  t   วิกฤต   (2.935 > 1.895)  จึงปฏิเสธ  H ๐
จบการนำเสนอค่ะ

More Related Content

What's hot

โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1ดอย บาน ลือ
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
สถิติสำหรับธุรกิจ
สถิติสำหรับธุรกิจสถิติสำหรับธุรกิจ
สถิติสำหรับธุรกิจTeetut Tresirichod
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่Watermalon Singha
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกNoppadon Khongchana
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismคน ขี้เล่า
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละmakotosuwan
 
ใบงานวิเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
ใบงานวิเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลายใบงานวิเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
ใบงานวิเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลายpongtum
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้าtanakit pintong
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ยโครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ยJirathorn Buenglee
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 

What's hot (20)

โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
สถิติสำหรับธุรกิจ
สถิติสำหรับธุรกิจสถิติสำหรับธุรกิจ
สถิติสำหรับธุรกิจ
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือก
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
 
ใบงานวิเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
ใบงานวิเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลายใบงานวิเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
ใบงานวิเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ยโครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 

Similar to T test แบบกลุ่มเดียว

บทที่9.pdf
บทที่9.pdfบทที่9.pdf
บทที่9.pdfsewahec743
 
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้NU
 
สมมติฐานทางสถิติ
สมมติฐานทางสถิติสมมติฐานทางสถิติ
สมมติฐานทางสถิติguest81e13
 
ข้อตกลงเบื้องต้น เอฟ
ข้อตกลงเบื้องต้น เอฟข้อตกลงเบื้องต้น เอฟ
ข้อตกลงเบื้องต้น เอฟTan Suwanna
 
สมมุติฐาน
สมมุติฐานสมมุติฐาน
สมมุติฐานguest16840
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพอภิเทพ ทองเจือ
 
บทที่7.pdf
บทที่7.pdfบทที่7.pdf
บทที่7.pdfsewahec743
 
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลDuangdenSandee
 
My Power Point Presentation
My Power Point PresentationMy Power Point Presentation
My Power Point Presentationguest59e394
 

Similar to T test แบบกลุ่มเดียว (20)

8
88
8
 
8
88
8
 
Chi square
Chi squareChi square
Chi square
 
บทที่9.pdf
บทที่9.pdfบทที่9.pdf
บทที่9.pdf
 
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
 
Spss
SpssSpss
Spss
 
statistic_research.ppt
statistic_research.pptstatistic_research.ppt
statistic_research.ppt
 
การทดสอบค่าที
การทดสอบค่าทีการทดสอบค่าที
การทดสอบค่าที
 
Spss
SpssSpss
Spss
 
Lec582 2
Lec582 2Lec582 2
Lec582 2
 
สมมติฐานทางสถิติ
สมมติฐานทางสถิติสมมติฐานทางสถิติ
สมมติฐานทางสถิติ
 
การทดสอบค่าที
การทดสอบค่าทีการทดสอบค่าที
การทดสอบค่าที
 
ข้อตกลงเบื้องต้น เอฟ
ข้อตกลงเบื้องต้น เอฟข้อตกลงเบื้องต้น เอฟ
ข้อตกลงเบื้องต้น เอฟ
 
สมมุติฐาน
สมมุติฐานสมมุติฐาน
สมมุติฐาน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
 
s
ss
s
 
บทที่7.pdf
บทที่7.pdfบทที่7.pdf
บทที่7.pdf
 
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
 
My Power Point Presentation
My Power Point PresentationMy Power Point Presentation
My Power Point Presentation
 
Effect Of Music
Effect Of MusicEffect Of Music
Effect Of Music
 

T test แบบกลุ่มเดียว

  • 1. สถิติทดสอบที (t - test Statistic) น . ส . นราธิป หอมอุทัย 521995011 น . ส . รจเรข กำแหงกิจ 521995013
  • 2.
  • 3. การทดสอบที (t - test) ใช้ทดสอบกรณีต่าง ๆ ดังนี้ 1. การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยของประชากรกลุ่มเดียว 2. การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยของประชากรสองกลุ่ม
  • 4.
  • 5. ซึ่งขั้นตอนในการทดสอบมีดังนี้ 1. ตรวจสอบข้อตกลงเบื้องต้นของสถิติทดสอบ มีดังนี้ 1.1 กลุ่มตัวอย่างได้มาจากการสุ่มและเป็นอิสระจากกัน 1.2 ประชากรมีการแจกแจงแบบปกติ 1.3 ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร 1.4 ข้อมูลอยู่ในมาตราอันตรภาคหรืออัตราส่วน 2. กำหนดสมมติฐานทางสถิติ สำหรับการทดสอบแบบสองทิศทาง H ๐ : H 1 : สำหรับการทดสอบแบบทิศทางเดียว H ๐ : H 1 : หรือ อย่างใดอย่างหนึ่ง = = > <
  • 6. 3. กำหนด 4. คำนวณค่าสถิติ t จากสูตร t = เมื่อ df = n - 1 5. กำหนดขอบเขตวิกฤตโดยหาค่า t วิกฤต 5.1 t t และ t t สำหรับ H 1 : 5.2 t t สำหรับ H 1 : < 5.3 t t สำหรับ H 1 : >
  • 7.
  • 8.
  • 9. จากสูตร t = เมื่อ df = n - 1
  • 10. t = = = 2.17 ขั้นที่ 5 ค่า t วิกฤต เมื่อ = 0.05 , df = n - 1 = 24 แบบ two - tailed test คือ t (.05,24) = 2.064 ขั้นที่ 6 t > t วิกฤต ( 2.17 > 2.064 ) จึงปฏิเสธ H ๐ นั่นคือ ปริมาณแคลอรี่เฉลี่ยต่อไอศครีม 1 กรัมไม่เท่ากับ 500 แคลอรี่
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15. ตัวอย่างที่ 1.2 ในการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสถิติของนิสิต 2 กลุ่ม โดยสุ่มนิสิตกลุ่ม A จำนวน 15 คน กลุ่ม B จำนวน 20 คน ใช้แบบทดสอบวิชาสถิติได้ผลการสอบ ดังนี้ จงทดสอบว่า นิสิตกลุ่ม A และกลุ่ม B มีความสามารถทางสถิติแตกต่างกัน โดย วิธีทำ ขั้นที่ 1 ตรวจสอบข้อมูลพบว่า สอดคล้องกับข้อตกลงเบื้องต้น t – test ขั้นที่ 2 ตั้งสมมติฐานเพื่อการทดสอบ H ๐ : = H 1 : กลุ่ม A , S 1 2 = 9 กลุ่ม B , S 2 2 = 10 กำหนดให้ และ 0.01 = =
  • 16.
  • 17. = 2.034 นั่นคือ นิสิตกลุ่ม A และกลุ่ม B มีความสามารถทางสถิติไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.01 ขั้นที่ 5 ค่า t วิกฤต เมื่อ = 0.01 , df = n 1 + n 2 - 2 = 33 แบบ two-tailed test คือ t (0.01,33) = 2.750 ขั้นที่ 6 t < t วิกฤต ( 2.034 < 2.750 ) จึงยอมรับ H ๐
  • 18. กรณีกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มไม่เป็นอิสระจากกัน ( Dependent Samples ) เป็นการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างที่มีความสัมพันธ์กันด้วย t - test ( ยุทธ ไกยวรรณ์ . 2543 : 148) คำนวณจากสูตร เมื่อ df = n - 1
  • 19. ตัวอย่างที่ 1.3 จากการทดลองใช้วิธีการสอนแบบใหม่กับนักเรียนกลุ่มหนึ่ง ก่อนทำการสอนได้มี การทดสอบก่อน หลังจากนั้นครูทำการสอนด้วยวิธีการสอนแบบใหม่ แล้วทำการ ทดสอบหลังเรียนด้วยแบบทดสอบชุดเดิมผลการสอบปรากฏ ดังนี้ จงทดสอบว่า การสอนด้วยวิธีการใหม่ทำให้นักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นหรือไม่ กำหนดให้ = 0.05 10 5 6 7 8 7 12 9 ทดสอบหลัง 5 6 4 3 8 5 10 7 ทดสอบก่อน 8 7 6 5 4 3 2 1 นักเรียนคนที่
  • 20. วิธีทำ ขั้นที่ 1 ตรวจสอบข้อมูลพบว่า สอดคล้องกับข้อตกลงเบื้องต้น t – test ขั้นที่ 2 ตั้งสมมติฐานเพื่อการทดสอบ H ๐ : = H 1 : > ขั้นที่ 3 กำหนด = 0.05 ขั้นที่ 4 คำนวณค่าสถิติ t จากสูตร เมื่อ df = n - 1
  • 21. D 2 4 4 4 0 16 4 1 25 D 2 2 2 0 4 2 -1 5 คะแนนทดสอบหลัง 9 12 7 8 7 6 5 10 คะแนนทดสอบก่อน 7 10 5 8 3 4 6 5 นักเรียนคนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8
  • 22. นั่นคือ การสอนโดยวิธีการแบบใหม่ ทำให้นักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.05 = 2.935 ขั้นที่ 5 ค่า t วิกฤต เมื่อ = 0.05 , df = n - 1 = 7 แบบ 0ne - tailed test คือ t (0.05,7) = 1.895 ขั้นที่ 6 t > t วิกฤต (2.935 > 1.895) จึงปฏิเสธ H ๐