SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
ความตกตื่นในภาวะโลกร้ อน : การย้ อนแย้ งเชิงข้ อมูล1

คงกล่าวได้ อย่างไม่ผดนักว่า กระแสความตื่นตัวต่อปรากฏการณ์เรื่ องโลกร้ อน ในช่วงปี ที่ผานมา ได้ รับอิทธิพล
                            ิ                                                                  ่
อย่างมากจาก An Inconvenient Truth อย่างไม่ต้องสงสัย ลาพังแค่การสังซื ้อ DVD จาก amazon.com หนัง
                                                                                ่
เรื่ องนี ้ ก็ไต่ขึ ้นไปรังตาแหน่งอับดับที่ 15 แล้ ว (วันที่ 11 เมษายน 2550) ส่วนหนังสือในชื่อเดียวกันเอง ขึ ้นเป็ น
                          ้
New York Times bestseller ตังแต่ 11 มิถนายน 2549 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 นอกจากนี ้ หนังเรื่องนี ้ยังมี
                                       ้            ุ
ผลทาให้ Al Gore ได้ รับการเสนอชื่อเข้ าชิงรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพในปี 2007 อีกด้ วย

สาหรับในประเทศไทย ความตื่นตัวต่อเรื่ องนี ้ก็กาลังเกิดขึ ้นอย่างน่าสนใจ นิตยสารสารคดี นิตยสารหัวหนักด้ วย
ข้ อมูล ฉบับเดือนมีนาคมที่ผานมา ก็อทิศหน้ าหนังสือหลายต่อหลายหน้ าเพื่ออธิบายถึงหายนะภัยของโลกร้ อน ที่
                           ่       ุ
สาคัญ คือ บก.ใหญ่ แห่งสารคดี ลงมือเขียนเอง ส่วน A Day นิตยสารวัยรุ่นหัวทันสมัย ที่เน้ นสาระ แต่ไม่เชย ก็
ส่งวิธีดแลโลกแบบไม่เชยออกมาด้ วยเหมือนกัน เป็ นต้ น
        ู

ล่าสุด สัปดาห์หนังสือแห่งชาติที่เพิงผ่านมาไม่นาน สานักพิมพ์มติชน รายงานว่า หนังสือของสานักพิมพ์ที่มีการ
                                    ่
ซื ้อมากที่สด ก็คือ “โลกร้ อน..ความจริงที่ไม่ มีใครอยากฟั ง” ซึ่งก็คือ ภาคภาษาไทยของ An Inconvenient
            ุ
Truth ที่เขียนโดย Al Gore นันเอง โดยขายได้ มากถึงประมาณ 6,000 เล่ม (ผมว่าน่าจะเป็ นหนังสือสิงแวดล้ อม
                              ่                                                              ่
เพียงไม่กี่เล่มในเมืองไทย ที่ขายได้ ดีขนาดนี )้

ข้ อสังเกตของผมก็คือ ข้ อมูลทางวิทยาศาสตร์ ที่ Al Gore หรื อ ชาวโลกร้ อน (global warmist) นามาเสนอนัน ผม
                                                                                                       ้
เห็นว่า สังคมไทยมีแนวโน้ มที่จะเชื่อกันโดยง่าย อีกทังยังมีนกอนุรักษ์ นักวิชาการในสถาบันอุดมศึกษาชันสูงอีก
                                                    ้       ั                                        ้
จานวนไม่น้อย ผสมโรง ทาให้ ข้อมูลดูหนักแน่นมากขึ ้น นันทาให้ บรรยากาศการถกเถียงทางวิชาการเพื่อการ
                                                          ่
เจริญสติ และปั ญญา ในสังคมไทยดูเงียบเหงาและอับเฉาโดยสิ ้นเชิง (หากจาไม่ผด ผมเคยเห็นข้ อเขียนของ อ.
                                                                                 ิ
สุทศน์ ยกส้ าน ใน นสพ.ผู้จดการ เพียงท่านเดียวเท่านันที่พดถึง กรณีโลกร้ อน ในทานองให้ ฟังหูไว้ หู) แต่จนถึง
    ั                       ั                         ้ ู
ปั จจุบน ผมเชื่อเหลือเกินว่า สังคมไทยโดยทัวไป “เชื่ อ” โดยไม่ต้องสงสัยอีกแล้ วว่า
        ั                                  ่
      1) ปรากฏการณ์โลกร้ อนที่เป็ นอยู่ในขณะนี ้ เกิดจาก ฝี มือมนุษย์
      2) กิจกรรมของมนุษย์ที่ทาให้ โลกร้ อน ก็คือ การเผาเชื ้อเพลิงฟอสซิล ซึ่งปล่อย CO2 ออกมาเป็ นจานวน
           มาก
      3) CO2 คือสาเหตุสาคัญที่ทาให้ อุณหภูมโลกสูงขึ ้น
                                                ิ


1
     บทความนีปรับปรุ งจากการเผยแพร่ ครังแรกใน website มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน โดยมีเปาหมายเพื่อกระตุกความคิด ความเชื่อ
                ้                          ้                                         ้
เรื่ องโลกร้ อน ซึงปั จจุบน ผู้คนส่วนใหญ่ในสังคมไทย เชื่อไปในทางเดียวกันทังหมดว่า โลกร้ อน เกิดขึนจากฝี มือมนุษย์ ทีปล่อย CO2
                  ่       ั                                               ้                      ้                  ่
ออกมามาก จนเป็ นตัวกักความร้ อนให้ อบโลกอยู่ในขณะนี ้ ขณะเดียวกัน สังคมในต่างแดน ประเด็นโลกร้ อนยังเป็ นที่ถกเถียงถึง
หลักฐานข้ อมูลเชิงประจักษ์อีกมาก ซึงผมต้ องการเห็นสังคมไทย เชื่อ โดยได้ พดคุย ถกเถียง ถึงข้ อมูลเชิงประจักษ์ที่มากพอด้ วย
                                       ่                                    ู
เช่นกัน ....ความดีทพอมีในบทความนี ้ ขอมอบให้ คณกาลามะชน แห่ง pantip.com ห้ องหว้ ากอ ที่เปิ ดประเด็นนี ้ และให้ ข้อมูลอีก
                       ี่                          ุ
ด้ านมาตังแต่ปลายปี 2548 ซึงผมได้ คดลอกมาใช้ ในบทความชิ ้นนีด้วย ส่วนความผิดพลาดทีอาจเกิดขึนกับข้ อมูล ย่อมเป็ นความ
            ้                    ่       ั                       ้                        ่         ้
รับผิดของผมแต่เพียงผู้เดียว .......วีรบูรณ์ วิสารทสกุล คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์


                                                                                                                           1
อ่ะๆ แต่ช้าก่อน ก่อนที่จะเชื่ออะไรมากไปกว่านี ้จนถอนตัวไม่ขึ ้น ลองฟั งข้ อมูลอีกด้ านก่อนดีไหมครับ ผมจะขอ
มาทาหน้ าที่เป็ นทนายจาเลย คือ CO2 กับ มนุษย์ ไปพลางๆ ก่อน โดยจะใช้ ข้อมูลอีกด้ านที่มีการเผยแพร่ทวไป  ั่
มาอธิบาย ผ่านบทสนทนา ระหว่าง ชาวโลกร้ อน กับ ผม ...เริ่มเลยดีกว่าครับ

ชาวโลกร้ อน : คุณดูหนัง An Inconvenient Truth2 หรื อยัง คุณเห็นข้ อมูลที่ Gore เอามาเสนอหรื อเปล่า มัน
น่ากลัวมากน่ะ ทังก้ อนน ้าแข็งที่ขวโลกเหนือ ธารน ้าแข็ง ภูเขาน ้าแข็งในที่ตางๆ กาลังละลาย พายุเฮอรริแคนที่
                   ้              ั้                                       ่
เกิดบ่อยครังขึ ้น และทวีกาลังมากขึ ้น ความแห้ งแล้ ง น ้าท่วม ฤดูกาลที่ผนแปรในทุกทวีปทั่วโลก ทาไมคุณถึงยัง
            ้                                                           ั
ไม่เชื่อล่ะ

ผม : ก็มนมีข้อมูลที่ทาให้ ผมต้ องคิดหนักน่ะซิ ว่าผมจะเชื่อ Gore ที่เป็ นนักการเมือง หรื อ เชื่อข้ อมูลที่มีหลักฐาน
         ั
ทางวิทยาศาสตร์ ดี อย่างในหนัง Gore พูดไว้ ตอนหนึ่งว่า อุณหภูมโลกที่ร้อนขึ ้น จะทาให้ น ้าทะเลสูงขึ ้นถึง 20
                                                                 ิ
ฟุต โดยไม่ระบุเวลาที่ชดเจน มันดูน่ากลัวจริงๆ แต่หากคุณไปดูรายงานของ IPCC อย่างฉบับที่ 4 (ปี 2007) เขา
                      ั
รายงานว่า จากการคาดการณ์แบบเลวร้ ายสุดๆ ในศตวรรษนี ้ น ้าทะเลจะสูงขึ ้น 23 นิ ้ว ........20 กับ 23 ตัวเลข
ห่างกันนิดเดียวก็จริง แต่หน่วยต่างกันเยอะน่ะครับ คุณว่าจริงไหมครับ

ผมขอออกตัวก่อนว่า ผมเชื่อโดยสนิทใจว่า โลกร้ อนขึ ้น อย่างแน่นอน ผมยังเชื่อต่อว่า Greenhouse Gas (GHG)
มีปริมาณเพิ่มขึ ้น ผมยังกังวลถึงผลที่ตามมาจากโลกที่ร้อนขึ ้นด้ วย อีกทังผมยังสนับสนุนการทางานด้ านการ
                                                                       ้
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติด้วย ผมจึงไม่ใช่พวกที่ชื่นชอบการพัฒนาที่เอาเงินเป็ นตัวตัง้ ที่ ใครๆ มักจะตราหน้ า
ให้ แก่พวกที่ยืนตรงข้ ามกับชาวโลกร้ อน...มากไปกว่านัน อย่ างน้ อยผมเป็ นคนหนึ่งล่ ะที่ไม่ เห็นด้ วยที่ สนพ.
                                                    ้
มติชน พิมพ์ หนังสือเรื่อง “โลกร้ อน..ความจริงที่ไม่ มีใครอยากฟั ง” โดยใช้ กระดาษอาร์ ต 4 สี ทังเล่ ม    ้
เพราะเข้ าตารา มือถือสาก ปากถือศีล...คุณว่ าไหม?

เพียงแต่ ผมเห็นว่า หากเราเข้ าใจเหตุที่ทาให้ เกิดโลกร้ อนพลาดไปแล้ ว การแก้ ปัญหา มันก็เสียเปล่าเท่านันเอง้
ที่ผมพูดแบบนี ้ เพราะผมมีข้อมูลที่ทาให้ ผมเชื่อว่า มนุษย์ไม่ได้ เป็ นต้ นตอของโลกร้ อน หากแต่ โลกร้ อนเป็ น
ปรากฏการณ์ธรรมชาติที่มีรอบการเกิดที่คอนข้ างแน่นอน ในขณะที่ CO2 ก็ไม่ได้ เป็ นเหตุให้ อณหภูมสงขึ ้น
                                         ่                                                  ุ       ิ ู
(causation) เพียงแต่มนมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ ชิดกับอุณหภูมที่สงขึ ้นเท่านันเอง (correlation) ที่สาคัญ
                      ั                                            ิ ู         ้
ความสัมพันธ์ดงกล่าวก็ไม่ได้ เป็ นความสัมพันธ์ที่สมบูรณ์ กล่าวคือ ในบางช่วงปี ที่อณหภูมลดต่า เช่น ในช่วงปี
                ั                                                                   ุ     ิ
1940 – 1975 แต่ CO2 ก็ยงเพิมมากขึ ้น อีกทัง้ ผมยังเชื่อในทางตรงข้ ามอีกว่า โลกที่ร้อนขึ ้นต่างหากที่ทาให้
                         ั ่
ปริมาณ CO2 ในบรรยากาศมีมากขึ ้น

การเข้ าใจถึงสาเหตุ และความพยายามที่จะแก้ ไขนัน หากเราเข้ าใจ เหตุที่ตางกัน ย่อมนาไปสูการแก้ ปัญหาที่
                                                 ้                    ่                ่
ต่างกันด้ วย เช่น หากเชื่อว่า โลกร้ อน เกิดจาก CO2 ความพยายามและการทุ่มเทเพื่อแก้ ไขปั ญหา ก็คงมุงไปที่
                                                                                                 ่



2
  หากคุณดูหนังเรื่ องนี ้แล้ ว ขอให้ ดหนังอีกเรื่อง ชื่อ The Great Global Warming Swindle
                                      ู
http://en.wikipedia.org/wiki/The_Great_Global_Warming_Swindle


                                                                                                                 2
การหาพลังงานทดแทน ซึ่งเป็ นที่ชดเจนแน่นอนว่า สหประชาชาติ จะหนุนให้ พลังงานนิวคลียร์ เป็ นพลังงาน
                               ั
ทดแทนในอนาคต หรื อไม่ก็เทคโนโลยีขนสูงเพื่อทาให้ การใช้ พลังงานมีประสิทธิภาพมากขึ ้น
                                   ั้

แต่ถ้าหากเชื่อว่า โลกร้ อน เป็ นปรากฏการณ์ธรรมชาติ
ซึ่งเป็ นเรื่ องที่ห้ามกันไม่ได้ และหยุดไม่ได้ หน้ าที่เรา คือ
ตังรับอย่างดีที่สด อย่างกรณีของเมืองไทย แผนที่สมัยทวารวดี
     ้                ุ
ซึ่งตรงกับช่วงร้ อนในอดีต (Medieval Maximum)
ชี ้ให้ เห็นว่า ชายฝั่ งอยู่ที่ไหนบ้ าง นันหมายถึง เราอาจต้ องทุ่ม
                                          ่
งบประมาณสร้ างเขื่อนยาวหลายพันกิโลเมตร ปองกันนาทะเล    ้       ้
หนุน อย่างที่เนเธอร์ แลนด์เขาทามาแล้ ว แทนที่จะใช้ เงินไปเพื่อ
การลดปริ มาณ CO2

ชาวโลกร้ อน : อะไรพลังงานนิวเคลียร์ เลยเหรอ มันยังมีพลังงาน
ทางเลือกอีกตังหลายอย่าง อย่างพลังงานลม แสงอาทิตย์ หรื อแม้
             ้
แต่เอธานอล ที่กาลังฮิตๆ ก็น่าจะช่วยลดการปล่อย CO2 ได้ บ้าง
อีกทังการขยายพื ้นที่ป่า การปลูกป่ าเพิ่มเพื่อดูดซับ ก็เป็ นเรื่ องที่ ช่วยได้ ไม่ใช่หรื อ
     ้

ผม : แน่นอนครับ แต่ช้าก่อน พลังงานทางเลือกเหล่านี ้ ต่างกาลังต้ องการการพัฒนาอีกมาก ส่วนเอธานอลเอง
นัน คุณเคยได้ ยินหรื อเปล่าว่า การผลิตเอธานอล 1 แกลลอนที่มีคาพลังงาน 77,000 BTUS ต้ องใช้ พลังงานใน
  ้                                                          ่
การผลิตถึง 131,000 BTUS นันหมายถึง การผลิตเอธานอลทุกๆ 1 แกลลอน เราต้ องเสียพลังงานไป 54,000
                               ่
BTUs ขณะเดียวกันการผลิตเอธานอล (เพื่อผสมกับนามันเบนซิน) สาหรับรถยนต์หนึ่งคันต่อ 1 ปี ต้ องใช้ พื ้นที่
                                                  ้
ปลูกข้ าวโพดประมาณ 27.83 ไร่ (= 11 เอเคอร์ ) ซึงสามารถปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงคนได้ 7 คน/ปี นัน คือ ข้ อเท็จจริง
                                               ่                                         ่
ที่ไม่คอยมีใครพูดถึงกัน 3
       ่

อีกอย่างเรื่ องของการปลูกป่ านอกเขตพื ้นที่เส้ นศูนย์สตร 4 ก็กาลังเป็ นประเด็นที่ถกเถียงกันอยู่ ก็คือ งานวิจย
                                                         ู                                                   ั
ล่าสุดของ ดร. Bala Govindasamy และ ดร. Ken Caldeira ที่กาลังจะตีพิมพ์ใน Proceedings of the National
Academy of Scientists นันบอกว่า การปลูกป่ าในพื ้นที่นอกแถบเส้ นศูนย์สตร ไม่ได้ ช่วยทาให้ อณหภูมโลก
                            ้                                                     ู                 ุ     ิ
ลดลง ในทางตรงข้ ามมันจะเก็บความร้ อนไว้ ซึ่งจะทาให้ โลกร้ อนมากขึ ้น..ฝั่ งอนุรักษ์อย่าง นักรบสายรุ้ง
(Greenpeace) เมื่อได้ ฟังเช่นนี ้ ก็ต้องหันหัวเรื อเข้ าขวางทันที....เออ คือ ฟั งแล้ วผมยังเหนื่อยแทนเลยครับ
อย่างไรก็ต้องติดตามต่อครับว่างานชิ ้นนี ้ จะเละ หรื อจะถูกเชิดชูตอ    ่




3
    d/l งานชิ ้นนีของ David Pimental ได้ ที่ http://hubbert.mines.edu/news/Pimentel_98-2.pdf
                  ้
4
    http://www.llnl.gov/pao/news/news_releases/2006/NR-06-12-02.html และ ใน หนังสือพิมพ์ The Nation วันที่ 11 เมษายน 2007 หน้ า 7A


                                                                                                                    3
ชาวโลกร้ อน : เดี๋ยวก่อนครับ กลับมาเรื่ องหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ เกี่ยวกับโลกร้ อนต่อ ขนาด ดร. Naomi
Oreskes เขาเป็ น professor ด้ านประวัตศาสตร์ วทยาศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์ เนีย ซานดิ เอโก ยังเขียนไว้
                                         ิ      ิ
ในบทบรรณาธิการวารสาร Science (วารสาร 1 ใน 2 ที่ยิ่งใหญ่ที่สดในแวดวงวิทยาศาสตร์ อีกเล่มหนึ่งคือ
                                                                  ุ
Nature) ฉบับเดือนธันวาคม 2004 ว่า จากการตรวจสอบ บทคัดย่อ จากฐานข้ อมูล ISI ทางอินเตอร์ เน็ต (ข้ อมูล
ระหว่างปี 1993-2003) โดยกลุมผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งใช้ คาค้ นว่า "global climate change" พบว่ามีจานวน
                                 ่
บทคัดย่อ 928 บทคัดย่อ ซึ่งต่างลงความเห็นเป็ นหนึ่งเดียวว่า (scientific consensus) มนุษย์ คือ สาเหตุที่ทาให้
โลกร้ อนขึ ้น ความเห็นที่เห็นพ้ องของนักวิทยาศาสตร์ ขนาดนี ้ คุณจะว่าไงอีก ข้ อมูลทางวิทยาศาสตร์ และ
นักวิทยาศาสตร์ จานวนมากต่างก็ยืนยันแบบนี ้ คุณยังไม่เชื่ออีกหรื อ

ผม : ช้ าก่อนครับ โปรดทราบไว้ ด้วยว่า มีคนจานวนมากหลังจากอ่านบทความของเธอแล้ ว พยายามเขียน
ความเห็นโต้ แย้ ง แต่ Science ไม่ยอมตีพิมพ์ข้อโต้ แย้ งให้ นอกจากนี ้ ยังมีเรื่ องที่น่าสนใจครับ เมื่อมีการแฉว่าเธอ
จงใจมองข้ ามบทความอีกประมาณ 11,000 บทความในฐานข้ อมูลที่ตีพิมพ์ตลอด 10 ปี ทังนี ้ มีประมาณ 500 ้
รายชื่อผู้เขียน ที่ถกนามาใช้ อ้างอิงในหนังสือ unstoppable global warming : Every 1,500 year5 ซึ่งเป็ น
                    ู
หนังสือสาคัญอีกเล่มที่ใช้ ข้อมูลวิทยาศาสตร์ จานวนมาก เพื่อชี ้ให้ เห็นว่า โลกร้ อนเป็ นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่
เกิดขึ ้นทุกๆ 1,500 ปี

อ้ อ!!! ที่สาคัญ บทคัดย่อจานวน 928 บทคัดย่อนัน ได้ ถก ดร. Benny Peiser6 แห่ง มหาวิทยาลัยลิเวอร์ พล
                                                  ้         ู                                          ู
ประเทศอังกฤษ ตรวจสอบซ ้า และกลับพบใน สิงที่แตกต่างออกไป นันคือ บทคัดย่อจานวนมากมีความเห็นที่
                                                ่                   ่
แตกต่าง มากกว่าจะเห็นพ้ องต้ องกัน อีกทังเกือบทังหมดก็เป็ นความเห็นที่ ไม่กล้ าฟั นธงทังสิ ้น (noncommittal)
                                             ้        ้                                      ้
และ บทความของ ดร.Benny Peiser อีกเช่นกันที่ วารสาร Science ไม่ยอมให้ รับพิมพ์ แม้ จะยอมรับว่า
ข้ อสังเกตของ ดร.Benny ถูกต้ องก็ตาม นันหมายถึง วารสาร Science ก็ยงคงปล่อยให้ บทความที่มีความ
                                           ่                             ั
ผิดพลาดลอยนวลอยู่ตอไป ....เหตุการณ์เช่นนี ้ เกิดกับ Nature เช่นกัน ที่มีการลงตีพมพ์บทความเกี่ยวกับ กราฟ
                        ่                                                             ิ
รูป Hockey Stick (จะกล่าวถึงเรื่ องนี ้ต่อไป) โดยมีผ้ ทบทวนบทความ 2 คน ที่ไม่ใช่ผ้ เู ชี่ยวชาญด้ านสภาพอากาศ
                                                        ู
แต่กลับเป็ นนักสถิติ สุดท้ ายมีการตีพมพ์บทความนี ้ ทังที่มีความผิดพลาดด้ านข้ อมูล และวิธีวทยา ซึ่งก็นาไปสู่
                                     ิ                    ้                                      ิ
การวิพากษ์วจารณ์อย่างกว้ างขวาง...นี่จึงเป็ นตัวอย่างที่ดีที่จะบอกคุณว่า ให้ ฟังหูไว้ หเู สียก่อน
               ิ

ชาวโลกร้ อน : เดี๋ยวๆ เมื่อกี ้คุณก็บอกเองไม่ใช่หรื อว่า คุณไม่เถียงว่าโลกร้ อนขึ ้นจริง และยังกลัวว่ามันจะส่งผล
ให้ มีการเปลี่ยนแปลงด้ านบรรยากาศ หรื อสภาพแวดล้ อมตามมา

ผม : แน่นอนครับ ผมก็เห็นว่า โลกมันร้ อนขึ ้นจริง แต่ที่ผมไม่แน่ใจก็คือ 1) โลกที่เย็นกว่าที่เป็ นอยู่นี ้ จะดีกว่า โลก
ที่ร้อนขึ ้น อย่างไร และ 2) ผลจากการที่โลกร้ อน ทาให้ เกิดภัยพิบตทางธรรมชาติ ตามมาจริงหรื อไม่
                                                                ัิ

5
 ท่านที่สนใจ โปรดดู Dennis T. Avery and S. Fred Singer (2007) unstoppable global warming : Every 1,500 year.
http://www.amazon.com/exec/obidos/tg/detail/-/0742551172/ref=ord_cart_shr/002-2236649-
6230433?%5Fencoding=UTF8&m=ATVPDKIKX0DER&v=glance
6
    ท่านที่สนใจบทความที่ ดร. Benny เขียนถึง โปรดดู http://www.staff.livjm.ac.uk/spsbpeis/NationalPost.htm และ


                                                                                                                   4
มีงานศึกษาชื่อ Enhanced or Impaired? Human Health in a CO2 -Enriched Warmer World7 ของ ศูนย์
ศึกษา CO2 และการเปลี่ยนแปลงโลก (Center for the Study of Carbon Dioxide and Global Change) ระบุ
ว่า อากาศที่ร้อนขึ ้น และปริมาณ CO2 ที่มากขึ ้น จะส่งผลกระทบในทางบวก มากกว่าทางลบ ทังในมิติเรื่ อง
                                                                                    ้
โรคติดต่อ โรคทางเดินหายใจ การผลิตทางการเกษตร เป็ นต้ น

อย่างกรณีที่ WHO อ้ างว่า โลกที่ร้อนขึ ้น จะทาให้ มีอตราของการเกิดโรค การติดเชื ้อ และการตายที่สงขึ ้น
                                                      ั                                                    ู
โดยประมาณว่าจะมีผ้ เู สียชีวต 150,000 คน ซึ่งเป็ นผลมาจากโลกร้ อนขึ ้น ข้ ออ้ างนี ้ ก็เป็ นข้ ออ้ างที่นก
                              ิ                                                                          ั
อุตนิยมวิทยา เห็นว่าไม่ถกต้ อง เพราะ 1) การขึ ้นลงของอุณหภูมของแต่ละท้ องถิ่น ไม่ได้ แกว่งตามอุณหภูมเิ ฉลี่ย
    ุ                    ู                                    ิ
ของโลก และ 2) ผู้เชี่ยวชาญด้ านสุขภาพทุกคนรู้ดีวา ความเสี่ยงที่มีนยสาคัญต่อสุขภาพของมนุษย์ คือ อุณหภูมิ
                                                    ่              ั
ที่หนาวเย็นต่างหาก ไม่ใช่อณหภูมที่อ่นขึ ้น ลาพังแค่ในรัสเซีย และยุโรป ช่วงฤดูหนาวไม่กี่เดือน ก็มีคนตายจาก
                            ุ      ิ ุ
อุณหภูมที่ต่าลง เฉลี่ยนับ 100,000 คนทุกๆ ปี
        ิ

นอกจากนี ้ยังมีงานศึกษาในประเทศอังกฤษ8 ที่คานวณให้ เห็นว่า การเพิ่มขึ ้นของอุณหภูมเิ ฉลี่ยทุก 2 องศา
เซลเซียส ตลอดช่วง 50 ปี ที่ผานมา ทาให้ มี ผู้เสียชีวตที่สมพันธ์กับความร้ อน ประมาณ 2,000 คน แต่สามารถ
                              ่                     ิ ั
ลดจานวนผู้เสียชีวต จากความหนาวเย็นได้ มากถึง 20,000 คน หรื ออาจกล่าวได้ วา อุณหภูมที่สงขึ ้นช่วยลด
                  ิ                                                             ่        ิ ู
จานวนผู้เสียชีวตลงอย่างมีนยยะสาคัญ ขณะเดียวกันยังมีงานศึกษาในสหรัฐอเมริกาที่ชี ้ว่า อุณหภูมที่เพิมสูงขึ ้น
               ิ            ั                                                                   ิ ่
ทุก 2.5 องศาเซลเซียส ช่วยลดอัตราการเสียชีวตลงปี ละ 40,000 คน ซึ่งลดรายจ่ายด้ านสุขภาพไปปี ละ 20
                                               ิ
พันล้ านเหรี ยญต่อปี 9

และตลอดช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา ประเทศในแถบตะวันตกโดยส่วนใหญ่ มีอตราการตายจากความร้ อนลดลง
                                                                           ั
อย่างมีนยยะสาคัญ โดยข้ อเท็จจริงก็คือ มีการปรับตัวทางด้ านเทคโนโลยีเพื่อลดความเครี ยดจากสภาพอากาศที่
         ั
เลวร้ าย ซึ่งเร่งให้ เกิดมาตรการการปองกันการเสียชีวตจากความร้ อนในพื ้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศพัฒนาแล้ ว
                                    ้              ิ

หรื อ กรณี Katrina ซึ่ง Gore ระบุชดว่าเป็ นผลสืบเนื่องมาจากภาวะโลกร้ อนนัน ดร. Christopher Landsea 10
                                    ั                                      ้
ผู้เชี่ยวชาญด้ านเฮอร์ ริเคน ที่ลาออก (ดูเหตุผลการลาออกข้ างหน้ า) จากการเป็ นคณะทางานจัดทารายงานฉบับ
ที่ 4 ของ IPCC กล่าวว่า “…..ทฤษฎี โลกร้อน และโมเดลคณิ ตศาสตร์ บอกเราแค่ว่า เฮอร์ ริเคนอย่าง Katrina
และ Rita นัน อาจจะรุนแรงขึ้นอันเนืองมาจาก โลกร้อน แต่อาจจะแค่ 1-2 ไมล์ต่อชัวโมงเท่านัน” 11
            ้                         ่                                         ่       ้




7
  ท่านที่สนใจสามารถ d/l มาอ่านได้ http://www.co2science.org/scripts/Template/0_CO2ScienceB2C/pdf/health2pps.pdf
8
  W Keatinge and G C Donaldson (2004) The Impact of Global Warming on Health and Mortality, Southern Medical
Journal, Volume 97, Number 11, November 2004
9
   Health and Amenity Effects of Global Warming, IDEAS, 1996 http://ideas.repec.org/p/wpa/wuwpot/9604001.html
10
   ดูเรื่ องราวของ ดร.Christopher Landsea ซึงเป็ นผู้เชี่ยวชาญด้ านเฮอร์ ริเคน ที่รัฐบาลมอบความไว้ เนือเชือใจมากกว่า
                                               ่                                                      ้ ่
นักวิทยาศาสตร์ คนใดๆ ให้ แถลงผลเรื่ องเฮอร์ ริเคน Katrina http://en.wikipedia.org/wiki/Chris_Landsea#_note-4
11
   http://www.pbs.org/newshour/bb/weather/july-dec05/science_10-18.html


                                                                                                                       5
อีกอย่างเท่าที่ทฤษฎีบอกไว้ ความหนาแน่นและกาลังของพายุ อาจพิจารณาได้ จากความแตกต่างของอุณหภูมิ
ระหว่างแถบศูนย์สตร (equator) กับ ขัวโลก (poles) ในสถานการณ์โลกร้ อนนัน อุณหภูมบริเวณศูนย์สตรนันจะ
                   ู                     ้                           ้          ิ           ู ้
มีการเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก ขณะที่อณหภูมที่ขวโลกแถว Artic จะเปลี่ยนแปลงสูงขึ ้นราว 4-5 องศาเซลเซียส
                                     ุ       ิ ั้
นันย่อมหมายถึง ความแตกต่างของอุณหภูมระหว่างศูนย์สตร (equator) กับ ขัวโลก (poles) จะมีน้อยลง พลังที่
  ่                                        ิ        ู                  ้
จะก่อให้ เกิดพายุ ย่อมน้ อยลงไปด้ วยนันเอง
                                       ่

ชาวโลกร้ อน : ฟั งดูก็น่ารับฟั ง แต่ผมคิดว่า
คงต้ องหาข้ อมูลที่มากกว่านี ้มายืนยัน ทีนี ้แล้ ว
เรื่ อง CO2 ล่ะ มันเป็ นมลพิษของโลกเราไม่ใช่
หรื อ? ที่สาคัญ พวกเราเชื่อว่ามันคือ สาเหตุ
สาคัญที่ทาให้ โลกร้ อนขึ ้น ไม่เชื่อ คุณก็ดู
กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง CO2 กับอุณหภูมิ
โลกเฉลี่ยของ IPCC ซิ ว่ามันสัมพันธ์กนขนาด
                                        ั
                                                                                                      CO2
ไหน



ผม : ก่อนจะไปถกกันเรื่ อง CO2 เพราะมีหลายประเด็นที่ต้องพูดถึง ผมขอพูดถึง IPCC สักหน่อย อย่างน้ อยเพื่อ
ดิสเครดิต การทางานของ IPCC ที่มีความไม่ชอบมาพากลหลายต่อหลายอย่าง จนทาให้ ขาดความน่าเชื่อถือใน
ข้ อมูลเป็ นอย่างยิ่ง แต่ก็นนแหละ ข้ อมูลเหล่านี ้ คือ ข้ อมูลที่ Gore ใช้ ในหนังสารคดีและในหนังสือของเขา และ ที่
                            ั่
สาคัญ ยังเป็ นข้ อมูลที่นกอนุรักษ์สงแวดล้ อมบ้ านเรา ชอบอ้ างอิงถึงอยู่บอยๆ ด้ วยสิ
                          ั        ิ่                                         ่

The Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) จัดตังเมื่อปี 1988 โดยความร่วมมือของ องค์กร
                                                           ้
อุตนิยมวิทยาโลก และโครงการสิงแวดล้ อมแห่งสหประชาชาติ เพื่อประเมินความเสี่ยงของการเปลี่ยนแปลงของ
   ุ                        ่
สภาพอากาศที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์

IPCC ทารายงานมาแล้ ว 4 ครัง ครังแรก ปี 1990 (และมีฉบับเสริมในปี 1992) ครังที่สอง ปี 1995 ครังที่สามปี
                             ้ ้                                                ้                  ้
2001 ครังล่าสุดเพิงออกมาเมื่อกุมภาพันธ์ ต้ นปี 2007 นี ้เอง และทุกครังก็มีการวิจารณ์เรื่ องความน่าเชื่อถือด้ วย
          ้       ่                                                  ้
        12
ทุกครัง
      ้

รายงานฉบับแรกของ IPCC (IPCC FAR) มีปัญหาเกี่ยวกับความแตกแยก ด้ านความเห็นภายในองค์กร IPCC
เอง ทาให้ SEPP ซึ่งเป็ น NGO ในสาขาอุตฯ รวมทังฝ่ ายที่คดค้ านทฤษฎี ได้ ทาการสารวจความเห็นนักวิทยา-
                                      ุ      ้         ั



12
   ท่านที่สนใจ การวิพากษ์ วิจารณ์รายงานของ IPCC ในแต่ละครัง โปรดดู http://en.wikipedia.org/wiki/IPCC และบทวิจารณ์ IPCC
                                                          ้
ส่วนใหญ่ที่ปรากฏอยู่ใน บทความนี ้ ส่วนใหญ่เป็ นของคุณกาลามะชน ใน
http://topicstock.pantip.com/wahkor/topicstock/X3721530/X3721530.html


                                                                                                                  6
ศาสตร์ ใน IPCC ที่เกี่ยวข้ องเป็ นรายบุคคล ได้ ผลสารวจพ้ องกันว่า นักวิทยา ศาสตร์ ภายใน IPCC เอง มีผ้ ที่เห็น
                                                                                                      ู
ด้ วยกับรายงาน 60% และไม่เห็นด้ วย 40%

สิงที่ไม่เห็นด้ วยมากที่สดคือ แบบจาลองบรรยากาศ ที่ใช้ พยากรณ์ผลกระทบ โดยส่วนใหญ่เห็นว่ามีปัญหา
   ่                      ุ
เกี่ยวกับข้ อมูลที่ใช้ IPCC แก้ ปัญหาภาพของความไม่เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันภายใน IPCC จึงมีนโยบายให้ ตด      ั
ข้ อความ หรื อลดทอนน ้าหนักของเรื่ องราว ที่มีความเห็นไม่ตรงกัน ทาให้ เนื ้อหาเรื่ องราวที่ควรจะมีหายไปเป็ น
จานวนมาก รวมทังนากระบวนการ peer review มาใช้ Peer review คือ ก่อนที่จะเผยแพร่ตอสาธารณะ จะมี
                      ้                                                                      ่
การตรวจสอบว่าบทสรุปเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ มีการคัดเลือก ตัดทอน หรื อแม้ แต่เรี ยบเรี ยงบทสรุปขึ ้นใหม่

รายงานฉบับที่ 2 ของ IPCC (IPCC SAR) แบ่งแยกการทางานเป็ นสาม Working Group (WG I, II, III) รายงาน
ของแต่ละกลุ่มจะมี Summary of Policymakers (SfP) ทาการสรุปและนาเสนอต่อผู้แทนประเทศต่างๆ รายงาน
ฉบับที่สองมีความเห็นที่เป็ นเอกภาพภายในองค์กรมากขึ ้น แต่กลับมีปัญหาเรื่ องการฉ้ อฉล โดยมีบางคนออกมา
ร้ องต่อสาธารณะว่า รายงานที่ร่างขึ ้นไป ถูกดัดแปลงโดย Policymakers จนเนื ้อหาเปลี่ยนไป

หลังการประเมินครังที่สอง IPCC มีปฏิบตการอย่างหนึ่ง คือจัดการประชุม Leipzig declaration (Nov-1995)
                    ้                 ัิ
เพื่อประกาศ “ความเป็ นเอกภาพ” ทางความเห็นของนักวิทยาศาสตร์ ตอปั ญหาโลกร้ อน แต่กลับโดนฝ่ ายค้ าน
                                                               ่
เล่นงานเรื่ องความฉ้ อฉลของรายงาน ท่ามกลางงาน และก่อให้ เกิดการตอบโต้ โดยฝ่ ายค้ านรวมกลุมกัน เพื่อ
                                                                                         ่
ประกาศให้ โลกรู้ถึง “ความไม่เป็ นเอกภาพ” ในความเห็นของนักวิทยาศาสตร์ ตามมาอีก 5 ครัง้
โดย OISM Petition Project 1999-2001 เป็ นครังใหญ่ที่สด
                                             ้       ุ

รายงานฉบับที่ 3 ของ IPCC (IPCC TAR) ยังคงแบ่งแยกการทางานเป็ นสาม Working Group ที่มี Policy
makers และปั ญหาเรื่ องความฉ้ อฉล ในกระบวนการสรุป ก็ยงคงมีอยู่ ความฉ้ อฉล ของ Policymakers มีลกษณะ
                                                       ั                                            ั
เป็ นอย่างไร ลองดูตวอย่างบางส่วนที่ ศ. Richard Lindzen นักฟิ สกส์แห่ง MIT ซึ่งเป็ น Lead Author ของ
                   ั                                          ิ
Chapter 7 บ่นไว้

      ..........I worked on Chapter 7, Physical Processes. This chapter dealt with the nature of
      the basic processes which determine the response of climate, and found numerous
      problems with model treatments – including those of clouds and water vapor. The
      chapter was summarized with the following sentence: 'Understanding of climate
      processes and their incorporation in climate models have improved, including water
      vapour, sea-ice dynamics, and ocean heat transport



จะเห็นว่ามีความรู้สกถึงความไม่แน่นอน เพราะยังมีปัญหาอีกมาก แต่ Policymakers เลือกที่จะสรุปด้ วยถ้ อยคา
                     ึ
ที่เมื่ออ่านแล้ วชวนให้ ร้ ูสกถึงความมันใจ …..
                             ึ         ่



                                                                                                                7
Such models cannot yet simulate all aspects of climate (e.g., they still cannot account
      fully for the observed trend in the surface-troposphere temperature difference since
      1979) and there are particular uncertainties associated with clouds and their
      interaction with radiation and aerosols. Nevertheless, confidence in the ability of these
      models to provide useful projections of future climate has improved due to their
      demonstrated performance on a range of space and time-scales.


ข้ อสรุปของ Policymakers ก็คงไม่ผด เพราะความรู้พฒนาขึ ้นจากเดิมจริง แต่การสรุปลักษณะนี ้ บางคน
                                    ิ                ั
โดยเฉพาะฝ่ ายค้ าน ถือว่าเป็ นการฉ้ อฉล เพราะมีเจตนาทาให้ ผ้ อ่านเกิดมุมมองที่คลาดเคลื่อน คือมองเห็น เรื่ อง
                                                             ู
ที่ยงไม่ทราบแน่นอน กลายเป็ นข้ อเท็จจริงที่มนใจแล้ ว
    ั                                       ั่

อนึ่ง การประเมินครังที่สามนี ้ IPCC ยังทาเรื่ องที่ก่อความขุนเคือง ให้ กบวงการอุตนิยมวิทยา คือ การผลักดัน
                        ้                                   ่           ั         ุ
ผลการวิจยสภาพอากาศในช่วง 1000 ปี ที่ผานมา ของ Michael Mann, Raymond S. Bradley และ Malcolm
           ั                                  ่
K. Hughes หรื อที่ร้ ูจกในนาม “Hockey Stick” กราฟ Hockey Stick ได้ มาจากวิธีวดวงปี ของไม้ สน นัยยะ
                          ั                                                             ั
สาคัญของ Hockey Stick คือการบอกว่า โลกไม่เคยมี Little Ice Age และ ไม่เคยมี Medieval Maximum โลก
มีแต่ความเย็นที่คอนข้ างคงที่ตลอดหนึ่งพันปี (ปี 1000 – 1900) และกาลังร้ อนขึ ้นอย่างรวดเร็ ว ตังแต่ปี 1900 ถึง
                      ่                                                                          ้
ปั จจุบน....ซึ่งขัดแย้ งกับรายงานฉบับที่ 1 ที่บอกว่า ในอดีตมีช่วงเวลาที่โลก ร้ อนกว่าปั จจุบนมาก และ การเสนอ
       ั                                                                                      ั
งานวิจยนี่ออกสูสาธารณะ ยังหมายถึง ความพยายามที่จะฉีกตารา Paleoclimatology ฉบับมาตรฐาน เพื่อ
         ั          ่
หักล้ างทฤษฎีวฏจักรธารน ้าแข็ง ที่เป็ นอุปสรรคสาคัญของการชักชวนให้ เห็นว่า โลกปั จจุบนร้ อนกว่าในอดีตมาก
                  ั                                                                         ั
และเกิดจากน ้ามือมนุษย์

เหตุที่ IPCC ต้ องพยายามเบียดทฤษฎี Paleoclimatology ให้ ตกไป เนื่องจาก ข้ อมูลที่ใช้ ในการนาเสนอเรื่ อง
โลกร้ อนจากปรากฏการณ์ภาวะเรื อนกระจก เป็ นข้ อมูลอดีตแค่ในช่วงเวลาที่มีการวัดอุณหภูมด้วยเครื่ องมือทาง
                                                                                        ิ
วิทยาศาสตร์ แล้ ว นันคือ ปลายยุค Little Ice Age (LIA) แต่เมื่อต้ องเทียบกับการเปลี่ยนแปลงในอดีตที่ไกล
                    ่
ออกไป แบบจาลองดังกล่าว กลับเข้ ากันไม่ได้ กบ รอบการเกิดของ MWP และ LIA เมื่อเข้ ากันไม่ได้ ก็ไม่
                                             ั
สามารถอธิบายการเกิดของ MWP และ LIA ในอดีตได้ นนเอง แต่จะทาอย่างไร เมื่อ MWP มีหลักฐานทัง
                                                      ั่                                            ้
ประวัตศาสตร์ และโบราณคดี รองรับหนักแน่นปานขุนเขา และเสริมด้ วยหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ ที่แข็งแกร่ง
         ิ
มากมาย

แต่ IPCC ก็พบช่องทางหนึ่ง คือการศึกษาวิจยต่างๆที่ผ่านมา จะโฟกัสบนพื ้นที่ที่ถือว่า sensitive ต่อการเปลี่ยน
                                            ั
อุณหภูมิ คือเขตรอบๆอาร์ คติก เช่น ยุโรป กรี นแลนด์ ไอซแลนด์ และคานาดา ซึ่งเป็ นพื ้นที่ที่เคยถูกผืนน ้าแข็งปก
คลุมในช่วง Ice Age การที่อณหภูมของโลกเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้ อย จะทาให้ ภมอากาศของพื ้นที่เหล่านี ้
                           ุ      ิ                                            ู ิ
เปลี่ยนแปลงได้ อย่างใหญ่หลวง จึงเหมาะที่จะใช้ เป็ นสถานที่ศกษาการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมโลก
                                                           ึ                               ิ




                                                                                                                8
Paleoclimatology คือ ความรู้เกี่ยวกับกาลอากาศในยุคโบราณ

โลกกาลังอยู่ในมหายุคน ้าแข็งครังที่สี่ เรี ยกว่า Pleistocene Ice Age แต่ระหว่างมหายุคน ้าแข็ง โลกไม่ได้ หนาวเย็น
                                  ้
ต่อเนื่องตลอดเวลา มีช่วงเวลาที่หนาวเย็น และอบอุ่น เปลี่ยนแปลงสลับหลายต่อหลายครัง ช่วงที่ธารน ้าแข็งก่อตัว
                                                                                           ้
กว้ างขวาง เรี ยกว่า glacial period ช่วงอบอุ่นระหว่างยุคน ้าแข็งเรี ยกว่า interglacial period สี่ล้านปี ที่ผานมา ธาร
                                                                                                            ่
น ้าแข็งแผ่ขยายและถดถอยสลับกันมากกว่ายี่สบครัง ช่วงที่ธารน ้าแข็งขยายตัวปกคลุมโลก มักจะยาวนานเป็ นหลักแสน
                                                  ิ ้
ปี แต่ช่วงอบอุ่นระหว่างธารน ้าแข็งมักจะสัน เป็ นหลักหมื่นปี เท่านัน
                                             ้                    ้

การขยายตัวของธารน ้าแข็งครังสุดท้ ายเรี ยกว่ายุคน ้าแข็ง Wisconsin ประมาณ 16,000 ปี ที่แล้ ว โลกค่อยๆ อุ่นขึ ้นอย่าง
                                   ้
ต่อเนื่อง ธารน ้าแข็งค่อยๆ ถดถอยอย่างช้ าๆ จนกระทังถึง 11,000 ปี ก่อนปั จจุบน เป็ นช่วงเวลารอยต่อ ระหว่างยุค
                                                       ่                        ั
น ้าแข็ง กับยุคที่โลกอบอุ่นที่เรี ยกว่า Younger-Dryas โลกอุ่นขึ ้นอย่างฉับพลัน ละลายธารน ้าแข็งนอกเขตขัวโลก จนหมด
                                                                                                       ้
ไปอย่างรวดเร็ว แต่แล้ วก็โลกพลิกกลับหนาวลงอย่างรวดเร็ว จนเกือบกลับเข้ ายุคน ้าแข็งเป็ นช่วงสันๆ จากนันก็กลับอุ่น
                                                                                                     ้   ้
ขึ ้นอย่างรวดเร็วอีกครัง จนกลับมาอุ่นเท่ากับตอนเริ่มต้ น เมื่อประมาณเก้ าพันห้ าร้ อยปี ก่อนปั จจุบน
                       ้                                                                           ั

หลังจากสิ ้นสุด Younger-Dryas โลกก็เข้ าสูยคที่อากาศอบอุ่น Interglacial Period ระหว่าง 8000-5000 ปี ก่อนปั จจุบน
                                            ุ่                                                                 ั
เป็ นยุคสมัยที่โลกอบอุ่นกว่าปั จจุบน เรี ยกกันว่า Holocene Optimum โดยมีช่วงที่อ่นที่สด เรี ยกว่า Holocene
                                   ั                                             ุ ุ
Maximum ประมาณระหว่าง 5500-7000 ปี ก่อนปั จจุบน        ั

ช่วง Holocene Maximum อากาศค่อนข้ างอุ่นจัดกว่าปั จจุบนมาก เขต Tropical ที่ขนาบเส้ นศูนย์สตร ขยายตัว
                                                           ั                                  ู
กว้ างขวาง ลุมน ้าสินธุและเมโสโปเตเมียยุคนัน ได้ รับอิทธิพลลมมรสุมมากกว่าในปั จจุบน มีความชุ่มชื ้นมากพอ ช่วยให้
             ่                                ้                                   ั
อารยะธรรมมนุษย์ ก่อนยุคชลประทาน ก่อกาเนิดในอัฟริกา เขต tropical ขยายตัวเบียดทะเลทราย ซาฮารา ให้ ถอยร่น
ขึ ้นไปทางเหนือ มีแหล่งน ้าอุดมสมบูรณ์ ที่มี จระเข้ และฮิปโปโปเตมัส อาศัย กระจายอยู่ทวซาฮาราตอนใต้ ปั จจุบน
                                                                                     ั่                    ั
กระดูกของสัตว์เหล่านันยังคงปรากฏเป็ นหลักฐานอยู่ใต้ ตะกอนทราย ภาพเขียนก่อนประวัตศาสตร์ ตามผนังถาที่อยู่
                        ้                                                               ิ              ้
กลางทะเลทรายซาฮาร่าในปั จจุบน เต็มไปด้ วยรูปสัตว์ที่ในปั จจุบนอยู่ห่างลงไปทางใต้ หลายร้ อยกิโลเมตร
                                ั                              ั

ตังแต่ยคหินจนถึงยุคสาริ ด มนุษย์ได้ รับประโยชน์จากความอบอุ่นของ Holocene Optimum ช่วยให้ เผ่าพันธุ์มนุษย์
  ้ ุ
กระจายไปทัวโลก พอถึงประมาณ 5000 ปี ที่แล้ ว ภูมอากาศของโลกก็เริ่มเย็นลง เกิดเป็ นช่วงที่อบอุ่นบ้ าง เย็นบ้ าง
           ่                                       ิ
หนาวบ้ าง สลับกันหลายครัง แต่ละช่วงจะกินเวลาหลายร้ อยปี เรี ยกว่า Late Holocene Neoglacial Fluctuation
                          ้

อารยะธรรมของมนุษย์ที่ได้ รับความอบอุ่นที่ยาวนาน ตลอดยุคหินจนถึงต้ นยุคสาริด เริ่มพบกับความหนาวเป็ นครังแรก้
ในปลายยุคสาริด ต่อเนื่องจนถึงยุคเหล็ก จนกระทังถึงต้ นยุคโรมัน โลกก็ยงค่อนข้ างเย็น เรี ยกว่า Roman Cool Period
                                                 ่                  ั
พอถึงปลายยุคโรมัน โลกจึงกลับมาอุ่นขึ ้นอีก เรี ยกว่า Roman Warm period ช่วงต้ นยุคคริสตกาล โลกกลับเย็นลง
เรี ยกว่า Dark Age Cool Period พอถึงกลางคริสต์กาล โลกก็กลับมาอุ่นอีกครัง เรี ยกว่า Medieval Warm Period (ต่ อ)
                                                                        ้




                                                                                                          9
(ต่ อ) ช่วงอบอุ่นที่สดของ Medieval Warm Period (MWP) ตรงกับศตวรรษที่ 9-11 เป็ นช่วงเวลาที่มีการจดบันทึก
                     ุ
เรื่ องราวเหตุการณ์ทางภูมศาสตร์ ค่อนข้ างแพร่หลาย ความอบอุ่นช่วยให้ การเพาะปลูกในยุโรปอุดมสมบูรณ์ ทาให้
                            ิ
ประชากรยุโรปเพิ่มขึ ้น โลกอุ่นถึงขันที่ฟยอร์ คตอนใต้ สดของเกาะกรี นแลนด์ ในฤดูร้อนปลอดจากน ้าแข็ง เกิดมีท่งหญ้ า มี
                                      ้                 ุ                                                    ุ
ชาวไวกิ ้งเข้ าไปตังหมู่บ้าน เลี ้ยงแพะ แกะ วัว ที่ตอนใต้ สดของเกาะ ส่วนเกาะไอซ์แลนด์ ที่อยู่ถดไปหน่อย อบอุ่นพอที่จะ
                   ้                                       ุ                                  ั
ปลูกธัญพืช เช่นข้ าวสาลีได้ หลักฐานการเก็บภาษีเก่าแก่ บอกว่าอังกฤษมีไร่องุ่นและผลิตไวน์เป็ นจานวนมาก หลักฐาน
ทางเอเชียก็บอกถึงการปลูกส้ มในภาคเหนือของจีน

ในช่วงที่โลกอุ่นนัน ธารน ้าแข็งถดถอย น ้าแข็งที่ละลาย อาจทาให้ ระดับน ้าทะเลสูงขึ ้น ช่วงนี ้ตรงกับสมัยทวาราวดีปลายๆ
                  ้
ถ้ าใครเคยเห็นแผนที่ทางโบราณคดีของยุคนัน จะเห็นแนวชายฝั่ งทะเลของอ่าวไทยโบราณ กินแดนลึกเข้ ามาถึงจังหวัด
                                            ้
ชัยนาท

พอผ่านพ้ นศตวรรษที่ 12 โลกก็กลับเย็นลงอย่างต่อเนื่อง และทาท่าจะกลับเข้ ายุคน ้าแข็งอีกครัง โดยตาราส่วนใหญ่จะนับ
                                                                                                 ้
ระหว่างปี 1450-1850 นักอุตนิยมวิทยา เรี ยกช่วงเวลาที่หนาวเย็นผิดปกติราวสี่ร้อยปี นี ้ว่า Little Ice Age (LIA)
                          ุ

ธารน ้าแข็ง ตามที่ต่างๆเริ่มขยายตัวมากขึ ้นอีกครัง ความหนาวขับไล่ไวกิ ้งให้ อพยพออกไปจากเกาะกรี นแลนด์
                                                 ้
ไร่องุ่นหายไปจากเกาะอังกฤษ ไร่ส้มหายไปจากภาคเหนือของจีน

ช่วงที่หนาวที่สดของ LIA เรี ยกว่า Maunder Minimum ระหว่างปี 1645-1715 การเกษตรในยุโรปได้ รับความเสียหาย
               ุ
เพราะอากาศที่หนาวเย็นผิดปกติ ทาให้ ประชากรในยุโรปค่อยๆ ลดลง บันทึกของอังกฤษบอกว่าช่วงหลายปี นนอากาศ
                                                                                                 ั้
หนาวจัดจนแม่น ้าเทมส์เป็ นน ้าแข็งทุกปี

ความหนาวเกือบจะทาลายเกาะไอซแลนด์ลงด้ วยเช่นกัน การเกษตรล้ มเหลว เหลือแต่ท่งหญ้ าเลี ้ยงแกะ ประชากรลดลง
                                                                                      ุ
ครึ่งหนึ่ง บันทึกของทางไอซ์แลนด์บอกว่าในช่วงนัน ทะเลรอบเกาะจะกลายเป็ นแพน ้าแข็ง ไม่สามารถเดินเรื อเข้ าออก
                                                ้
จากเกาะได้ เหลือเพียงชายฝั่ งตอนใต้ เพียงทางเดียว ซึ่งต่างจากปั จจุบน ที่ทะเลน ้าแข็งจะอยู่แค่นอกชายฝั่ งด้ านเหนือ
                                                                    ั
เท่านัน
      ้

หลักฐานประวัติศาสตร์ บอกว่าธารน ้าแข็งตามภูเขาสูง แถบเทือกเขาแอล์ป รวมทังสแกนดิเนเวียขยายตัว คืบคลานเข้ า
                                                                          ้
ทับหมูบ้านในหุบเขาไปนับร้ อยแห่ง มีบนทึกของวาติกน ถึงคาขอร้ องจากชาวบ้ านที่ถกธารน ้าแข็งคุกคาม มีการส่ง บิ
      ่                             ั             ั                          ู
ชอบแห่งฟลอเรนส์ ไปทาพิธี (Exorcist) ขับไล่ธารน ้าแข็ง

ธารน ้าแข็งที่ก่อตัวมากขึ ้น อาจจะทาให้ ระดับนาทะเลลดลง พื ้นดินบริเวณที่ลมของภาคกลาง รวมทังกรุงเทพโผล่พ้นน ้า
                                              ้                           ุ่                   ้
ในช่วงนี ้ การที่ปัจจุบนเมืองท่าโบราณในสมัยทวาราวดี อยู่ลกเข้ าไปในแผ่นดิน และอยู่ในทาเลที่ตงที่สงกว่า
                       ั                                  ึ                                 ั้ ู
ระดับน ้าทะเลในปั จจุบนประมาณ 5 เมตร เป็ นข้ อที่น่าพิจารณาว่าระดับน ้าทะเลอาจจะลดลง ไม่ใช่ทะเลตื ้นเขินจนเป็ น
                         ั
แผ่นดิน (ต่ อ)




                                                                                                        10
(ต่ อ) โชคดีที่พอถึงปี 1850 โลกก็ผนกลับสูความอบอุ่นอีกครัง ในช่วงแรกโลกค่อยๆ อุ่นขึ ้นในอัตราศตวรรษละ 1 องศา
                                    ั        ่                ้
  จนอุ่นที่สดในกลางทศวรรษ 1940s แล้ วก็มีทีท่าจะกลับเย็นลงอย่างช้ าๆ แต่พอถึงช่วงใกล้ เปลี่ยนศตวรรษ โลกก็กลับอุ่น
               ุ
  ขึ ้นอีกครัง อย่างรวดเร็วจนน่าตกใจ เป็ นเหตุให้ คนทังโลก พากันวิตกถึงภาวะโลกร้ อน
             ้                                        ้

  แต่โชคไม่ดี ที่เทอร์ โมมิเตอร์ และการวัดอุณหภูมอากาศ เกิดขึ ้นเป็ นครังแรกในช่วง LIA ดังนันถ้ าไปค้ นบันทึกของ
                                                  ิ                      ้                  ้
  อุณหภูมอากาศในอดีต ก็จะเห็นแต่ความหนาวเย็น คนที่ไม่ร้ ูเรื่ องของกาลอากาศในยุคโบราณ อาจจะคิดว่าโลกมีความ
          ิ
  หนาวเป็ นเรื่ องปกติ ความอบอุ่น ที่ถกบันทึกไว้ ด้วยเรื่ องราวในประวัตศาสตร์ และร่องรอยในชันดิน
                                       ู                               ิ                      ้
  จึงกลายเป็ น นิทานปรัมปรา

  เรื่ องราวของ Holocene maximum, Medieval Maximum, Little Ice Age เหล่านี ้ เป็ นความรู้อย่างสามัญของ
  Paleoclimatology ไม่ใช่เรื่ องแปลกใหม่ เพียงแต่เรื่ องของภูมอากาศในยุคโบราณ ไม่ใช่สงที่คนทัวไปจะสนใจ .
                                                              ิ                      ิ่      ่

  หมายเหตุ : เรื่ องเล่านี ้ โดยคุณ กาลามะชน เล่าไว้ ใน pantip.com เมื่อปลายปี 2548
  http://topicstock.pantip.com/wahkor/topicstock/X3721530/X3721530.html




IPCC จึงทาการวิจยอุณหภูมในอดีตใหม่ โดยสารวจคลุมพื ้นที่กว้ างทังโลก การใช้ ข้อมูลที่หลากหลายครอบคลุม
                       ั          ิ                                          ้
ทังโลก เป็ นเรื่ องที่ฟังดูมีเหตุผลดี แต่จริงๆ แล้ วไม่ใช่เรื่ องที่ควรจะทา เพราะยิ่งออกห่างจากขัวโลกเท่าไร อิทธิพล
  ้                                                                                              ้
ของความหนาวก็ยิ่งเห็นได้ น้อยลง และมีอิทธิพลอย่างอื่นมาเกี่ยวข้ องมากขึ ้น ตัวแปรมีมากขึ ้น ข้ อมูลก็ยิ่งมีความ
คลาดเคลื่อนสูง และมีการกระจายมากขึ ้น

แต่นนไม่ใช่ปัญหา เพราะความคลาดเคลื่อนสูงๆ คือสิงที่ IPCC ต้ องการ พอเอาข้ อมูลจากพื ้นที่ที่ไม่อ่อนไหว
    ั่                                               ่
และจากสิงที่ไม่คอยจะอ่อนไหวต่อความหนาว มาใช้ ร่วมในการวิเคราะห์อณหภูมในอดีต กราฟผลรวมก็เริ่ ม
          ่         ่                                                   ุ      ิ
กระจายเป็ นแถบกว้ าง พอลากเส้ นค่าเฉลี่ยผ่านแถบกราฟที่กระจายตัว ก็จะได้ คาเฉลี่ยของอดีตที่คอนข้ าง
                                                                             ่                ่
ราบเรี ยบ เท่านี ้ก็ได้ หลักฐานใหม่วา ในอดีตโลกมีแต่ความเย็นที่คอนข้ างคงที่
                                    ่                           ่

โครงการยกร่างประวัตศาสตร์ ภมอากาศโลกฉบับใหม่ เสร็จในปี 1998-1999 จากนันก็เริ่มทาการประชาสัมพันธ์
                   ิ       ู ิ                                               ้
ต่อสาธารณะว่า MWP กับ LIA เป็ นความเข้ าใจในอดีตที่ผดพลาด เพราะจากการประเมินครังใหม่ของ IPCC
                                                    ิ                           ้
โดยการสารวจที่ครอบคลุมทั่วโลก ไม่พบช่วงเวลาที่อณหภูมเิ พิมขึ ้นหรื อลดลงผิดปกติ
                                               ุ         ่




                                                                                                                11
อุณหภูมโลกเฉลี่ย 1000 ปี ย้ อนหลัง ใน
                                                                                         ิ
                                                                               รายงาน IPCC ฉบับที่ 3 -กราฟ hockey stick
                                                                               (แสดงให้เห็นว่าโลกหนาวเย็นตลอด 1000 ปี
                                                                               ซึ่งขัดแย้งกับข้อเท็จจริ ง)




     อุณหภูมโลกเฉลี่ย ในรายงานIPCC
              ิ
     ฉบับที่ 1 ยังสอดคล้ องกับความรู้
     ด้ าน PaleoClimatology



ส่วนร่องรอยของ MWP และ LIA ที่มีอยู่ทวไปในยุโรปและอเมริกาเหนือ ก็สรุปว่าเป็ นปรากฏการณ์การ
                                            ั่
เปลี่ยนแปลงเฉพาะพื ้นที่ ที่เกิดขึ ้นในบริเวณรอบเขตอาร์ คติก ไม่ใช่ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ ้นทัวโลก เท่านี ้ก็ได้
                                                                                           ่
เหตุผล ที่ไม่ต้องไปลบล้ างคัดค้ านกับหลักฐานเก่าแก่ อันแน่นหนา

การที่จะทาให้ ได้ กราฟที่ราบเรี ยบเป็ น Hockey Stick ก็ยงมีรายละเอียดปลีกย่อยหลายอย่าง ที่ต้องดัด ต้ องแต่ง
                                                           ั
ให้ เข้ าที่ ซึ่งเมื่อถูกตรวจสอบ ก็พบให้ มีจดที่โจมตีหลายจุด อีกทัง้ ข้ อมูลในการสร้ าง Hockey Stick ให้ น ้าหนัก
                                            ุ
ความสาคัญกับข้ อมูลของต้ น Bristlecones Pine สูงเป็ นพิเศษ จนฝ่ ายที่ไม่เห็นด้ วย วิจารณ์วาไม้ Hockey ด้ าม
                                                                                              ่
นี ้ สร้ างขึ ้นจากไม้ สน Bristlecones และ ยังพบว่าแค่ตดข้ อมูลของต้ น Bristlecones หรื อ CO2 fertilization
                                                        ั
effect ออก ก็ทาให้ เห็นแนวของ MWP กับ LIA ปรากฏขึ ้นในกราฟได้ รางๆ 13


13
   ท่านที่สนใจ โปรดอ่าน McIntyre, Stephen & Ross McKitrick (2005) "Hockey sticks, principal components, and
spurious significance", Geophysical Research Letters 32, DOI:10.1029/2004GL021750 หรื อ ที่
http://www.climate2003.com/pdfs/2004GL012750.pdf และเรื่ อง Myth vs. Fact Regarding the "Hockey Stick" ที่
http://www.realclimate.org/index.php?p=11




                                                                                                                12
เกล็ดเล็กเกล็ดน้ อย ว่ าด้ วย การเต้ าขึนมาของ กราฟไม้ ฮ๊อกกี ้ (Hockey Stick)
                                        ้

                                                   กราฟ Hockey Stick ทาขึ ้นโดย Michael Mann นักวิทยาศาสตร์
                                                   คนสาคัญของ IPCC ในปี 1998 เป็ นการทาการวิจยเพื่อล้ มล้ าง
                                                                                                     ั
                                                   ประวัตศาสตร์ โลก แล้ วเขียนขึ ้นใหม่เพื่อแสดงว่ามนุษย์ทาให้ โลก
                                                            ิ
                                                   ร้ อนอย่างผิดปกติในศตวรรษปั จจุบนหลังจากที่เผยแพร่ เกิดการ
                                                                                      ั
                                                   โต้ แย้ งอย่างมาก ทังในแง่ของหลักการทางวิทยาศาสตร์ และใน
                                                                       ้
                                                   เรื่ องกระบวนการทางสถิตที่ใช้ ในการประมวลสรุปผล
                                                                             ิ

ต่อมาสภาคองเกรส ต้ องการข้ อยุติ เพื่อที่จะนาไปเป็ นแนวทางกาหนดนโยบายเกี่ยวกับการแก้ ปัญหาสภาวะโลก
ร้ อนของประเทศสหรัฐ

สภาคองเกรซ จัดตังทีมตรวจสอบสองทีม ที่ทางานเป็ นอิสระจากกันทีมแรก เป็ นการตรวจสอบกรรมวิธีทางสถิติ
                   ้
ที่ใช้ ในการประมวนผลเป็ นข้ อสรุปนาโดย Edward Wegman นักสถิตศาสตร์ จากมหาวิทยาลัย George Mason
                                                              ิ
ทีมที่สอง ให้ ทาการตรวจสอบข้ อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์ นาโดย Gerald North แห่ง National Academy of
Science (NAS) ประกอบด้ วยนักวิทยาศาสตร์ สาขาต่างๆรวม 12 คน

ทังสองทีมทาการศึกษาและเข้ าแถลงให้ สภาคองเกรสทราบในเดือนมิถนายน 2006
  ้                                                        ุ

ผลการตรวจสอบกรรมวิธีทางสถิติ ที่ใช้ ในการประมวลผลเป็ น hockey stick พบความบกพร่องในกรรมวิธีสถิติ
ที่มีผลกระทบต่อความเชื่อถือได้ ทีมนักสถิตศาสตร์ ของ Wegman ให้ ข้อแนะนาต่อสภาคองเกรสว่า
                                         ิ

“ Overall, our committee believes that Dr. Mann’s assessments that the decade of the 1990s was
the hottest decade of the millennium and that 1998 was the hottest year of the millennium cannot
be supported by his analysis.”

เป็ นความเห็นที่น่าจะเรี ยกได้ วา “ไม่ ผ่าน”
                                ่

ในส่วนของทีมนักวิทยาศาสตร์ นน พบความบกพร่องหลายอย่างซึ่งได้ มีการแสดงความเห็นกันไปบ้ างแล้ วใน
                               ั้
ตอนแรกๆ ถ้ าจะกล่าวแบบรวบยอด เพื่อให้ เข้ าใจง่าย ทีมตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์ เชื่ อว่า hockey stick มี
ความถูกต้ อง และเชื่อถือได้ “เฉพาะช่วง 400 ปี สดท้ าย”ช่วงเวลาที่เก่ากว่านันถือว่า ยังมีความไม่แน่นอน
                                               ุ                           ้

North แสดงความมันใจในประเด็นที่ทศวรรษท้ ายๆ นี ้ อุ่นที่สดในรอบ 400 ปี ความมันใจในส่วนนี ้ มิใช่ประเด็นที่
                        ่                                       ุ                            ่
เป็ นข้ อโต้ แย้ งทางวิทยาศาสตร์ แต่เมื่อกล่าวถึงประเด็นที่เป็ นข้ อโต้ แย้ งคือ ปั จจุบนอุ่นที่สดในรองพันปี หรื อไม่เขา
                                                                                        ั        ุ
กลับใช้ คาที่มีความหมายอ่อนลงอย่างมาก ว่า “พอเชื่ อได้ ” (plausible)



                                                                                                                      13
“plausible” is another way of saying it doesn’t meet the scientific standards of certainty. That’s
because it’s also possible there were major warm periods long ago that don’t show up in the
hockey stick data

ความเห็นของนักวิทยาศาสตร์ ผลงานของ Mann เชื่อถือได้ ในช่วง 400 ปี สดท้ ายช่วงเวลาที่เก่ากว่านัน ก็มได้ ผิด
                                                                      ุ                       ้ ิ
อย่างชัดเจน แต่มีลกษณะว่า ไม่แน่นอนบทสรุปแบบรวบยอด ต่อผลงานที่มีความสมบูรณ์เฉพาะช่วง 40%
                   ั
สุดท้ ายนี ้คณะกรรมการมีความเห็น ไม่เป็ นเอกฉันท์ ให้ ผาน 8 คน ไม่ผาน 4 คน
                                                       ่           ่

เรื่ องใหญ่ๆ ที่มีผลกระทบมากๆ ในระดับที่เปลี่ยนตาราประวัตศาสตร์ ของโลกการจะเปลี่ยนแปลง น่าจะมี
                                                         ิ
ความเห็นที่เป็ นเอกภาพมากกว่านี ้คณะกรรมการสองกลุ่ม คณะหนึ่งให้ ความเห็น “ไม่ผาน” อีกคณะให้ ผานแบบ
                                                                              ่              ่
“ไม่สมบูรณ์ ”

คณะกรรมฝ่ ายวิทยาศาสตร์ เห็นด้ วยเฉพาะช่วง ค.ศ. 1600 เป็ นต้ นมาจนถึงปั จจุบนส่วนที่เก่ากว่านัน
                                                                            ั                 ้
คณะกรรมการมีความเห็นว่า “ยังมีความไม่แน่นอน” มีความเป็ นไปได้ ที่ช่วงเวลาก่อนหน้ านัน คือช่วง Medieval
                                                                                     ้
Warm Period จะร้ อนกว่าปั จจุบน
                              ั

ช่วงเวลา Medieval Warm Period นันมีหลักฐานทางโบราณคดีชดเจนว่าไวกิ ้งเคยเข้ าไปตังอาณานิคมที่เกาะ
                                ้                     ั                         ้
กรี นแลนด์

เราคงทราบว่าเกาะกรี นแลนด์ในปั จจุบนนัน ยังหนาวเย็นกันดาร จนคนปั จจุบนที่มีเทคโนโลยี พร้ อม ยังอาศัยอยู่
                                       ั ้                                ั
อย่างลาบาก แล้ วคนไวกิ ้งเมื่อพันปี ก่อน จะเข้ าไปตังถิ่นฐานทาฟาร์ มบนเกาะกรี นแลนด์ได้ อย่างไร
                                                    ้

คาตอบคือ Medieval Warm Period นัน น่าเชื่อได้ วาโลกเคยอุ่นกว่าปั จจุบนมากมีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์
                                ้              ่                     ั
และโบราณคดีสนับสนุน หนักแน่นกว่ากราฟของ Mann มากและก่อนหน้ าที่ Mann จะทา hockey stick ทุกคนก็
เชื่อเช่นนัน
           ้




                                                                                                        14
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล

More Related Content

More from weeraboon wisartsakul

โลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยโลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัย
weeraboon wisartsakul
 
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการการจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
weeraboon wisartsakul
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
weeraboon wisartsakul
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
weeraboon wisartsakul
 
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
weeraboon wisartsakul
 
คู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อน
คู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อนคู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อน
คู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อน
weeraboon wisartsakul
 

More from weeraboon wisartsakul (7)

โลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยโลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัย
 
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการการจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
 
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
 
รายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรกรายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรก
 
คู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อน
คู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อนคู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อน
คู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อน
 

ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล

  • 1. ความตกตื่นในภาวะโลกร้ อน : การย้ อนแย้ งเชิงข้ อมูล1 คงกล่าวได้ อย่างไม่ผดนักว่า กระแสความตื่นตัวต่อปรากฏการณ์เรื่ องโลกร้ อน ในช่วงปี ที่ผานมา ได้ รับอิทธิพล ิ ่ อย่างมากจาก An Inconvenient Truth อย่างไม่ต้องสงสัย ลาพังแค่การสังซื ้อ DVD จาก amazon.com หนัง ่ เรื่ องนี ้ ก็ไต่ขึ ้นไปรังตาแหน่งอับดับที่ 15 แล้ ว (วันที่ 11 เมษายน 2550) ส่วนหนังสือในชื่อเดียวกันเอง ขึ ้นเป็ น ้ New York Times bestseller ตังแต่ 11 มิถนายน 2549 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 นอกจากนี ้ หนังเรื่องนี ้ยังมี ้ ุ ผลทาให้ Al Gore ได้ รับการเสนอชื่อเข้ าชิงรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพในปี 2007 อีกด้ วย สาหรับในประเทศไทย ความตื่นตัวต่อเรื่ องนี ้ก็กาลังเกิดขึ ้นอย่างน่าสนใจ นิตยสารสารคดี นิตยสารหัวหนักด้ วย ข้ อมูล ฉบับเดือนมีนาคมที่ผานมา ก็อทิศหน้ าหนังสือหลายต่อหลายหน้ าเพื่ออธิบายถึงหายนะภัยของโลกร้ อน ที่ ่ ุ สาคัญ คือ บก.ใหญ่ แห่งสารคดี ลงมือเขียนเอง ส่วน A Day นิตยสารวัยรุ่นหัวทันสมัย ที่เน้ นสาระ แต่ไม่เชย ก็ ส่งวิธีดแลโลกแบบไม่เชยออกมาด้ วยเหมือนกัน เป็ นต้ น ู ล่าสุด สัปดาห์หนังสือแห่งชาติที่เพิงผ่านมาไม่นาน สานักพิมพ์มติชน รายงานว่า หนังสือของสานักพิมพ์ที่มีการ ่ ซื ้อมากที่สด ก็คือ “โลกร้ อน..ความจริงที่ไม่ มีใครอยากฟั ง” ซึ่งก็คือ ภาคภาษาไทยของ An Inconvenient ุ Truth ที่เขียนโดย Al Gore นันเอง โดยขายได้ มากถึงประมาณ 6,000 เล่ม (ผมว่าน่าจะเป็ นหนังสือสิงแวดล้ อม ่ ่ เพียงไม่กี่เล่มในเมืองไทย ที่ขายได้ ดีขนาดนี )้ ข้ อสังเกตของผมก็คือ ข้ อมูลทางวิทยาศาสตร์ ที่ Al Gore หรื อ ชาวโลกร้ อน (global warmist) นามาเสนอนัน ผม ้ เห็นว่า สังคมไทยมีแนวโน้ มที่จะเชื่อกันโดยง่าย อีกทังยังมีนกอนุรักษ์ นักวิชาการในสถาบันอุดมศึกษาชันสูงอีก ้ ั ้ จานวนไม่น้อย ผสมโรง ทาให้ ข้อมูลดูหนักแน่นมากขึ ้น นันทาให้ บรรยากาศการถกเถียงทางวิชาการเพื่อการ ่ เจริญสติ และปั ญญา ในสังคมไทยดูเงียบเหงาและอับเฉาโดยสิ ้นเชิง (หากจาไม่ผด ผมเคยเห็นข้ อเขียนของ อ. ิ สุทศน์ ยกส้ าน ใน นสพ.ผู้จดการ เพียงท่านเดียวเท่านันที่พดถึง กรณีโลกร้ อน ในทานองให้ ฟังหูไว้ หู) แต่จนถึง ั ั ้ ู ปั จจุบน ผมเชื่อเหลือเกินว่า สังคมไทยโดยทัวไป “เชื่ อ” โดยไม่ต้องสงสัยอีกแล้ วว่า ั ่ 1) ปรากฏการณ์โลกร้ อนที่เป็ นอยู่ในขณะนี ้ เกิดจาก ฝี มือมนุษย์ 2) กิจกรรมของมนุษย์ที่ทาให้ โลกร้ อน ก็คือ การเผาเชื ้อเพลิงฟอสซิล ซึ่งปล่อย CO2 ออกมาเป็ นจานวน มาก 3) CO2 คือสาเหตุสาคัญที่ทาให้ อุณหภูมโลกสูงขึ ้น ิ 1 บทความนีปรับปรุ งจากการเผยแพร่ ครังแรกใน website มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน โดยมีเปาหมายเพื่อกระตุกความคิด ความเชื่อ ้ ้ ้ เรื่ องโลกร้ อน ซึงปั จจุบน ผู้คนส่วนใหญ่ในสังคมไทย เชื่อไปในทางเดียวกันทังหมดว่า โลกร้ อน เกิดขึนจากฝี มือมนุษย์ ทีปล่อย CO2 ่ ั ้ ้ ่ ออกมามาก จนเป็ นตัวกักความร้ อนให้ อบโลกอยู่ในขณะนี ้ ขณะเดียวกัน สังคมในต่างแดน ประเด็นโลกร้ อนยังเป็ นที่ถกเถียงถึง หลักฐานข้ อมูลเชิงประจักษ์อีกมาก ซึงผมต้ องการเห็นสังคมไทย เชื่อ โดยได้ พดคุย ถกเถียง ถึงข้ อมูลเชิงประจักษ์ที่มากพอด้ วย ่ ู เช่นกัน ....ความดีทพอมีในบทความนี ้ ขอมอบให้ คณกาลามะชน แห่ง pantip.com ห้ องหว้ ากอ ที่เปิ ดประเด็นนี ้ และให้ ข้อมูลอีก ี่ ุ ด้ านมาตังแต่ปลายปี 2548 ซึงผมได้ คดลอกมาใช้ ในบทความชิ ้นนีด้วย ส่วนความผิดพลาดทีอาจเกิดขึนกับข้ อมูล ย่อมเป็ นความ ้ ่ ั ้ ่ ้ รับผิดของผมแต่เพียงผู้เดียว .......วีรบูรณ์ วิสารทสกุล คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ 1
  • 2. อ่ะๆ แต่ช้าก่อน ก่อนที่จะเชื่ออะไรมากไปกว่านี ้จนถอนตัวไม่ขึ ้น ลองฟั งข้ อมูลอีกด้ านก่อนดีไหมครับ ผมจะขอ มาทาหน้ าที่เป็ นทนายจาเลย คือ CO2 กับ มนุษย์ ไปพลางๆ ก่อน โดยจะใช้ ข้อมูลอีกด้ านที่มีการเผยแพร่ทวไป ั่ มาอธิบาย ผ่านบทสนทนา ระหว่าง ชาวโลกร้ อน กับ ผม ...เริ่มเลยดีกว่าครับ ชาวโลกร้ อน : คุณดูหนัง An Inconvenient Truth2 หรื อยัง คุณเห็นข้ อมูลที่ Gore เอามาเสนอหรื อเปล่า มัน น่ากลัวมากน่ะ ทังก้ อนน ้าแข็งที่ขวโลกเหนือ ธารน ้าแข็ง ภูเขาน ้าแข็งในที่ตางๆ กาลังละลาย พายุเฮอรริแคนที่ ้ ั้ ่ เกิดบ่อยครังขึ ้น และทวีกาลังมากขึ ้น ความแห้ งแล้ ง น ้าท่วม ฤดูกาลที่ผนแปรในทุกทวีปทั่วโลก ทาไมคุณถึงยัง ้ ั ไม่เชื่อล่ะ ผม : ก็มนมีข้อมูลที่ทาให้ ผมต้ องคิดหนักน่ะซิ ว่าผมจะเชื่อ Gore ที่เป็ นนักการเมือง หรื อ เชื่อข้ อมูลที่มีหลักฐาน ั ทางวิทยาศาสตร์ ดี อย่างในหนัง Gore พูดไว้ ตอนหนึ่งว่า อุณหภูมโลกที่ร้อนขึ ้น จะทาให้ น ้าทะเลสูงขึ ้นถึง 20 ิ ฟุต โดยไม่ระบุเวลาที่ชดเจน มันดูน่ากลัวจริงๆ แต่หากคุณไปดูรายงานของ IPCC อย่างฉบับที่ 4 (ปี 2007) เขา ั รายงานว่า จากการคาดการณ์แบบเลวร้ ายสุดๆ ในศตวรรษนี ้ น ้าทะเลจะสูงขึ ้น 23 นิ ้ว ........20 กับ 23 ตัวเลข ห่างกันนิดเดียวก็จริง แต่หน่วยต่างกันเยอะน่ะครับ คุณว่าจริงไหมครับ ผมขอออกตัวก่อนว่า ผมเชื่อโดยสนิทใจว่า โลกร้ อนขึ ้น อย่างแน่นอน ผมยังเชื่อต่อว่า Greenhouse Gas (GHG) มีปริมาณเพิ่มขึ ้น ผมยังกังวลถึงผลที่ตามมาจากโลกที่ร้อนขึ ้นด้ วย อีกทังผมยังสนับสนุนการทางานด้ านการ ้ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติด้วย ผมจึงไม่ใช่พวกที่ชื่นชอบการพัฒนาที่เอาเงินเป็ นตัวตัง้ ที่ ใครๆ มักจะตราหน้ า ให้ แก่พวกที่ยืนตรงข้ ามกับชาวโลกร้ อน...มากไปกว่านัน อย่ างน้ อยผมเป็ นคนหนึ่งล่ ะที่ไม่ เห็นด้ วยที่ สนพ. ้ มติชน พิมพ์ หนังสือเรื่อง “โลกร้ อน..ความจริงที่ไม่ มีใครอยากฟั ง” โดยใช้ กระดาษอาร์ ต 4 สี ทังเล่ ม ้ เพราะเข้ าตารา มือถือสาก ปากถือศีล...คุณว่ าไหม? เพียงแต่ ผมเห็นว่า หากเราเข้ าใจเหตุที่ทาให้ เกิดโลกร้ อนพลาดไปแล้ ว การแก้ ปัญหา มันก็เสียเปล่าเท่านันเอง้ ที่ผมพูดแบบนี ้ เพราะผมมีข้อมูลที่ทาให้ ผมเชื่อว่า มนุษย์ไม่ได้ เป็ นต้ นตอของโลกร้ อน หากแต่ โลกร้ อนเป็ น ปรากฏการณ์ธรรมชาติที่มีรอบการเกิดที่คอนข้ างแน่นอน ในขณะที่ CO2 ก็ไม่ได้ เป็ นเหตุให้ อณหภูมสงขึ ้น ่ ุ ิ ู (causation) เพียงแต่มนมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ ชิดกับอุณหภูมที่สงขึ ้นเท่านันเอง (correlation) ที่สาคัญ ั ิ ู ้ ความสัมพันธ์ดงกล่าวก็ไม่ได้ เป็ นความสัมพันธ์ที่สมบูรณ์ กล่าวคือ ในบางช่วงปี ที่อณหภูมลดต่า เช่น ในช่วงปี ั ุ ิ 1940 – 1975 แต่ CO2 ก็ยงเพิมมากขึ ้น อีกทัง้ ผมยังเชื่อในทางตรงข้ ามอีกว่า โลกที่ร้อนขึ ้นต่างหากที่ทาให้ ั ่ ปริมาณ CO2 ในบรรยากาศมีมากขึ ้น การเข้ าใจถึงสาเหตุ และความพยายามที่จะแก้ ไขนัน หากเราเข้ าใจ เหตุที่ตางกัน ย่อมนาไปสูการแก้ ปัญหาที่ ้ ่ ่ ต่างกันด้ วย เช่น หากเชื่อว่า โลกร้ อน เกิดจาก CO2 ความพยายามและการทุ่มเทเพื่อแก้ ไขปั ญหา ก็คงมุงไปที่ ่ 2 หากคุณดูหนังเรื่ องนี ้แล้ ว ขอให้ ดหนังอีกเรื่อง ชื่อ The Great Global Warming Swindle ู http://en.wikipedia.org/wiki/The_Great_Global_Warming_Swindle 2
  • 3. การหาพลังงานทดแทน ซึ่งเป็ นที่ชดเจนแน่นอนว่า สหประชาชาติ จะหนุนให้ พลังงานนิวคลียร์ เป็ นพลังงาน ั ทดแทนในอนาคต หรื อไม่ก็เทคโนโลยีขนสูงเพื่อทาให้ การใช้ พลังงานมีประสิทธิภาพมากขึ ้น ั้ แต่ถ้าหากเชื่อว่า โลกร้ อน เป็ นปรากฏการณ์ธรรมชาติ ซึ่งเป็ นเรื่ องที่ห้ามกันไม่ได้ และหยุดไม่ได้ หน้ าที่เรา คือ ตังรับอย่างดีที่สด อย่างกรณีของเมืองไทย แผนที่สมัยทวารวดี ้ ุ ซึ่งตรงกับช่วงร้ อนในอดีต (Medieval Maximum) ชี ้ให้ เห็นว่า ชายฝั่ งอยู่ที่ไหนบ้ าง นันหมายถึง เราอาจต้ องทุ่ม ่ งบประมาณสร้ างเขื่อนยาวหลายพันกิโลเมตร ปองกันนาทะเล ้ ้ หนุน อย่างที่เนเธอร์ แลนด์เขาทามาแล้ ว แทนที่จะใช้ เงินไปเพื่อ การลดปริ มาณ CO2 ชาวโลกร้ อน : อะไรพลังงานนิวเคลียร์ เลยเหรอ มันยังมีพลังงาน ทางเลือกอีกตังหลายอย่าง อย่างพลังงานลม แสงอาทิตย์ หรื อแม้ ้ แต่เอธานอล ที่กาลังฮิตๆ ก็น่าจะช่วยลดการปล่อย CO2 ได้ บ้าง อีกทังการขยายพื ้นที่ป่า การปลูกป่ าเพิ่มเพื่อดูดซับ ก็เป็ นเรื่ องที่ ช่วยได้ ไม่ใช่หรื อ ้ ผม : แน่นอนครับ แต่ช้าก่อน พลังงานทางเลือกเหล่านี ้ ต่างกาลังต้ องการการพัฒนาอีกมาก ส่วนเอธานอลเอง นัน คุณเคยได้ ยินหรื อเปล่าว่า การผลิตเอธานอล 1 แกลลอนที่มีคาพลังงาน 77,000 BTUS ต้ องใช้ พลังงานใน ้ ่ การผลิตถึง 131,000 BTUS นันหมายถึง การผลิตเอธานอลทุกๆ 1 แกลลอน เราต้ องเสียพลังงานไป 54,000 ่ BTUs ขณะเดียวกันการผลิตเอธานอล (เพื่อผสมกับนามันเบนซิน) สาหรับรถยนต์หนึ่งคันต่อ 1 ปี ต้ องใช้ พื ้นที่ ้ ปลูกข้ าวโพดประมาณ 27.83 ไร่ (= 11 เอเคอร์ ) ซึงสามารถปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงคนได้ 7 คน/ปี นัน คือ ข้ อเท็จจริง ่ ่ ที่ไม่คอยมีใครพูดถึงกัน 3 ่ อีกอย่างเรื่ องของการปลูกป่ านอกเขตพื ้นที่เส้ นศูนย์สตร 4 ก็กาลังเป็ นประเด็นที่ถกเถียงกันอยู่ ก็คือ งานวิจย ู ั ล่าสุดของ ดร. Bala Govindasamy และ ดร. Ken Caldeira ที่กาลังจะตีพิมพ์ใน Proceedings of the National Academy of Scientists นันบอกว่า การปลูกป่ าในพื ้นที่นอกแถบเส้ นศูนย์สตร ไม่ได้ ช่วยทาให้ อณหภูมโลก ้ ู ุ ิ ลดลง ในทางตรงข้ ามมันจะเก็บความร้ อนไว้ ซึ่งจะทาให้ โลกร้ อนมากขึ ้น..ฝั่ งอนุรักษ์อย่าง นักรบสายรุ้ง (Greenpeace) เมื่อได้ ฟังเช่นนี ้ ก็ต้องหันหัวเรื อเข้ าขวางทันที....เออ คือ ฟั งแล้ วผมยังเหนื่อยแทนเลยครับ อย่างไรก็ต้องติดตามต่อครับว่างานชิ ้นนี ้ จะเละ หรื อจะถูกเชิดชูตอ ่ 3 d/l งานชิ ้นนีของ David Pimental ได้ ที่ http://hubbert.mines.edu/news/Pimentel_98-2.pdf ้ 4 http://www.llnl.gov/pao/news/news_releases/2006/NR-06-12-02.html และ ใน หนังสือพิมพ์ The Nation วันที่ 11 เมษายน 2007 หน้ า 7A 3
  • 4. ชาวโลกร้ อน : เดี๋ยวก่อนครับ กลับมาเรื่ องหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ เกี่ยวกับโลกร้ อนต่อ ขนาด ดร. Naomi Oreskes เขาเป็ น professor ด้ านประวัตศาสตร์ วทยาศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์ เนีย ซานดิ เอโก ยังเขียนไว้ ิ ิ ในบทบรรณาธิการวารสาร Science (วารสาร 1 ใน 2 ที่ยิ่งใหญ่ที่สดในแวดวงวิทยาศาสตร์ อีกเล่มหนึ่งคือ ุ Nature) ฉบับเดือนธันวาคม 2004 ว่า จากการตรวจสอบ บทคัดย่อ จากฐานข้ อมูล ISI ทางอินเตอร์ เน็ต (ข้ อมูล ระหว่างปี 1993-2003) โดยกลุมผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งใช้ คาค้ นว่า "global climate change" พบว่ามีจานวน ่ บทคัดย่อ 928 บทคัดย่อ ซึ่งต่างลงความเห็นเป็ นหนึ่งเดียวว่า (scientific consensus) มนุษย์ คือ สาเหตุที่ทาให้ โลกร้ อนขึ ้น ความเห็นที่เห็นพ้ องของนักวิทยาศาสตร์ ขนาดนี ้ คุณจะว่าไงอีก ข้ อมูลทางวิทยาศาสตร์ และ นักวิทยาศาสตร์ จานวนมากต่างก็ยืนยันแบบนี ้ คุณยังไม่เชื่ออีกหรื อ ผม : ช้ าก่อนครับ โปรดทราบไว้ ด้วยว่า มีคนจานวนมากหลังจากอ่านบทความของเธอแล้ ว พยายามเขียน ความเห็นโต้ แย้ ง แต่ Science ไม่ยอมตีพิมพ์ข้อโต้ แย้ งให้ นอกจากนี ้ ยังมีเรื่ องที่น่าสนใจครับ เมื่อมีการแฉว่าเธอ จงใจมองข้ ามบทความอีกประมาณ 11,000 บทความในฐานข้ อมูลที่ตีพิมพ์ตลอด 10 ปี ทังนี ้ มีประมาณ 500 ้ รายชื่อผู้เขียน ที่ถกนามาใช้ อ้างอิงในหนังสือ unstoppable global warming : Every 1,500 year5 ซึ่งเป็ น ู หนังสือสาคัญอีกเล่มที่ใช้ ข้อมูลวิทยาศาสตร์ จานวนมาก เพื่อชี ้ให้ เห็นว่า โลกร้ อนเป็ นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่ เกิดขึ ้นทุกๆ 1,500 ปี อ้ อ!!! ที่สาคัญ บทคัดย่อจานวน 928 บทคัดย่อนัน ได้ ถก ดร. Benny Peiser6 แห่ง มหาวิทยาลัยลิเวอร์ พล ้ ู ู ประเทศอังกฤษ ตรวจสอบซ ้า และกลับพบใน สิงที่แตกต่างออกไป นันคือ บทคัดย่อจานวนมากมีความเห็นที่ ่ ่ แตกต่าง มากกว่าจะเห็นพ้ องต้ องกัน อีกทังเกือบทังหมดก็เป็ นความเห็นที่ ไม่กล้ าฟั นธงทังสิ ้น (noncommittal) ้ ้ ้ และ บทความของ ดร.Benny Peiser อีกเช่นกันที่ วารสาร Science ไม่ยอมให้ รับพิมพ์ แม้ จะยอมรับว่า ข้ อสังเกตของ ดร.Benny ถูกต้ องก็ตาม นันหมายถึง วารสาร Science ก็ยงคงปล่อยให้ บทความที่มีความ ่ ั ผิดพลาดลอยนวลอยู่ตอไป ....เหตุการณ์เช่นนี ้ เกิดกับ Nature เช่นกัน ที่มีการลงตีพมพ์บทความเกี่ยวกับ กราฟ ่ ิ รูป Hockey Stick (จะกล่าวถึงเรื่ องนี ้ต่อไป) โดยมีผ้ ทบทวนบทความ 2 คน ที่ไม่ใช่ผ้ เู ชี่ยวชาญด้ านสภาพอากาศ ู แต่กลับเป็ นนักสถิติ สุดท้ ายมีการตีพมพ์บทความนี ้ ทังที่มีความผิดพลาดด้ านข้ อมูล และวิธีวทยา ซึ่งก็นาไปสู่ ิ ้ ิ การวิพากษ์วจารณ์อย่างกว้ างขวาง...นี่จึงเป็ นตัวอย่างที่ดีที่จะบอกคุณว่า ให้ ฟังหูไว้ หเู สียก่อน ิ ชาวโลกร้ อน : เดี๋ยวๆ เมื่อกี ้คุณก็บอกเองไม่ใช่หรื อว่า คุณไม่เถียงว่าโลกร้ อนขึ ้นจริง และยังกลัวว่ามันจะส่งผล ให้ มีการเปลี่ยนแปลงด้ านบรรยากาศ หรื อสภาพแวดล้ อมตามมา ผม : แน่นอนครับ ผมก็เห็นว่า โลกมันร้ อนขึ ้นจริง แต่ที่ผมไม่แน่ใจก็คือ 1) โลกที่เย็นกว่าที่เป็ นอยู่นี ้ จะดีกว่า โลก ที่ร้อนขึ ้น อย่างไร และ 2) ผลจากการที่โลกร้ อน ทาให้ เกิดภัยพิบตทางธรรมชาติ ตามมาจริงหรื อไม่ ัิ 5 ท่านที่สนใจ โปรดดู Dennis T. Avery and S. Fred Singer (2007) unstoppable global warming : Every 1,500 year. http://www.amazon.com/exec/obidos/tg/detail/-/0742551172/ref=ord_cart_shr/002-2236649- 6230433?%5Fencoding=UTF8&m=ATVPDKIKX0DER&v=glance 6 ท่านที่สนใจบทความที่ ดร. Benny เขียนถึง โปรดดู http://www.staff.livjm.ac.uk/spsbpeis/NationalPost.htm และ 4
  • 5. มีงานศึกษาชื่อ Enhanced or Impaired? Human Health in a CO2 -Enriched Warmer World7 ของ ศูนย์ ศึกษา CO2 และการเปลี่ยนแปลงโลก (Center for the Study of Carbon Dioxide and Global Change) ระบุ ว่า อากาศที่ร้อนขึ ้น และปริมาณ CO2 ที่มากขึ ้น จะส่งผลกระทบในทางบวก มากกว่าทางลบ ทังในมิติเรื่ อง ้ โรคติดต่อ โรคทางเดินหายใจ การผลิตทางการเกษตร เป็ นต้ น อย่างกรณีที่ WHO อ้ างว่า โลกที่ร้อนขึ ้น จะทาให้ มีอตราของการเกิดโรค การติดเชื ้อ และการตายที่สงขึ ้น ั ู โดยประมาณว่าจะมีผ้ เู สียชีวต 150,000 คน ซึ่งเป็ นผลมาจากโลกร้ อนขึ ้น ข้ ออ้ างนี ้ ก็เป็ นข้ ออ้ างที่นก ิ ั อุตนิยมวิทยา เห็นว่าไม่ถกต้ อง เพราะ 1) การขึ ้นลงของอุณหภูมของแต่ละท้ องถิ่น ไม่ได้ แกว่งตามอุณหภูมเิ ฉลี่ย ุ ู ิ ของโลก และ 2) ผู้เชี่ยวชาญด้ านสุขภาพทุกคนรู้ดีวา ความเสี่ยงที่มีนยสาคัญต่อสุขภาพของมนุษย์ คือ อุณหภูมิ ่ ั ที่หนาวเย็นต่างหาก ไม่ใช่อณหภูมที่อ่นขึ ้น ลาพังแค่ในรัสเซีย และยุโรป ช่วงฤดูหนาวไม่กี่เดือน ก็มีคนตายจาก ุ ิ ุ อุณหภูมที่ต่าลง เฉลี่ยนับ 100,000 คนทุกๆ ปี ิ นอกจากนี ้ยังมีงานศึกษาในประเทศอังกฤษ8 ที่คานวณให้ เห็นว่า การเพิ่มขึ ้นของอุณหภูมเิ ฉลี่ยทุก 2 องศา เซลเซียส ตลอดช่วง 50 ปี ที่ผานมา ทาให้ มี ผู้เสียชีวตที่สมพันธ์กับความร้ อน ประมาณ 2,000 คน แต่สามารถ ่ ิ ั ลดจานวนผู้เสียชีวต จากความหนาวเย็นได้ มากถึง 20,000 คน หรื ออาจกล่าวได้ วา อุณหภูมที่สงขึ ้นช่วยลด ิ ่ ิ ู จานวนผู้เสียชีวตลงอย่างมีนยยะสาคัญ ขณะเดียวกันยังมีงานศึกษาในสหรัฐอเมริกาที่ชี ้ว่า อุณหภูมที่เพิมสูงขึ ้น ิ ั ิ ่ ทุก 2.5 องศาเซลเซียส ช่วยลดอัตราการเสียชีวตลงปี ละ 40,000 คน ซึ่งลดรายจ่ายด้ านสุขภาพไปปี ละ 20 ิ พันล้ านเหรี ยญต่อปี 9 และตลอดช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา ประเทศในแถบตะวันตกโดยส่วนใหญ่ มีอตราการตายจากความร้ อนลดลง ั อย่างมีนยยะสาคัญ โดยข้ อเท็จจริงก็คือ มีการปรับตัวทางด้ านเทคโนโลยีเพื่อลดความเครี ยดจากสภาพอากาศที่ ั เลวร้ าย ซึ่งเร่งให้ เกิดมาตรการการปองกันการเสียชีวตจากความร้ อนในพื ้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศพัฒนาแล้ ว ้ ิ หรื อ กรณี Katrina ซึ่ง Gore ระบุชดว่าเป็ นผลสืบเนื่องมาจากภาวะโลกร้ อนนัน ดร. Christopher Landsea 10 ั ้ ผู้เชี่ยวชาญด้ านเฮอร์ ริเคน ที่ลาออก (ดูเหตุผลการลาออกข้ างหน้ า) จากการเป็ นคณะทางานจัดทารายงานฉบับ ที่ 4 ของ IPCC กล่าวว่า “…..ทฤษฎี โลกร้อน และโมเดลคณิ ตศาสตร์ บอกเราแค่ว่า เฮอร์ ริเคนอย่าง Katrina และ Rita นัน อาจจะรุนแรงขึ้นอันเนืองมาจาก โลกร้อน แต่อาจจะแค่ 1-2 ไมล์ต่อชัวโมงเท่านัน” 11 ้ ่ ่ ้ 7 ท่านที่สนใจสามารถ d/l มาอ่านได้ http://www.co2science.org/scripts/Template/0_CO2ScienceB2C/pdf/health2pps.pdf 8 W Keatinge and G C Donaldson (2004) The Impact of Global Warming on Health and Mortality, Southern Medical Journal, Volume 97, Number 11, November 2004 9 Health and Amenity Effects of Global Warming, IDEAS, 1996 http://ideas.repec.org/p/wpa/wuwpot/9604001.html 10 ดูเรื่ องราวของ ดร.Christopher Landsea ซึงเป็ นผู้เชี่ยวชาญด้ านเฮอร์ ริเคน ที่รัฐบาลมอบความไว้ เนือเชือใจมากกว่า ่ ้ ่ นักวิทยาศาสตร์ คนใดๆ ให้ แถลงผลเรื่ องเฮอร์ ริเคน Katrina http://en.wikipedia.org/wiki/Chris_Landsea#_note-4 11 http://www.pbs.org/newshour/bb/weather/july-dec05/science_10-18.html 5
  • 6. อีกอย่างเท่าที่ทฤษฎีบอกไว้ ความหนาแน่นและกาลังของพายุ อาจพิจารณาได้ จากความแตกต่างของอุณหภูมิ ระหว่างแถบศูนย์สตร (equator) กับ ขัวโลก (poles) ในสถานการณ์โลกร้ อนนัน อุณหภูมบริเวณศูนย์สตรนันจะ ู ้ ้ ิ ู ้ มีการเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก ขณะที่อณหภูมที่ขวโลกแถว Artic จะเปลี่ยนแปลงสูงขึ ้นราว 4-5 องศาเซลเซียส ุ ิ ั้ นันย่อมหมายถึง ความแตกต่างของอุณหภูมระหว่างศูนย์สตร (equator) กับ ขัวโลก (poles) จะมีน้อยลง พลังที่ ่ ิ ู ้ จะก่อให้ เกิดพายุ ย่อมน้ อยลงไปด้ วยนันเอง ่ ชาวโลกร้ อน : ฟั งดูก็น่ารับฟั ง แต่ผมคิดว่า คงต้ องหาข้ อมูลที่มากกว่านี ้มายืนยัน ทีนี ้แล้ ว เรื่ อง CO2 ล่ะ มันเป็ นมลพิษของโลกเราไม่ใช่ หรื อ? ที่สาคัญ พวกเราเชื่อว่ามันคือ สาเหตุ สาคัญที่ทาให้ โลกร้ อนขึ ้น ไม่เชื่อ คุณก็ดู กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง CO2 กับอุณหภูมิ โลกเฉลี่ยของ IPCC ซิ ว่ามันสัมพันธ์กนขนาด ั CO2 ไหน ผม : ก่อนจะไปถกกันเรื่ อง CO2 เพราะมีหลายประเด็นที่ต้องพูดถึง ผมขอพูดถึง IPCC สักหน่อย อย่างน้ อยเพื่อ ดิสเครดิต การทางานของ IPCC ที่มีความไม่ชอบมาพากลหลายต่อหลายอย่าง จนทาให้ ขาดความน่าเชื่อถือใน ข้ อมูลเป็ นอย่างยิ่ง แต่ก็นนแหละ ข้ อมูลเหล่านี ้ คือ ข้ อมูลที่ Gore ใช้ ในหนังสารคดีและในหนังสือของเขา และ ที่ ั่ สาคัญ ยังเป็ นข้ อมูลที่นกอนุรักษ์สงแวดล้ อมบ้ านเรา ชอบอ้ างอิงถึงอยู่บอยๆ ด้ วยสิ ั ิ่ ่ The Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) จัดตังเมื่อปี 1988 โดยความร่วมมือของ องค์กร ้ อุตนิยมวิทยาโลก และโครงการสิงแวดล้ อมแห่งสหประชาชาติ เพื่อประเมินความเสี่ยงของการเปลี่ยนแปลงของ ุ ่ สภาพอากาศที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ IPCC ทารายงานมาแล้ ว 4 ครัง ครังแรก ปี 1990 (และมีฉบับเสริมในปี 1992) ครังที่สอง ปี 1995 ครังที่สามปี ้ ้ ้ ้ 2001 ครังล่าสุดเพิงออกมาเมื่อกุมภาพันธ์ ต้ นปี 2007 นี ้เอง และทุกครังก็มีการวิจารณ์เรื่ องความน่าเชื่อถือด้ วย ้ ่ ้ 12 ทุกครัง ้ รายงานฉบับแรกของ IPCC (IPCC FAR) มีปัญหาเกี่ยวกับความแตกแยก ด้ านความเห็นภายในองค์กร IPCC เอง ทาให้ SEPP ซึ่งเป็ น NGO ในสาขาอุตฯ รวมทังฝ่ ายที่คดค้ านทฤษฎี ได้ ทาการสารวจความเห็นนักวิทยา- ุ ้ ั 12 ท่านที่สนใจ การวิพากษ์ วิจารณ์รายงานของ IPCC ในแต่ละครัง โปรดดู http://en.wikipedia.org/wiki/IPCC และบทวิจารณ์ IPCC ้ ส่วนใหญ่ที่ปรากฏอยู่ใน บทความนี ้ ส่วนใหญ่เป็ นของคุณกาลามะชน ใน http://topicstock.pantip.com/wahkor/topicstock/X3721530/X3721530.html 6
  • 7. ศาสตร์ ใน IPCC ที่เกี่ยวข้ องเป็ นรายบุคคล ได้ ผลสารวจพ้ องกันว่า นักวิทยา ศาสตร์ ภายใน IPCC เอง มีผ้ ที่เห็น ู ด้ วยกับรายงาน 60% และไม่เห็นด้ วย 40% สิงที่ไม่เห็นด้ วยมากที่สดคือ แบบจาลองบรรยากาศ ที่ใช้ พยากรณ์ผลกระทบ โดยส่วนใหญ่เห็นว่ามีปัญหา ่ ุ เกี่ยวกับข้ อมูลที่ใช้ IPCC แก้ ปัญหาภาพของความไม่เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันภายใน IPCC จึงมีนโยบายให้ ตด ั ข้ อความ หรื อลดทอนน ้าหนักของเรื่ องราว ที่มีความเห็นไม่ตรงกัน ทาให้ เนื ้อหาเรื่ องราวที่ควรจะมีหายไปเป็ น จานวนมาก รวมทังนากระบวนการ peer review มาใช้ Peer review คือ ก่อนที่จะเผยแพร่ตอสาธารณะ จะมี ้ ่ การตรวจสอบว่าบทสรุปเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ มีการคัดเลือก ตัดทอน หรื อแม้ แต่เรี ยบเรี ยงบทสรุปขึ ้นใหม่ รายงานฉบับที่ 2 ของ IPCC (IPCC SAR) แบ่งแยกการทางานเป็ นสาม Working Group (WG I, II, III) รายงาน ของแต่ละกลุ่มจะมี Summary of Policymakers (SfP) ทาการสรุปและนาเสนอต่อผู้แทนประเทศต่างๆ รายงาน ฉบับที่สองมีความเห็นที่เป็ นเอกภาพภายในองค์กรมากขึ ้น แต่กลับมีปัญหาเรื่ องการฉ้ อฉล โดยมีบางคนออกมา ร้ องต่อสาธารณะว่า รายงานที่ร่างขึ ้นไป ถูกดัดแปลงโดย Policymakers จนเนื ้อหาเปลี่ยนไป หลังการประเมินครังที่สอง IPCC มีปฏิบตการอย่างหนึ่ง คือจัดการประชุม Leipzig declaration (Nov-1995) ้ ัิ เพื่อประกาศ “ความเป็ นเอกภาพ” ทางความเห็นของนักวิทยาศาสตร์ ตอปั ญหาโลกร้ อน แต่กลับโดนฝ่ ายค้ าน ่ เล่นงานเรื่ องความฉ้ อฉลของรายงาน ท่ามกลางงาน และก่อให้ เกิดการตอบโต้ โดยฝ่ ายค้ านรวมกลุมกัน เพื่อ ่ ประกาศให้ โลกรู้ถึง “ความไม่เป็ นเอกภาพ” ในความเห็นของนักวิทยาศาสตร์ ตามมาอีก 5 ครัง้ โดย OISM Petition Project 1999-2001 เป็ นครังใหญ่ที่สด ้ ุ รายงานฉบับที่ 3 ของ IPCC (IPCC TAR) ยังคงแบ่งแยกการทางานเป็ นสาม Working Group ที่มี Policy makers และปั ญหาเรื่ องความฉ้ อฉล ในกระบวนการสรุป ก็ยงคงมีอยู่ ความฉ้ อฉล ของ Policymakers มีลกษณะ ั ั เป็ นอย่างไร ลองดูตวอย่างบางส่วนที่ ศ. Richard Lindzen นักฟิ สกส์แห่ง MIT ซึ่งเป็ น Lead Author ของ ั ิ Chapter 7 บ่นไว้ ..........I worked on Chapter 7, Physical Processes. This chapter dealt with the nature of the basic processes which determine the response of climate, and found numerous problems with model treatments – including those of clouds and water vapor. The chapter was summarized with the following sentence: 'Understanding of climate processes and their incorporation in climate models have improved, including water vapour, sea-ice dynamics, and ocean heat transport จะเห็นว่ามีความรู้สกถึงความไม่แน่นอน เพราะยังมีปัญหาอีกมาก แต่ Policymakers เลือกที่จะสรุปด้ วยถ้ อยคา ึ ที่เมื่ออ่านแล้ วชวนให้ ร้ ูสกถึงความมันใจ ….. ึ ่ 7
  • 8. Such models cannot yet simulate all aspects of climate (e.g., they still cannot account fully for the observed trend in the surface-troposphere temperature difference since 1979) and there are particular uncertainties associated with clouds and their interaction with radiation and aerosols. Nevertheless, confidence in the ability of these models to provide useful projections of future climate has improved due to their demonstrated performance on a range of space and time-scales. ข้ อสรุปของ Policymakers ก็คงไม่ผด เพราะความรู้พฒนาขึ ้นจากเดิมจริง แต่การสรุปลักษณะนี ้ บางคน ิ ั โดยเฉพาะฝ่ ายค้ าน ถือว่าเป็ นการฉ้ อฉล เพราะมีเจตนาทาให้ ผ้ อ่านเกิดมุมมองที่คลาดเคลื่อน คือมองเห็น เรื่ อง ู ที่ยงไม่ทราบแน่นอน กลายเป็ นข้ อเท็จจริงที่มนใจแล้ ว ั ั่ อนึ่ง การประเมินครังที่สามนี ้ IPCC ยังทาเรื่ องที่ก่อความขุนเคือง ให้ กบวงการอุตนิยมวิทยา คือ การผลักดัน ้ ่ ั ุ ผลการวิจยสภาพอากาศในช่วง 1000 ปี ที่ผานมา ของ Michael Mann, Raymond S. Bradley และ Malcolm ั ่ K. Hughes หรื อที่ร้ ูจกในนาม “Hockey Stick” กราฟ Hockey Stick ได้ มาจากวิธีวดวงปี ของไม้ สน นัยยะ ั ั สาคัญของ Hockey Stick คือการบอกว่า โลกไม่เคยมี Little Ice Age และ ไม่เคยมี Medieval Maximum โลก มีแต่ความเย็นที่คอนข้ างคงที่ตลอดหนึ่งพันปี (ปี 1000 – 1900) และกาลังร้ อนขึ ้นอย่างรวดเร็ ว ตังแต่ปี 1900 ถึง ่ ้ ปั จจุบน....ซึ่งขัดแย้ งกับรายงานฉบับที่ 1 ที่บอกว่า ในอดีตมีช่วงเวลาที่โลก ร้ อนกว่าปั จจุบนมาก และ การเสนอ ั ั งานวิจยนี่ออกสูสาธารณะ ยังหมายถึง ความพยายามที่จะฉีกตารา Paleoclimatology ฉบับมาตรฐาน เพื่อ ั ่ หักล้ างทฤษฎีวฏจักรธารน ้าแข็ง ที่เป็ นอุปสรรคสาคัญของการชักชวนให้ เห็นว่า โลกปั จจุบนร้ อนกว่าในอดีตมาก ั ั และเกิดจากน ้ามือมนุษย์ เหตุที่ IPCC ต้ องพยายามเบียดทฤษฎี Paleoclimatology ให้ ตกไป เนื่องจาก ข้ อมูลที่ใช้ ในการนาเสนอเรื่ อง โลกร้ อนจากปรากฏการณ์ภาวะเรื อนกระจก เป็ นข้ อมูลอดีตแค่ในช่วงเวลาที่มีการวัดอุณหภูมด้วยเครื่ องมือทาง ิ วิทยาศาสตร์ แล้ ว นันคือ ปลายยุค Little Ice Age (LIA) แต่เมื่อต้ องเทียบกับการเปลี่ยนแปลงในอดีตที่ไกล ่ ออกไป แบบจาลองดังกล่าว กลับเข้ ากันไม่ได้ กบ รอบการเกิดของ MWP และ LIA เมื่อเข้ ากันไม่ได้ ก็ไม่ ั สามารถอธิบายการเกิดของ MWP และ LIA ในอดีตได้ นนเอง แต่จะทาอย่างไร เมื่อ MWP มีหลักฐานทัง ั่ ้ ประวัตศาสตร์ และโบราณคดี รองรับหนักแน่นปานขุนเขา และเสริมด้ วยหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ ที่แข็งแกร่ง ิ มากมาย แต่ IPCC ก็พบช่องทางหนึ่ง คือการศึกษาวิจยต่างๆที่ผ่านมา จะโฟกัสบนพื ้นที่ที่ถือว่า sensitive ต่อการเปลี่ยน ั อุณหภูมิ คือเขตรอบๆอาร์ คติก เช่น ยุโรป กรี นแลนด์ ไอซแลนด์ และคานาดา ซึ่งเป็ นพื ้นที่ที่เคยถูกผืนน ้าแข็งปก คลุมในช่วง Ice Age การที่อณหภูมของโลกเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้ อย จะทาให้ ภมอากาศของพื ้นที่เหล่านี ้ ุ ิ ู ิ เปลี่ยนแปลงได้ อย่างใหญ่หลวง จึงเหมาะที่จะใช้ เป็ นสถานที่ศกษาการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมโลก ึ ิ 8
  • 9. Paleoclimatology คือ ความรู้เกี่ยวกับกาลอากาศในยุคโบราณ โลกกาลังอยู่ในมหายุคน ้าแข็งครังที่สี่ เรี ยกว่า Pleistocene Ice Age แต่ระหว่างมหายุคน ้าแข็ง โลกไม่ได้ หนาวเย็น ้ ต่อเนื่องตลอดเวลา มีช่วงเวลาที่หนาวเย็น และอบอุ่น เปลี่ยนแปลงสลับหลายต่อหลายครัง ช่วงที่ธารน ้าแข็งก่อตัว ้ กว้ างขวาง เรี ยกว่า glacial period ช่วงอบอุ่นระหว่างยุคน ้าแข็งเรี ยกว่า interglacial period สี่ล้านปี ที่ผานมา ธาร ่ น ้าแข็งแผ่ขยายและถดถอยสลับกันมากกว่ายี่สบครัง ช่วงที่ธารน ้าแข็งขยายตัวปกคลุมโลก มักจะยาวนานเป็ นหลักแสน ิ ้ ปี แต่ช่วงอบอุ่นระหว่างธารน ้าแข็งมักจะสัน เป็ นหลักหมื่นปี เท่านัน ้ ้ การขยายตัวของธารน ้าแข็งครังสุดท้ ายเรี ยกว่ายุคน ้าแข็ง Wisconsin ประมาณ 16,000 ปี ที่แล้ ว โลกค่อยๆ อุ่นขึ ้นอย่าง ้ ต่อเนื่อง ธารน ้าแข็งค่อยๆ ถดถอยอย่างช้ าๆ จนกระทังถึง 11,000 ปี ก่อนปั จจุบน เป็ นช่วงเวลารอยต่อ ระหว่างยุค ่ ั น ้าแข็ง กับยุคที่โลกอบอุ่นที่เรี ยกว่า Younger-Dryas โลกอุ่นขึ ้นอย่างฉับพลัน ละลายธารน ้าแข็งนอกเขตขัวโลก จนหมด ้ ไปอย่างรวดเร็ว แต่แล้ วก็โลกพลิกกลับหนาวลงอย่างรวดเร็ว จนเกือบกลับเข้ ายุคน ้าแข็งเป็ นช่วงสันๆ จากนันก็กลับอุ่น ้ ้ ขึ ้นอย่างรวดเร็วอีกครัง จนกลับมาอุ่นเท่ากับตอนเริ่มต้ น เมื่อประมาณเก้ าพันห้ าร้ อยปี ก่อนปั จจุบน ้ ั หลังจากสิ ้นสุด Younger-Dryas โลกก็เข้ าสูยคที่อากาศอบอุ่น Interglacial Period ระหว่าง 8000-5000 ปี ก่อนปั จจุบน ุ่ ั เป็ นยุคสมัยที่โลกอบอุ่นกว่าปั จจุบน เรี ยกกันว่า Holocene Optimum โดยมีช่วงที่อ่นที่สด เรี ยกว่า Holocene ั ุ ุ Maximum ประมาณระหว่าง 5500-7000 ปี ก่อนปั จจุบน ั ช่วง Holocene Maximum อากาศค่อนข้ างอุ่นจัดกว่าปั จจุบนมาก เขต Tropical ที่ขนาบเส้ นศูนย์สตร ขยายตัว ั ู กว้ างขวาง ลุมน ้าสินธุและเมโสโปเตเมียยุคนัน ได้ รับอิทธิพลลมมรสุมมากกว่าในปั จจุบน มีความชุ่มชื ้นมากพอ ช่วยให้ ่ ้ ั อารยะธรรมมนุษย์ ก่อนยุคชลประทาน ก่อกาเนิดในอัฟริกา เขต tropical ขยายตัวเบียดทะเลทราย ซาฮารา ให้ ถอยร่น ขึ ้นไปทางเหนือ มีแหล่งน ้าอุดมสมบูรณ์ ที่มี จระเข้ และฮิปโปโปเตมัส อาศัย กระจายอยู่ทวซาฮาราตอนใต้ ปั จจุบน ั่ ั กระดูกของสัตว์เหล่านันยังคงปรากฏเป็ นหลักฐานอยู่ใต้ ตะกอนทราย ภาพเขียนก่อนประวัตศาสตร์ ตามผนังถาที่อยู่ ้ ิ ้ กลางทะเลทรายซาฮาร่าในปั จจุบน เต็มไปด้ วยรูปสัตว์ที่ในปั จจุบนอยู่ห่างลงไปทางใต้ หลายร้ อยกิโลเมตร ั ั ตังแต่ยคหินจนถึงยุคสาริ ด มนุษย์ได้ รับประโยชน์จากความอบอุ่นของ Holocene Optimum ช่วยให้ เผ่าพันธุ์มนุษย์ ้ ุ กระจายไปทัวโลก พอถึงประมาณ 5000 ปี ที่แล้ ว ภูมอากาศของโลกก็เริ่มเย็นลง เกิดเป็ นช่วงที่อบอุ่นบ้ าง เย็นบ้ าง ่ ิ หนาวบ้ าง สลับกันหลายครัง แต่ละช่วงจะกินเวลาหลายร้ อยปี เรี ยกว่า Late Holocene Neoglacial Fluctuation ้ อารยะธรรมของมนุษย์ที่ได้ รับความอบอุ่นที่ยาวนาน ตลอดยุคหินจนถึงต้ นยุคสาริด เริ่มพบกับความหนาวเป็ นครังแรก้ ในปลายยุคสาริด ต่อเนื่องจนถึงยุคเหล็ก จนกระทังถึงต้ นยุคโรมัน โลกก็ยงค่อนข้ างเย็น เรี ยกว่า Roman Cool Period ่ ั พอถึงปลายยุคโรมัน โลกจึงกลับมาอุ่นขึ ้นอีก เรี ยกว่า Roman Warm period ช่วงต้ นยุคคริสตกาล โลกกลับเย็นลง เรี ยกว่า Dark Age Cool Period พอถึงกลางคริสต์กาล โลกก็กลับมาอุ่นอีกครัง เรี ยกว่า Medieval Warm Period (ต่ อ) ้ 9
  • 10. (ต่ อ) ช่วงอบอุ่นที่สดของ Medieval Warm Period (MWP) ตรงกับศตวรรษที่ 9-11 เป็ นช่วงเวลาที่มีการจดบันทึก ุ เรื่ องราวเหตุการณ์ทางภูมศาสตร์ ค่อนข้ างแพร่หลาย ความอบอุ่นช่วยให้ การเพาะปลูกในยุโรปอุดมสมบูรณ์ ทาให้ ิ ประชากรยุโรปเพิ่มขึ ้น โลกอุ่นถึงขันที่ฟยอร์ คตอนใต้ สดของเกาะกรี นแลนด์ ในฤดูร้อนปลอดจากน ้าแข็ง เกิดมีท่งหญ้ า มี ้ ุ ุ ชาวไวกิ ้งเข้ าไปตังหมู่บ้าน เลี ้ยงแพะ แกะ วัว ที่ตอนใต้ สดของเกาะ ส่วนเกาะไอซ์แลนด์ ที่อยู่ถดไปหน่อย อบอุ่นพอที่จะ ้ ุ ั ปลูกธัญพืช เช่นข้ าวสาลีได้ หลักฐานการเก็บภาษีเก่าแก่ บอกว่าอังกฤษมีไร่องุ่นและผลิตไวน์เป็ นจานวนมาก หลักฐาน ทางเอเชียก็บอกถึงการปลูกส้ มในภาคเหนือของจีน ในช่วงที่โลกอุ่นนัน ธารน ้าแข็งถดถอย น ้าแข็งที่ละลาย อาจทาให้ ระดับน ้าทะเลสูงขึ ้น ช่วงนี ้ตรงกับสมัยทวาราวดีปลายๆ ้ ถ้ าใครเคยเห็นแผนที่ทางโบราณคดีของยุคนัน จะเห็นแนวชายฝั่ งทะเลของอ่าวไทยโบราณ กินแดนลึกเข้ ามาถึงจังหวัด ้ ชัยนาท พอผ่านพ้ นศตวรรษที่ 12 โลกก็กลับเย็นลงอย่างต่อเนื่อง และทาท่าจะกลับเข้ ายุคน ้าแข็งอีกครัง โดยตาราส่วนใหญ่จะนับ ้ ระหว่างปี 1450-1850 นักอุตนิยมวิทยา เรี ยกช่วงเวลาที่หนาวเย็นผิดปกติราวสี่ร้อยปี นี ้ว่า Little Ice Age (LIA) ุ ธารน ้าแข็ง ตามที่ต่างๆเริ่มขยายตัวมากขึ ้นอีกครัง ความหนาวขับไล่ไวกิ ้งให้ อพยพออกไปจากเกาะกรี นแลนด์ ้ ไร่องุ่นหายไปจากเกาะอังกฤษ ไร่ส้มหายไปจากภาคเหนือของจีน ช่วงที่หนาวที่สดของ LIA เรี ยกว่า Maunder Minimum ระหว่างปี 1645-1715 การเกษตรในยุโรปได้ รับความเสียหาย ุ เพราะอากาศที่หนาวเย็นผิดปกติ ทาให้ ประชากรในยุโรปค่อยๆ ลดลง บันทึกของอังกฤษบอกว่าช่วงหลายปี นนอากาศ ั้ หนาวจัดจนแม่น ้าเทมส์เป็ นน ้าแข็งทุกปี ความหนาวเกือบจะทาลายเกาะไอซแลนด์ลงด้ วยเช่นกัน การเกษตรล้ มเหลว เหลือแต่ท่งหญ้ าเลี ้ยงแกะ ประชากรลดลง ุ ครึ่งหนึ่ง บันทึกของทางไอซ์แลนด์บอกว่าในช่วงนัน ทะเลรอบเกาะจะกลายเป็ นแพน ้าแข็ง ไม่สามารถเดินเรื อเข้ าออก ้ จากเกาะได้ เหลือเพียงชายฝั่ งตอนใต้ เพียงทางเดียว ซึ่งต่างจากปั จจุบน ที่ทะเลน ้าแข็งจะอยู่แค่นอกชายฝั่ งด้ านเหนือ ั เท่านัน ้ หลักฐานประวัติศาสตร์ บอกว่าธารน ้าแข็งตามภูเขาสูง แถบเทือกเขาแอล์ป รวมทังสแกนดิเนเวียขยายตัว คืบคลานเข้ า ้ ทับหมูบ้านในหุบเขาไปนับร้ อยแห่ง มีบนทึกของวาติกน ถึงคาขอร้ องจากชาวบ้ านที่ถกธารน ้าแข็งคุกคาม มีการส่ง บิ ่ ั ั ู ชอบแห่งฟลอเรนส์ ไปทาพิธี (Exorcist) ขับไล่ธารน ้าแข็ง ธารน ้าแข็งที่ก่อตัวมากขึ ้น อาจจะทาให้ ระดับนาทะเลลดลง พื ้นดินบริเวณที่ลมของภาคกลาง รวมทังกรุงเทพโผล่พ้นน ้า ้ ุ่ ้ ในช่วงนี ้ การที่ปัจจุบนเมืองท่าโบราณในสมัยทวาราวดี อยู่ลกเข้ าไปในแผ่นดิน และอยู่ในทาเลที่ตงที่สงกว่า ั ึ ั้ ู ระดับน ้าทะเลในปั จจุบนประมาณ 5 เมตร เป็ นข้ อที่น่าพิจารณาว่าระดับน ้าทะเลอาจจะลดลง ไม่ใช่ทะเลตื ้นเขินจนเป็ น ั แผ่นดิน (ต่ อ) 10
  • 11. (ต่ อ) โชคดีที่พอถึงปี 1850 โลกก็ผนกลับสูความอบอุ่นอีกครัง ในช่วงแรกโลกค่อยๆ อุ่นขึ ้นในอัตราศตวรรษละ 1 องศา ั ่ ้ จนอุ่นที่สดในกลางทศวรรษ 1940s แล้ วก็มีทีท่าจะกลับเย็นลงอย่างช้ าๆ แต่พอถึงช่วงใกล้ เปลี่ยนศตวรรษ โลกก็กลับอุ่น ุ ขึ ้นอีกครัง อย่างรวดเร็วจนน่าตกใจ เป็ นเหตุให้ คนทังโลก พากันวิตกถึงภาวะโลกร้ อน ้ ้ แต่โชคไม่ดี ที่เทอร์ โมมิเตอร์ และการวัดอุณหภูมอากาศ เกิดขึ ้นเป็ นครังแรกในช่วง LIA ดังนันถ้ าไปค้ นบันทึกของ ิ ้ ้ อุณหภูมอากาศในอดีต ก็จะเห็นแต่ความหนาวเย็น คนที่ไม่ร้ ูเรื่ องของกาลอากาศในยุคโบราณ อาจจะคิดว่าโลกมีความ ิ หนาวเป็ นเรื่ องปกติ ความอบอุ่น ที่ถกบันทึกไว้ ด้วยเรื่ องราวในประวัตศาสตร์ และร่องรอยในชันดิน ู ิ ้ จึงกลายเป็ น นิทานปรัมปรา เรื่ องราวของ Holocene maximum, Medieval Maximum, Little Ice Age เหล่านี ้ เป็ นความรู้อย่างสามัญของ Paleoclimatology ไม่ใช่เรื่ องแปลกใหม่ เพียงแต่เรื่ องของภูมอากาศในยุคโบราณ ไม่ใช่สงที่คนทัวไปจะสนใจ . ิ ิ่ ่ หมายเหตุ : เรื่ องเล่านี ้ โดยคุณ กาลามะชน เล่าไว้ ใน pantip.com เมื่อปลายปี 2548 http://topicstock.pantip.com/wahkor/topicstock/X3721530/X3721530.html IPCC จึงทาการวิจยอุณหภูมในอดีตใหม่ โดยสารวจคลุมพื ้นที่กว้ างทังโลก การใช้ ข้อมูลที่หลากหลายครอบคลุม ั ิ ้ ทังโลก เป็ นเรื่ องที่ฟังดูมีเหตุผลดี แต่จริงๆ แล้ วไม่ใช่เรื่ องที่ควรจะทา เพราะยิ่งออกห่างจากขัวโลกเท่าไร อิทธิพล ้ ้ ของความหนาวก็ยิ่งเห็นได้ น้อยลง และมีอิทธิพลอย่างอื่นมาเกี่ยวข้ องมากขึ ้น ตัวแปรมีมากขึ ้น ข้ อมูลก็ยิ่งมีความ คลาดเคลื่อนสูง และมีการกระจายมากขึ ้น แต่นนไม่ใช่ปัญหา เพราะความคลาดเคลื่อนสูงๆ คือสิงที่ IPCC ต้ องการ พอเอาข้ อมูลจากพื ้นที่ที่ไม่อ่อนไหว ั่ ่ และจากสิงที่ไม่คอยจะอ่อนไหวต่อความหนาว มาใช้ ร่วมในการวิเคราะห์อณหภูมในอดีต กราฟผลรวมก็เริ่ ม ่ ่ ุ ิ กระจายเป็ นแถบกว้ าง พอลากเส้ นค่าเฉลี่ยผ่านแถบกราฟที่กระจายตัว ก็จะได้ คาเฉลี่ยของอดีตที่คอนข้ าง ่ ่ ราบเรี ยบ เท่านี ้ก็ได้ หลักฐานใหม่วา ในอดีตโลกมีแต่ความเย็นที่คอนข้ างคงที่ ่ ่ โครงการยกร่างประวัตศาสตร์ ภมอากาศโลกฉบับใหม่ เสร็จในปี 1998-1999 จากนันก็เริ่มทาการประชาสัมพันธ์ ิ ู ิ ้ ต่อสาธารณะว่า MWP กับ LIA เป็ นความเข้ าใจในอดีตที่ผดพลาด เพราะจากการประเมินครังใหม่ของ IPCC ิ ้ โดยการสารวจที่ครอบคลุมทั่วโลก ไม่พบช่วงเวลาที่อณหภูมเิ พิมขึ ้นหรื อลดลงผิดปกติ ุ ่ 11
  • 12. อุณหภูมโลกเฉลี่ย 1000 ปี ย้ อนหลัง ใน ิ รายงาน IPCC ฉบับที่ 3 -กราฟ hockey stick (แสดงให้เห็นว่าโลกหนาวเย็นตลอด 1000 ปี ซึ่งขัดแย้งกับข้อเท็จจริ ง) อุณหภูมโลกเฉลี่ย ในรายงานIPCC ิ ฉบับที่ 1 ยังสอดคล้ องกับความรู้ ด้ าน PaleoClimatology ส่วนร่องรอยของ MWP และ LIA ที่มีอยู่ทวไปในยุโรปและอเมริกาเหนือ ก็สรุปว่าเป็ นปรากฏการณ์การ ั่ เปลี่ยนแปลงเฉพาะพื ้นที่ ที่เกิดขึ ้นในบริเวณรอบเขตอาร์ คติก ไม่ใช่ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ ้นทัวโลก เท่านี ้ก็ได้ ่ เหตุผล ที่ไม่ต้องไปลบล้ างคัดค้ านกับหลักฐานเก่าแก่ อันแน่นหนา การที่จะทาให้ ได้ กราฟที่ราบเรี ยบเป็ น Hockey Stick ก็ยงมีรายละเอียดปลีกย่อยหลายอย่าง ที่ต้องดัด ต้ องแต่ง ั ให้ เข้ าที่ ซึ่งเมื่อถูกตรวจสอบ ก็พบให้ มีจดที่โจมตีหลายจุด อีกทัง้ ข้ อมูลในการสร้ าง Hockey Stick ให้ น ้าหนัก ุ ความสาคัญกับข้ อมูลของต้ น Bristlecones Pine สูงเป็ นพิเศษ จนฝ่ ายที่ไม่เห็นด้ วย วิจารณ์วาไม้ Hockey ด้ าม ่ นี ้ สร้ างขึ ้นจากไม้ สน Bristlecones และ ยังพบว่าแค่ตดข้ อมูลของต้ น Bristlecones หรื อ CO2 fertilization ั effect ออก ก็ทาให้ เห็นแนวของ MWP กับ LIA ปรากฏขึ ้นในกราฟได้ รางๆ 13 13 ท่านที่สนใจ โปรดอ่าน McIntyre, Stephen & Ross McKitrick (2005) "Hockey sticks, principal components, and spurious significance", Geophysical Research Letters 32, DOI:10.1029/2004GL021750 หรื อ ที่ http://www.climate2003.com/pdfs/2004GL012750.pdf และเรื่ อง Myth vs. Fact Regarding the "Hockey Stick" ที่ http://www.realclimate.org/index.php?p=11 12
  • 13. เกล็ดเล็กเกล็ดน้ อย ว่ าด้ วย การเต้ าขึนมาของ กราฟไม้ ฮ๊อกกี ้ (Hockey Stick) ้ กราฟ Hockey Stick ทาขึ ้นโดย Michael Mann นักวิทยาศาสตร์ คนสาคัญของ IPCC ในปี 1998 เป็ นการทาการวิจยเพื่อล้ มล้ าง ั ประวัตศาสตร์ โลก แล้ วเขียนขึ ้นใหม่เพื่อแสดงว่ามนุษย์ทาให้ โลก ิ ร้ อนอย่างผิดปกติในศตวรรษปั จจุบนหลังจากที่เผยแพร่ เกิดการ ั โต้ แย้ งอย่างมาก ทังในแง่ของหลักการทางวิทยาศาสตร์ และใน ้ เรื่ องกระบวนการทางสถิตที่ใช้ ในการประมวลสรุปผล ิ ต่อมาสภาคองเกรส ต้ องการข้ อยุติ เพื่อที่จะนาไปเป็ นแนวทางกาหนดนโยบายเกี่ยวกับการแก้ ปัญหาสภาวะโลก ร้ อนของประเทศสหรัฐ สภาคองเกรซ จัดตังทีมตรวจสอบสองทีม ที่ทางานเป็ นอิสระจากกันทีมแรก เป็ นการตรวจสอบกรรมวิธีทางสถิติ ้ ที่ใช้ ในการประมวนผลเป็ นข้ อสรุปนาโดย Edward Wegman นักสถิตศาสตร์ จากมหาวิทยาลัย George Mason ิ ทีมที่สอง ให้ ทาการตรวจสอบข้ อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์ นาโดย Gerald North แห่ง National Academy of Science (NAS) ประกอบด้ วยนักวิทยาศาสตร์ สาขาต่างๆรวม 12 คน ทังสองทีมทาการศึกษาและเข้ าแถลงให้ สภาคองเกรสทราบในเดือนมิถนายน 2006 ้ ุ ผลการตรวจสอบกรรมวิธีทางสถิติ ที่ใช้ ในการประมวลผลเป็ น hockey stick พบความบกพร่องในกรรมวิธีสถิติ ที่มีผลกระทบต่อความเชื่อถือได้ ทีมนักสถิตศาสตร์ ของ Wegman ให้ ข้อแนะนาต่อสภาคองเกรสว่า ิ “ Overall, our committee believes that Dr. Mann’s assessments that the decade of the 1990s was the hottest decade of the millennium and that 1998 was the hottest year of the millennium cannot be supported by his analysis.” เป็ นความเห็นที่น่าจะเรี ยกได้ วา “ไม่ ผ่าน” ่ ในส่วนของทีมนักวิทยาศาสตร์ นน พบความบกพร่องหลายอย่างซึ่งได้ มีการแสดงความเห็นกันไปบ้ างแล้ วใน ั้ ตอนแรกๆ ถ้ าจะกล่าวแบบรวบยอด เพื่อให้ เข้ าใจง่าย ทีมตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์ เชื่ อว่า hockey stick มี ความถูกต้ อง และเชื่อถือได้ “เฉพาะช่วง 400 ปี สดท้ าย”ช่วงเวลาที่เก่ากว่านันถือว่า ยังมีความไม่แน่นอน ุ ้ North แสดงความมันใจในประเด็นที่ทศวรรษท้ ายๆ นี ้ อุ่นที่สดในรอบ 400 ปี ความมันใจในส่วนนี ้ มิใช่ประเด็นที่ ่ ุ ่ เป็ นข้ อโต้ แย้ งทางวิทยาศาสตร์ แต่เมื่อกล่าวถึงประเด็นที่เป็ นข้ อโต้ แย้ งคือ ปั จจุบนอุ่นที่สดในรองพันปี หรื อไม่เขา ั ุ กลับใช้ คาที่มีความหมายอ่อนลงอย่างมาก ว่า “พอเชื่ อได้ ” (plausible) 13
  • 14. “plausible” is another way of saying it doesn’t meet the scientific standards of certainty. That’s because it’s also possible there were major warm periods long ago that don’t show up in the hockey stick data ความเห็นของนักวิทยาศาสตร์ ผลงานของ Mann เชื่อถือได้ ในช่วง 400 ปี สดท้ ายช่วงเวลาที่เก่ากว่านัน ก็มได้ ผิด ุ ้ ิ อย่างชัดเจน แต่มีลกษณะว่า ไม่แน่นอนบทสรุปแบบรวบยอด ต่อผลงานที่มีความสมบูรณ์เฉพาะช่วง 40% ั สุดท้ ายนี ้คณะกรรมการมีความเห็น ไม่เป็ นเอกฉันท์ ให้ ผาน 8 คน ไม่ผาน 4 คน ่ ่ เรื่ องใหญ่ๆ ที่มีผลกระทบมากๆ ในระดับที่เปลี่ยนตาราประวัตศาสตร์ ของโลกการจะเปลี่ยนแปลง น่าจะมี ิ ความเห็นที่เป็ นเอกภาพมากกว่านี ้คณะกรรมการสองกลุ่ม คณะหนึ่งให้ ความเห็น “ไม่ผาน” อีกคณะให้ ผานแบบ ่ ่ “ไม่สมบูรณ์ ” คณะกรรมฝ่ ายวิทยาศาสตร์ เห็นด้ วยเฉพาะช่วง ค.ศ. 1600 เป็ นต้ นมาจนถึงปั จจุบนส่วนที่เก่ากว่านัน ั ้ คณะกรรมการมีความเห็นว่า “ยังมีความไม่แน่นอน” มีความเป็ นไปได้ ที่ช่วงเวลาก่อนหน้ านัน คือช่วง Medieval ้ Warm Period จะร้ อนกว่าปั จจุบน ั ช่วงเวลา Medieval Warm Period นันมีหลักฐานทางโบราณคดีชดเจนว่าไวกิ ้งเคยเข้ าไปตังอาณานิคมที่เกาะ ้ ั ้ กรี นแลนด์ เราคงทราบว่าเกาะกรี นแลนด์ในปั จจุบนนัน ยังหนาวเย็นกันดาร จนคนปั จจุบนที่มีเทคโนโลยี พร้ อม ยังอาศัยอยู่ ั ้ ั อย่างลาบาก แล้ วคนไวกิ ้งเมื่อพันปี ก่อน จะเข้ าไปตังถิ่นฐานทาฟาร์ มบนเกาะกรี นแลนด์ได้ อย่างไร ้ คาตอบคือ Medieval Warm Period นัน น่าเชื่อได้ วาโลกเคยอุ่นกว่าปั จจุบนมากมีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ ้ ่ ั และโบราณคดีสนับสนุน หนักแน่นกว่ากราฟของ Mann มากและก่อนหน้ าที่ Mann จะทา hockey stick ทุกคนก็ เชื่อเช่นนัน ้ 14