SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
0
เสนอ
อาจารย์จิรายุ ทองดี
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
และอาชญากรรมทาง
คอมพิวเตอร์
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Law)
หรือมักเรียกกันว่า "กฎหมายไอที (IT Law) ในเบื้องต้น ที่จาเป็นต้องมีการตรา
กฎหมายขึ้นใช้บังคับ เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ.2541 คณะรัฐมนตรีได้
เห็นชอบต่อการจัดทาโครงการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เสนอโดย
กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม และเห็นชอบให้คณะกรรมการ
เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ กทสช. (NITC)" ทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางและประสาน
งานระหว่างหน่วยงานต่างๆ ที่กาลังดาเนินการจัดทากฎหมายเทคโนโลยี
สารสนเทศและกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Transactions Law)
เพื่อรับรองสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอ
ด้วยกระดาษ อันเป็นการรองรับนิติสัมพันธ์ต่างๆ ซึ่งแต่เดิมอาจจะจัดทา
ขึ้นในรูปแบบของหนังสือให้เท่าเทียมกับนิติสัมพันธ์ รูปแบบใหม่ที่จัดทาขึ้น
ให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ รวม
2. กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Signatures Law)
เพื่อรับรองการใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยกระบวนการใดๆ ทาง
เทคโนโลยีให้เสมอด้วยการลงลายมือชื่อธรรมดา อันส่งผลต่อความเชื่อมั่น
มากขึ้นในการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และกาหนดให้มีการกากับ
ดูแลการให้บริการ เกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ตลอดจนการให้
บริการอื่น ที่เกี่ยวข้องกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
3. กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
(Data Protection Law)
เพื่อก่อให้เกิดการรับรองสิทธิและให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งอาจ
ถูกประมวลผล เปิดเผยหรือเผยแพร่ถึงบุคคลจานวนมากได้ในระยะเวลา
อันรวดเร็ว โดยอาศัยพัฒนาการทางเทคโนโลยี
จนอาจก่อให้เกิดการนาข้อมูลนั้นไปใช้ในทางมิชอบอันเป็นการละเมิดต่อ
เจ้าของข้อมูล
4. กฎหมายเกี่ยวกับการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(Computer Crime Law)
เพื่อกาหนดมาตรการทางอาญาในการลงโทษผู้กระทาผิดต่อระบบการ
ทางานของคอมพิวเตอร์ ระบบข้อมูล และระบบเครือข่าย ทั้งนี้เพื่อเป็น
หลักประกันสิทธิเสรีภาพ และการคุ้มครองการอยู่ร่วมกันของสังคม
5. กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Funds Transfer Law)
เพื่อกาหนดกลไกสาคัญทางกฎหมายในการรองรับระบบการโอนเงินทาง
อิเล็กทรอนิกส์ ทั้งที่เป็นการโอนเงินระหว่างสถาบันการเงิน และระบบการ
ชาระเงินรูปแบบใหม่ในรูปของเงินอิเล็กทรอนิกส์ก่อให้เกิดความเชื่อมั่นต่อ
ระบบการทาธุรกรรมทางการเงิน และการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
มากยิ่งขึ้น
6. กฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้
ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน (National Information Infrastructure Law)
เพื่อก่อให้เกิดการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
สารสนเทศ อันได้แก่ โครงข่ายโทรคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ
และโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศสาคัญอื่นๆ อันเป็นปัจจัยพื้นฐานสาคัญใน
การพัฒนาสังคมและชุมชนโดยอาศัยกลไกของรัฐ ซึ่งรองรับเจตนารมณ์
สาคัญประการหนึ่งของแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญ
มาตรา 78 ในการกระจายสารสนเทศให้ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crime)
การประกอบอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ได้ก่อให้เกิดความเสียหายต่อ
เศรษฐกิจของประเทศจานวนมหาศาล
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์จึงจัดเป็นอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ หรือ
อาชญากรรมทางธุรกิจรูปแบบหนึ่งที่มีความสาคัญ
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็ น 4 ลักษณะ คือ
1. การเจาะระบบรักษาความปลอดภัย ทางกายภาพ ได้แก่ ตัวอาคาร
อุปกรณ์และสื่อต่างๆ
2. การเจาะเข้าไปในระบบสื่อสาร และการ รักษาความปลอดภัยของ
ซอฟต์แวร์ข้อมูลต่างๆ
3. เป็นการเจาะเข้าสู่ระบบรักษาความปลอดภัย ของระบบปฏิบัติการ
4. เป็นการเจาะผ่านระบบรักษาความปลอดภัยส่วนบุคคลโดย
ใช้อินเตอร์เน็ตเป็นช่องทางในการกระทาความผิด
Cracker หมายถึง ผู้ที่มีความรู้และทักษะทางคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดีจน
สามารถเข้าสู่ระบบได้ เพื่อเข้าไปทาลายหรือลบแฟ้ มข้อมูล หรือทาให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ เสียหายรวมทั้งการทาลายระบบปฏิบัติการของเครื่อง
คอมพิวเตอร์
Hacker หมายถึง บุคคลผู้ที่เป็นอัจฉริยะ มีความรู้ในระบบ
คอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี สามารถเข้าไปถึงข้อมูลในคอมพิวเตอร์
โดยเจาะผ่านระบบ รักษาความปลอดภัยของคอมพิวเตอร์ได้ แต่
อาจไม่แสวงหาผลประโยชน์
วิธีการประกอบอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
- Data Diddling คือ การเปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาต
- Trojan Horse เป็นการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่แฝงไว้ในโปรแกรมที่มี
ประโยชน์ เมื่อถึงเวลาโปรแกรมที่ไม่ดีจะปรากฏตัวขึ้นเพื่อทาลายข้อมูล
- Data Leakage หมายถึงการทาให้ข้อมูลรั่วไหลออกไปโดยตั้งใจหรือไม่ก็
ตาม
- Wiretapping เป็นการลักลอบดักฟังสัญญาณการสื่อสารโดยเจตนา
- Trap Doors เป็นการเขียนโปรแกรมที่เลียนแบบคล้ายหน้าจอปกติของ
ระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อลวงผู้ที่มาใช้คอมพิวเตอร์ ทาให้ทราบถึงรหัส
ประจาตัวหรือรหัสผ่าน โดยโปรแกรมนี้จะเก็บข้อมูลที่ต้องการไว้ในไฟล์ลับ
- Impersonation คือ การที่คนร้ายปลอมเป็นบุคคลอื่นที่มีอานาจหรือได้รับ
อนุญาต
- Hacking คือ การเจาะระบบหมายถึงการเข้าไปในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
โดยไม่ได้รับอนุญาต
ประเภทของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
1.การเงิน – อาชญากรรมที่ขัดขวางความสามารถขององค์กรธุรกิจใน
การทาธุรกรรม อี-คอมเมิร์ซ(หรือพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์)
2.การละเมิดลิขสิทธิ์ – ในปัจจุบันคอมฯส่วนบุคคลและอินเทอร์เน็ตถูกใช้
เป็นสื่อในการก่ออาชญากรรมโดยการโจรกรรมทางออนไลน์ ที่
เกี่ยวข้องกับการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อจาหน่ายหรือเผยแพร่ผลงาน
สร้างสรรค์ที่ได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์
3.การเจาะระบบ – การให้ได้มาซึ่งสิทธิในการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์
หรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต นอกจากนี้การเจาะระบบยังอาจรองรับ
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นๆ (เช่น การปลอมแปลง การ
ก่อการร้าย ฯลฯ)
4.การก่อการร้ายทางคอมพิวเตอร์ – ผลสืบเนื่องจากการเจาะระบบ
โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความหวาดกลัว เช่นเดียวกับการก่อการร้าย
ทั่วไป โดยการกระทาที่เข้าข่ายการก่อการร้ายทางอิเล็กทรอนิกส์
5.ภาพอนาจารทางออนไลน์ – การประมวลผลหรือการเผยแพร่ภาพ
ลามกอนาจารในรูปแบบใดๆ แก่เยาวชนถือเป็นการกระทาที่ขัดต่อกฎหมาย
6.ภายในโรงเรียน – แต่เยาวชนจาเป็นต้องได้รับทราบเกี่ยวกับวิธีการใช้
งานเครื่องมือนี้อย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบ
โดยเป้ าหมายหลักคือ เพื่อกระตุ้นให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับข้อกาหนดทาง
กฎหมาย สิทธิของตนเอง และวิธีที่เหมาะสมในการป้ องกันการใช้
อินเทอร์เน็ตในทางที่ผิด
พระราชบัญญัติการทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์2550
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ
โปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า
โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้
โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้
 มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้ เรียกว่า "พระราชบัญญัติว่าด้วยการ
กระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐“
 มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนดสามสิบวันนับ
แต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
 มาตรา ๑๓ ผู้ใดจาหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคาสั่งที่จัดทาขึ้นโดยเฉพาะ
เพื่อนาไปใช้เป็นเครื่องมือในการกระทาความผิดตามมาตรา ๕ ถึง
มาตรา ๑๑ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่น
บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
 มาตรา ๒๒ ห้ามมิให้พนักงานเจ้าหน้าที่เปิดเผยหรือส่งมอบ
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลของ
ผู้ใช้บริการ ที่ได้มาตามมาตรา ๑๘ ให้แก่บุคคลใด
 มาตรา ๒๘ การแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้
รัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้มีความรู้และความชานาญเกี่ยวกับระบบ
คอมพิวเตอร์และมีคุณสมบัติตามที่รัฐมนตรีกาหนด
 มาตรา ๓๐ ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตร
ประจาตัวต่อบุคคลซึ่งเกี่ยวข้อง บัตรประจาตัวของพนักงานเจ้าหน้าที่
ให้เป็นไปตามแบบที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
สมาชิก
นายศิวกร เรืองแสน
เลขที่ 7 ชั้น ม.5/7
หน้าที่ : นาเสนอและแผ่นพับ
นางสาวนวพร หวังไชยะ
เลขที่ 17 ชั้น ม.5/7
หน้าที่ : นาเสนอและแผ่นพับ
นางสาวคณิตา เซาะวิเศษ
เลขที่ 20 ชั้น ม.5/7
หน้าที่ : สร้างสื่อนาเสนอและเผยแพร่ข้อมูล
นางสาววาสนา ศรีวิเศษ
เลขที่ 21 ชั้น ม.5/7
หน้าที่ : สร้างสื่อนาเสนอและเผยแพร่ข้อมูล
นางสาวสุดาทิพย์ รื่นสุภาพ
เลขที่ 22 ชั้น ม.5/7
หน้าที่ : จัดทาเล่มรายงาน

More Related Content

Similar to กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์

Chapter 5 ec_law
Chapter 5 ec_lawChapter 5 ec_law
Chapter 5 ec_lawAj'wow Bc
 
Chapter 5 ec law
Chapter 5 ec lawChapter 5 ec law
Chapter 5 ec lawAj'wow Bc
 
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010ICT2020
 
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ พิมพ์ครั้งที่ 7 ฉบับปรุบปรุง
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ พิมพ์ครั้งที่ 7 ฉบับปรุบปรุงกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ พิมพ์ครั้งที่ 7 ฉบับปรุบปรุง
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ พิมพ์ครั้งที่ 7 ฉบับปรุบปรุงETDAofficialRegist
 
E commerceกฏหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
E commerceกฏหมายเทคโนโลยีสารสนเทศE commerceกฏหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
E commerceกฏหมายเทคโนโลยีสารสนเทศanusorn kraiwatnussorn
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์Thalatchanan Netboot
 
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์KruKaiNui
 
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์bomch
 
A12: Ramchamhang University | Law and Technology (5 Aug 2019)
A12: Ramchamhang University | Law and Technology (5 Aug 2019)A12: Ramchamhang University | Law and Technology (5 Aug 2019)
A12: Ramchamhang University | Law and Technology (5 Aug 2019)Kullarat Phongsathaporn
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศNawanan Theera-Ampornpunt
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศNawanan Theera-Ampornpunt
 
พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์ พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์ Vi Vik Viv
 
พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์ พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์ Vi Vik Viv
 

Similar to กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (20)

Chapter 5 ec_law
Chapter 5 ec_lawChapter 5 ec_law
Chapter 5 ec_law
 
Chapter 5 ec law
Chapter 5 ec lawChapter 5 ec law
Chapter 5 ec law
 
Lesson7
Lesson7Lesson7
Lesson7
 
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
 
200809026 Thai E Commerce Government
200809026 Thai E Commerce Government200809026 Thai E Commerce Government
200809026 Thai E Commerce Government
 
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ พิมพ์ครั้งที่ 7 ฉบับปรุบปรุง
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ พิมพ์ครั้งที่ 7 ฉบับปรุบปรุงกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ พิมพ์ครั้งที่ 7 ฉบับปรุบปรุง
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ พิมพ์ครั้งที่ 7 ฉบับปรุบปรุง
 
E commerceกฏหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
E commerceกฏหมายเทคโนโลยีสารสนเทศE commerceกฏหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
E commerceกฏหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่10
บทที่10บทที่10
บทที่10
 
บทที่10
บทที่10บทที่10
บทที่10
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
 
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
A12: Ramchamhang University | Law and Technology (5 Aug 2019)
A12: Ramchamhang University | Law and Technology (5 Aug 2019)A12: Ramchamhang University | Law and Technology (5 Aug 2019)
A12: Ramchamhang University | Law and Technology (5 Aug 2019)
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
พรบคอม(1)
พรบคอม(1)พรบคอม(1)
พรบคอม(1)
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์ พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์
 
Ict
IctIct
Ict
 
Law & Complaints in the Digital Age
Law & Complaints in the Digital AgeLaw & Complaints in the Digital Age
Law & Complaints in the Digital Age
 
พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์ พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์
 

กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์