SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์กับการ
ตั้งถิ่นฐาน
อยู่บริเวณแม่นำ้าไทกริส-ยูเฟรติสเป็น
ที่ราบลุ่มนำ้าที่ อุดมสมบูรณ์
ท่ามกลางบริเวณทะเลทรายและหุบเขา
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์กับการ
ตั้งถิ่นฐาน
เมโสโปเตเมีย เป็นภาษากรีก ซึ่งแปลว่า ดิน
แดนแห่งลุ่มแม่นำ้าทั้งงสอง(ไทกริส - ยูเฟรติ
ส) แม่นำ้าทั้งสองไหลลงอ่าววเปอร์เซีย พื้นที่
ตอนบนเป็นพื้นที่ราบสูงและจะลาดตำ่าลงมายัง
พื้นที่ราบลุ่มมตอนล่าง พื้นที่ตอนบนมีความ
แห้งแล้งต้องอาศัยระบบชลประทานเข้ามา
ช่วย
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์กับการ
ตั้งถิ่นฐาน
พื้นที่ราบลุ่มตอนล่างเป็นที่ราบตำ่าเป็นนที่ราบดินดอน
ที่อุดมสมบูรณ์ เกิดจากการทับถมของดินตะกอนที่แม่
นำ้าทั้งงสองสายพัดเอาโคลนตมมาทับถมไว้บริเวณ
ปากนำ้า ทำาให้เกิดพื้นดินงอกตรงปากแม่นำ้าทุกปี
บริเวณนี้เรียกว่า “บาบิโลเนีย”
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์กับการ
ตั้งถิ่นฐาน
ลักษณะภูมิอากาศของดินแดนเมโสโปเต-เมีย เป็นดินแดนที่
มีฝนตกน้อยมาก เพราะมีภูมิอากาศเป็นแบบทะเลทรายกึ่ง
 ทะเลทราย จึงต้องอาศัยแม่นำ้าทั้งสองเป็นหลัก
ทรัพยากรธรรมชาติที่สำาคัญ ได้แก่ ดินอันอุดมสมบูรณ์โดย
เฉพาะดินเหนียวซึ่งนำามาทำาอิฐในการสร้างบ้านเรือนและ
ศาสนสถาน ส่วนแร่ธาตุ คือ เหล็กและเกลือ
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์กับการ
ตั้งถิ่นฐาน
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์กับการ
ตั้งถิ่นฐาน
ลักษณะชุมชนที่ตั้งถิ่นฐานเป็นชนหลายกลุ่มเผ่า
ผลัดกันมาตั้งถิ่นฐานและมีอำานาจในดินแดนแห่งนี้
ได้แก่ พวกสุเมเรียน ต่อมาเป็นพวกเผ่าเซเมติก
ได้แก่ พวกแอคคัด พวกอามอไรต์ พวกอัสซีเรียน
และพวกคาลเดียน หลักจากนั้นมีพวก อินโด
อารยัน ได้แก่ พวกฮิตไทต์
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์กับการ
ตั้งถิ่นฐาน
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์กับการ
ตั้งถิ่นฐาน
ตัวอย่างสิ่งก่อสร้างที่สร้างด้วย
แร่เหล็ก
แร่เกลือ
ชาวสุเมเรียนชาวสุเมเรียน
เป็นชนเผ่าแรกที่ครอบครองเมโสโปเตเมียสามารถ
ปกครองชนพื้นเมืองที่ตั้งรกรากดั้งเดิมภายในระยะเวลา
อันสั้น วัฒนธรรมของชนพื้นเมืองได้ถูกกลืนหายไป ดัง
นั้นวัฒนธรรมของชาวสุเมเรียนจึงเป็นต้นกำาเนิดของอาย
ธรรมแห่งนี้
ชาวสุเมเรียนชาวสุเมเรียน
สภาพภูมิอากาศของเมโสโปเตเมียไม่เอื้ออำานวยต่อการดำารงชีพ
เท่าใดนัก เพราะ เป็นดินแดนแห่งความแตกต่างทางธรรมชาติที่
มักแปรปรวนเสมอ บางครั้งอากาศร้อนจัด บางครั้งฝนตกจนเกิด
นำ้าท่วม บางครั้งรวมถึงการละลายของนำ้าแข็งบนนเทือกเขาอาร์
เมเนียที่เป็นต้นกำาเนิดแม่นำ้าทั้งงสองสายได้ไหลท่วมสร้างความม
เสียหายให้แก่ประชาชนที่อาศัยบริเวณริมฝั่งแม่นำ้า
ทั้งสอง
เทือกเขาอาร์เมเนีย
ชาวสุเมเรียน
ทำาให้ชาวสุเมเรียนหาทางเอาชนะธรรมชาติ
ด้วยการสร้างทำานบ คลองระบายนำ้า เขื่อนกั้น
นำ้า ประตูนำ้า และอ่างเก็บนำ้า เพื่อระบายนำ้าไป
ยังบริเวณแห้งแล้ง จึงทำาให้ชาวสุเมเรียนเป็น
พวกแรกที่ทำาชลประทานสำาเร็จ
ชาวสุเมเรียน
ชาวสุเมเรียนยกย่องและเกรงกลัวเทพเจ้าและเป็นหน้าที่
ของทุกคนที่ต้องรับใช้เทพเจ้าเพื่อให้พระองค์เมตตาและไม่
ลงโทษ สุเมเรียนจึงนิยมสร้างศาสนสถานขนาดใหญ่ที่
เรียกว่า “ซิกกูแรต” ขึ้นมา
ชาวสุเมเรียนชาวสุเมเรียน
ซิกกูแรต
คือ ศาสนสถานที่ชาวสุเมเรียนสร้างขึ้นมี รูปแบบ
คล้ายพีระมิดขั้นบันได เป็นสัญลักษณ์ที่ประทับ
ของเทพเจ้า ซิกกูแรตนิยมสร้างด้วยอิฐ เพราะ
เป็นวัสดุชนิดเดียวที่หาได้ง่ายในบริเวณนี้
ชาวสุเมเรียนชาวสุเมเรียนชาวสุเมเรียน
เป็นชนกลุ่มแรกที่รู้จักประดิษฐ์อักษรได้ราวสามพันห้าร้อย
ปีก่อนคริสต์ศักราช เรียกว่า อักษรลิ่ม หรือ คูนิฟอร์มอักษร
ลิ่มเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่ชาวสุเมเรียนสลักลงบนแผ่นดินเหนียว
เปียกๆเป็นสัญลักษณ์แทนความหมายของคำาแล้วนำาไป
ตากแห้ง เพื่อประโยชน์ทางศาสนกิจและการบันทึกเรื่อง
ราวของพระ
ชาวสุเมเรียน
อักษรลิ่มเป็นหลักฐานลายลักษณ์
อักษรที่เก่าแก่ที่สุดทางประวัติศาสตร์
หากยึดการแบ่งยุคโดยอาศัยหลักฐาน
ลายลักษณ์อักษร นักประวัติศาสตร์
บางคนถือว่าประวัติศาสตร์ได้เริ่มต้น
ที่ดินแดนของชาวสุเมเรียน
ชาวสุเมเรียน
การประดิษฐ์อักษรลิ่มนับว่าเป็นพัฒนาการสำาคัญต่อการสร้างอารยธร
รมเมโสโปเตเมีย ยิ่งไปกว่านั้นยังก่อให้เกิดวรรณกรรมอีกด้วย
วรรณกรรมสำาคัญ คือ มหากาพย์กิลกาเมซ เป็นเรื่องราวการผจญภัย
ของวีรบุรุษ ผู้หาชีวิตอมตะ มีเรื่องเกี่ยวกับนำ้า ท่วมโลกด้วย นัก
ประวัติศาสตร์เข้าใจว่า พันธสัญญาเดิม หรือ พระคัมภีร์เก่า คงได้รับ
อิทธิพลจากมหากาพย์นี้ เพราะมีเรื่องนำ้าท่วมโลกเอาไว้ด้วย
มหากาพย์กิลกาเมซ
มหากาพย์กิลกาเมช เป็นตำานาน นำ้าท่วม
โลกที่เก่าแก่ของ เมโสโปเตเมียโบราณ
เป็นหนึ่งในงานวรรณกรรมประเภทนิยาย
ที่เก่าแก่ที่สุดในโลก
มหากาพย์กิลกาเมซ
พันธสัญญาเดิม(พระ
คัมภีร์เก่า)
พันธสัญญาเดิม(พระ
คัมภีร์เก่า)
พันธสัญญาเดิม (The Old Testament) เป็นภาคที่หนึ่งของ
คัมภีร์ไบเบิล จากทั้งหมด 2 ภาค
เนื่องจาก ศาสนาคริสต์สืบคติมาจากศาสนายูดาห์ (ศาสนา
หนึ่งในกลุ่มศาสนาอับราฮัม) จึงรับเอาคัมภีร์ฮีบรูของศาสนายู
ดาห์มาเป็นส่วนหนึ่งของคัมภีร์ไบเบิลด้วย
ในนิกายโรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ ยึดถือ พันธสัญญา
เดิม ที่ประกอบด้วยหนังสือทั้งสิ้น 46 เล่ม แต่ในนิกาย
โปรเตสแตนต์ ยึดถือเพียง 39 เล่ม โดยตัดคัมภีร์สารบบที่สอง
ออกไปเป็นคัมภีร์นอกบท
พันธสัญญาเดิม(พระ
คัมภีร์เก่า)
ชาวสุเมเรียน
มีความเจริญด้าน
คณิตศาสตร์
ด้านปฏิทิน
ด้านชั่ง ตวง วัด
อาณาจักรบาบิโลเนียอาณาจักรบาบิโลเนีย
หลังจากที่พวกสุเมเรียนเสื่อมอำานาจลงเพราะการทำา
สงครามกับชนเผ่าอื่นๆที่เข้ามารุกรานและแย่งชิง
ความเป็นใหญ่ในระหว่างพวกสุเมเรียนด้วยกันเอง ต่อ
มาพวกอามอไรต์ ได้ตั้งอาณาจักรบาบิโลเนีย ขึ้นมา
มีเมืองหลวงอยู่ที่เมืองบาบิโลน ริมฝั่งแม่นำ้ายูเฟรทีส
อาณาจักรบาบิโลเนียเป็นอาณาจักรที่เข้ม
แข็ง มีการปกครองแบบรวมศูนย์มีการเก็บภาษีอากร
และการเกณฑ์ทหาร รัฐควบคุมการค้าต่างๆ อย่างใกล้
ชิด
ผลงานสำาคัญอาณาจักร
บาบิโลเนีย
ผลงานสำาคัญอาณาจักร
บาบิโลเนีย
การประมวลกฎหมายเป็นลายลักษณ์อักษร ในสมัยพระเจ้า
ฮัมมูราบี ซึ่งมีชื่อเรียกว่าประมวลกฎหมายของพระเจ้าฮัมมู
ราบี จารึกอยู่บนแผ่นศิลา หลักการของกฎหมายมีรากฐาน
มาจากกฎหมายของพวกสุเมเรียน ให้อำานาจหน้าที่ในการ
ลงโทษผู้กระทำาผิดแก่ชนชั้นปกครองยิ่งขึ้น ประมวล
กฎหมายของฮัมมูราบี ยึดถือหลัก “ตาต่อตา ฟันต่อฟัน”
ประมวลกฎหมายฮัมมูราบี
แผ่นศิลาพบที่เมืองซูซา อิหร่าน เป็นรูปสลักพระเจ้าฮัมมู
ราบี(ซ้าย)กำาลังสวดอ้อนวอนชามาช เทพแห่งความยุติธรรม
การลงโทษแบบตา
ต่อตา ฟันต่อฟัน
การทดแทนความผิด
ด้วยการกระทำาอย่าง
เดียวกัน
จักรวรรดิอัสซีเรียจักรวรรดิอัสซีเรีย
ในศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตศักราช พวกอัสซีเรียนเข้ายึดกรุงบาบิ
โลนและอาณาจักรในเอเชียตะวันตก เป็นนักรบที่กล้าหาญ ใช้
อาวุธที่ทำาด้วยเหล็ก มีอาณาเขตกว้างขวาง มีศูนย์กลางการ
ปกครองที่เมืองนิเนเวห์ มีความเชื่อว่ากษัตริย์ของตนเป็นตัวแทน
ของเทวราช มีศักดิ์ศรีและเกียรติสูงกว่ากษัตริย์สุเมเรียน ความแตก
ต่างแสดงออกด้านสถาปัตยกรรม คือ ชาวอัสซีเรียนนิยมสร้างวัง
ให้มีขนาดใหญ่กว่าศาสนสถาน
จักรวรรดิอัสซีเรีย
มรดกทางศิลปกรรมที่สำาคัญของอัสซี-เรียนได้แก่ การสลัก
ภาพนูนตำ่าเกี่ยวกับบชีวิตประจำาวันของชาวอัสซีเรียนอัน
ได้แก่ การล่าสัตว์ และการทำาสงครามกับชนชาติต่างๆ ศิลป
วัฒนธรรมเจริญสูงสุดในสมัยพระเจ้าอัสซูนิบาปาล มีการ
รวบรวมงานเขียนที่เป็นจารึกไว้ในห้องสมุดที่เมืองนิเนเวห์
ถึง22,000แผ่น นับเป็นห้องสมุดที่ใหญ่ที่สุดในสมัยนั้น
อาณาจักรคาลเดีย
น
เมื่อ 612 ปีก่อนคริสต์ศักราช พวกคาลเดียน
ซึงเป็นชนเผ่าฮีบรูทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของ
ลุ่มแม่นำ้าไทกริส-ยูเฟรทีสก็สามารถเข้ายึด
กรุงนิเนเวห์ได้สำาเร็จ และสถาปนากรุง บาบิ
โลนขึ้นเป็นเมืองหลวงอีกครั้งหนึ่ง และจัดตั้งเป็น
อาณาจักรบาบิโลเนียขึ้นมา อาณาจักร
บิโลเนียใหม่เป็นอาณาจักรที่รุ่งเรืองมาก ใน
สมัยพระเจ้าเนบูคัดเนซซาร์ พวกคาลเดียน
สามารถยกกองทัพไปตีได้เมืองเยรูซาเลม และ
กวาดต้อนเชลยชาวยิวมายังกรุงบาบิโลนได้เป็น
จำานวนมาก ยิ่งไปกว่านั้นยังมีการสร้างสวน
ขนาดใหญ่เรียกว่า สวนลอยแห่งบาบิโลน
อาณาจักรคาลเดียน
ซึ่งถือได้ว่าเป็นสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคโบราณ
เพราะสามารถใช้ความรู้ในการชลประทาน
ทำาให้สวนลอยนี้เขียวขจีได้ตลอดทั้งปี นอกจาก
นั้นพวกคาลเดียนในบาบิโลเนียใหม่ยังปรับปรุง
ด้านเกษตรกรรม และเริ่มต้นงานด้าน
วิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทาง
ดาราศาสตร์ มีการแบ่งสัปดาห์ออกเป็น 7 วัน
แบ่งวันออกเป็น 12 คาบ คาบละ 120 นาที
และยังสามารถพยากรณ์สุริยุปราคาตลอดจน
คำานวณเวลาการโคจรของดวงอาทิตย์ในรอบปี
ได้อย่างถูกต้อง ชาวคาลเดียนเป็นชาติแรกที่
เมื่อ 539 ปีก่อนคริสต์ศักราช อาณาจักร
บาบิโลเนียใหม่ถูกกองทัพเปอร์เซียโดย
การนำาของ พระเจ้าไซรัสมหาราช (Cyrus
the Great, 559-530 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
เข้ายึดครองและผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของ
จักรวรรดิเปอร์เซียที่เรืองอำานาจอยู่ใน
บริเวณเอเชียตะวันตก จึงนับได้ว่า
ประวัติศาสตร์ของดินแดนแถบเมโสโปเต
เมียในยุคโบราณได้สิ้นสุดลงไปด้วย
อาณาจักรคาลเดียน
จัดเป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก ตั้งอยู่
บนแม่นำ้ายูเฟรติส ประเทศอิรักในปัจจุบัน สร้าง
โดยกษัตริย์เนบูคัดเนสซาร์ที่ 2 แห่งกรุง
บาบิโลเนีย สร้างให้แก่มเหสีของพระองค์ชื่อ
พระนางเซมีรามีส สร้างขึ้นเมื่อ 600 ปีก่อน
คริสต์ศักราช สูงประมาณ 75 ฟุต กินพื้นที่ 400
ตารางฟุต ระเบียงทุกชั้นได้รับการตกแต่งด้วยไม้
ดอก ไม้ประดับ ไม้ยืนพุ่มชนิดต่างๆ มีระบบ
ชลประทานชักนำ้าจากแม่นำ้าไทกริสไปทำา เป็น
นำ้าตกและนำาไปเลี้ยงต้นไม้ตลอดทั้งปี สวนนี้ได้
สวนลอยแห่งบาบิ
โลน
สวนลอยแห่งบาบิ
โลน

More Related Content

What's hot

อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันPannaray Kaewmarueang
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณbua2503
 
อารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.pptอารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.pptssuseradaad2
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510Suphatsara Amornluk
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดียJitjaree Lertwilaiwittaya
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1montira
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกChanapa Youngmang
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกพัน พัน
 
ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2
ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2
ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2Bow Rattikarn
 
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552Duangjai Boonmeeprasert
 
Mesopotamia Civilization
Mesopotamia CivilizationMesopotamia Civilization
Mesopotamia Civilizationtimtubtimmm
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพkrupeem
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนพัน พัน
 

What's hot (20)

อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
 
อารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.pptอารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.ppt
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
 
ทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพ
ทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพ
ทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพ
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตก
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2
ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2
ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2
 
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552
 
Mesopotamia Civilization
Mesopotamia CivilizationMesopotamia Civilization
Mesopotamia Civilization
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
 
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialismลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซียสงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 

อารยธรรมเมโสโปเตเมีย