SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
สกินเนอร์
ประวัติสกินเนอร์
ประวัติ
สกินเนอร์ เกิดที่สหรัฐอเมริกา จบวิทยาปริญญาโท และเอกที่ มหาวิทยาลัยฮาวาร์ด และ
เป็นอาจารย์ที่มหาวิทยามิเนโซตา
แนวคิด การกระทาใดๆถ้าได้รับการเสริมแรง จะมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้น ส่วนการกระทาที่
ไม่เสริมแรง มีแนวโน้มที่การกระทานั้นๆจะลดลงและค่อยๆหายไป
การทดลอง
สาหรับการทดลองของสกินเนอร์ เขาได้สร้างกล่องทดลองขึ้นซึ่ง กล่องทดลองของสกิน
เนอร์ (Skinner Boxes) จะประกอบด้วยที่ใส่อาหาร คันโยก หลอดไฟ คันโยก
และที่ใส่อาหารเชื่อมติดต่อกัน การทดลองเริ่มโดยการจับหนูไปใส่กล่องทดลอง เมื่อหนูหิวจะวิ่ง
วนไปเรื่อย ๆ และไปเหยียบถูกคันโยก ก็จะมีอาหารตกลงมา ทาให้หนูเกิดการเรียนรู้ว่าการ
เหยียบคันโยกจะได้รับอาหารครั้งต่อไปเมื่อหนูหิวก็จะตรงไปเหยียบคันโยกทันที ซึ่งพฤติกรรม
ดังกล่าวถือว่าหนูตัวนี้เกิดการเรียนรู้แบบการลงมือกระทาเอง
หลักการและแนวคิดที่สาคัญของสกินเนอร์
 1.การเรียนรู้และการวัด คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การจะพิจารณว่าผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้หรือไม่ก็ดูจากการตอบสนอง
2.การวางเงื่อนไขและการเสริมแรง
ต.ย. ในกรณีมีการทดลองกับหนู เงื่อนไขที่กาหนดไว้ก็คือ ถ้าหนูกดคาน แล้วก็จะได้รับอาหารเป็น
ต้น
 3. ประเภทของตัวเสริมแรง ตัวเสริมแรงนั้นอาจแบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะคือ อาจแบ่งเป็นตัว
เสริมแรงบวกกับตัวเสริมแรงลบ หรืออาจแบ่งได้เป็นตัวเสริมแรงปฐมภูมิกับตัวเสริมแรงทุติยภูมิ
-เสริมแรงทางลบ
-เสริมแรงทางบวก
 3. ประเภทของตัวเสริมแรง ตัวเสริมแรงนั้นอาจแบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะคือ อาจ
แบ่งเป็นตัวเสริมแรงบวกกับตัวเสริมแรงลบ หรืออาจแบ่งได้เป็นตัวเสริมแรงปฐมภูมิกับตัว
เสริมแรงทุติยภูมิ
 3.1 ตัวเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcer) หมายถึง สิ่งเร้า
ชนิดใดชนิดหนึ่ง ซึ่งเมื่อได้รับหรือนาเข้ามาในสถานการณ์นั้นแล้วจะมีผลให้เกิดความพึง
พอใจ และทาให้อัตราการตอบสนองเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะเข้มข้นขึ้น
 3.2 ตัวเสริมแรงลบ (Negative Reinforcer) หมายถึง สิ่งเร้าชนิด
ใดชนิดหนึ่ง ซึ่งเมื่อตัดออกไปจากสถานการณ์นั้นแล้ว จะมีผลให้อัตราการตอบสนอง
เปลี่ยนไปในลักษณะเข้มข้นขึ้นเช่น
 3.3 ตัวเสริมแรงปฐมภูมิ (Primary Reinforcer) เป็นสิ่งเร้าที่จะ
สนองความต้องการทางอินทรีย์โดยตรง ซึ่งเปรียบได้กับ UCS. ในทฤษฎีของพา
ฟลอฟ
 3.4 ตัวเสริมแรงทุติยภูมิ โดยปกติแล้วตัวเสริมแรงประเภทนี้เป็นสิ่งเร้าที่เป็นกลาง
(Natural Stimulus) สิ่งเร้าที่เป็นกลางนี้ เมื่อนาเข้าคู่กับตัวเสริมแรงปฐม
ภูมิบ่อย ๆเข้าสิ่งเร้าซึ่งแต่เดิมเป็นกลางก็กลายเป็นตัวเสริมแรง
การลงโทษ
การพักชั่วคราว
การหยุดการเสริมแรง
ตารางการเสริมแรง
วิธีการเสริมแรง ผลของพฤติกรรม
1.การเสริมแรงทุกครั้ง อัตตราการแสดงพฤติกรรมอยู่ในระดับสูง
และสม่าเสมอ
2.แบบกาหนดจานวนครั้งของการ
ตอบสนองที่แน่นอน
อัตตราการแสดงพฤติกรรมจะถี่และหยุด
ชั่วขณะเมื่อได้รับการเสริมแรงน้อยลง
3.แบบกาหนดจานวนครั้งของการ
ตอบสนองที่ไม่แน่นอน
อัตตราการแสดงพฤติกรรมถี่มากและไม่
หยุดลงหลังจากได้รับการเสริมแรงด้วย
4.แบบกาหนดช่วงเวลาที่แน่นอน อัตตราการแสดงพฤติกกรมจะค่อยๆเพิ่มขึ้น
และถี่มากที่สุด เมื่อใกล้ถึงเวลาที่จะรับการ
เสริมแรง
5.แบบการกาหนดช่วงเวลาที่ไม่แน่นอน อัตตราการแสดงพฤติกกรมสม่าเสมอ
เนื่องจากไม่สามารถคาดได้ว่าจะได้รับการ
เสริมแรงเมื่อใด
การนาไปใช้
ใช้ในการปลูกฝังพฤติกรรม (Shaping Behavior) หลักสาคัญของทฤษฎี
การวางเงื่อนไขแบบการกระทาของสกินเนอร์ คือ เราสามารถควบคุมการตอบสนองได้ด้วย
วิธีการเสริมแรง กล่าวคือ เราจะให้การเสริมแรงเฉพาะเมื่อมีการตอบสนองที่ต้องการ เพื่อให้
กลายเป็นนิสัยติดตัวต่อไป อาจนาไปใช้ในการปลูกฝังบุคลิกภาพของบุคคลให้มีพฤติกรรม
ตามแบบที่ต้องการได้
สมาชิกในกลุ่ม
 1.นางสาว มาเรียม กาเจ รหัส 405710004
 2.นางสาว อาอีซะหิ หะยีนิมะ รหัส 405710005
 3.นางสาว อลาวียา ปาทาน รหัส 405710007
 4.นางสาว มาเรียอูมี แวแซ รหัส 405710021
 5.นางสาว เจ๊ะนารีซา เจ๊ะนุ รหัส 405710027
 6.นางสาว นาดีย๊ะ แยนา รหัส 405710039

More Related Content

Viewers also liked

จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt  จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
yuapawan
 
(แก้ไขใหม่ๆ)เบอร์รัส สกินเนอร์ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
(แก้ไขใหม่ๆ)เบอร์รัส สกินเนอร์ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ(แก้ไขใหม่ๆ)เบอร์รัส สกินเนอร์ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
(แก้ไขใหม่ๆ)เบอร์รัส สกินเนอร์ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
sarawooth
 
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบคลาสสิค
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบคลาสสิคทฤษฎีการเรียนรู้แบบคลาสสิค
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบคลาสสิค
sopapon
 
การบริหารจัดการชั้นเรียน
การบริหารจัดการชั้นเรียนการบริหารจัดการชั้นเรียน
การบริหารจัดการชั้นเรียน
phatcom10
 

Viewers also liked (14)

ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูราทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
 
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์
 
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt  จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 
(แก้ไขใหม่ๆ)เบอร์รัส สกินเนอร์ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
(แก้ไขใหม่ๆ)เบอร์รัส สกินเนอร์ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ(แก้ไขใหม่ๆ)เบอร์รัส สกินเนอร์ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
(แก้ไขใหม่ๆ)เบอร์รัส สกินเนอร์ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบคลาสสิค
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบคลาสสิคทฤษฎีการเรียนรู้แบบคลาสสิค
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบคลาสสิค
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
 
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคมทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
 
ทฤษฎีการวางเงื่อนไงแบบการกระทำ ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการวางเงื่อนไงแบบการกระทำ ของสกินเนอร์ทฤษฎีการวางเงื่อนไงแบบการกระทำ ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการวางเงื่อนไงแบบการกระทำ ของสกินเนอร์
 
การบริหารจัดการชั้นเรียน
การบริหารจัดการชั้นเรียนการบริหารจัดการชั้นเรียน
การบริหารจัดการชั้นเรียน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
 
ทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูราทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูรา
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
 

More from 6Phepho

More from 6Phepho (16)

ทฤษฎีการเรียนรู้เกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้เกสตัลท์ทฤษฎีการเรียนรู้เกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้เกสตัลท์
 
ทฤษฎีพัฒนาการเรียนรู้แบนดูรา
ทฤษฎีพัฒนาการเรียนรู้แบนดูราทฤษฎีพัฒนาการเรียนรู้แบนดูรา
ทฤษฎีพัฒนาการเรียนรู้แบนดูรา
 
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง ธอร์นไดค์
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง ธอร์นไดค์ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง ธอร์นไดค์
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง ธอร์นไดค์
 
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค วัตสัน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค วัตสันทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค วัตสัน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค วัตสัน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ บรูเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ บรูเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ บรูเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ บรูเนอร์
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม โคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม โคลเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม โคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม โคลเบิร์ก
 
ทฤษฎีพัฒนาการตามวัย โรเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการตามวัย โรเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการตามวัย โรเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการตามวัย โรเบิร์ก
 
ทฤษฎีจิตสังคม อีริคสัน
ทฤษฎีจิตสังคม อีริคสันทฤษฎีจิตสังคม อีริคสัน
ทฤษฎีจิตสังคม อีริคสัน
 
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ ซิกมัน ฟรอยด์
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์  ซิกมัน  ฟรอยด์ทฤษฏีจิตวิเคราะห์  ซิกมัน  ฟรอยด์
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ ซิกมัน ฟรอยด์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
 
ืทฤษฎีพัฒนาการทางการคิดของบรูเนอร์
ืทฤษฎีพัฒนาการทางการคิดของบรูเนอร์ืทฤษฎีพัฒนาการทางการคิดของบรูเนอร์
ืทฤษฎีพัฒนาการทางการคิดของบรูเนอร์
 
ทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์กทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์ก
 
ทฤษฏีพัฒนาการตามวัยของ โรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิสต์
ทฤษฏีพัฒนาการตามวัยของ โรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิสต์ทฤษฏีพัฒนาการตามวัยของ โรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิสต์
ทฤษฏีพัฒนาการตามวัยของ โรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิสต์
 
ทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสัน
ทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสันทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสัน
ทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสัน
 
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมัน ฟรอยด์
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมัน  ฟรอยด์ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมัน  ฟรอยด์
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมัน ฟรอยด์
 
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมัน ฟรอยด์
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมัน  ฟรอยด์ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมัน  ฟรอยด์
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมัน ฟรอยด์
 

ทฤษฏีการเรียนรู้ของสกินเนอร์