SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
1
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
บทที่ 10
อินเตอร์เน็ต
2
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
อินเตอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต(Internet) คือ เครือข่ายนานาชาติ ที่เกิดจากเครือข่ายขนาดเล็กมากมาย รวมเป็น
เครือข่ายเดียวทั้งโลก หรือเครือข่ายสื่อสาร ซึ่งเชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ที่ต้องการ
เข้ามาในเครือข่าย สาหรับคาว่า internet หากแยกศัพท์จะได้มา 2 คา คือ คาว่า Inter และ
คาว่า net ซึ่ง Inter หมายถึงระหว่าง หรือท่ามกลาง และคาว่า Net มาจากคาว่า Network
หรือเครือข่าย เมื่อนาความหมายของทั้ง 2 คามารวมกัน จึงแปลว่า การเชื่อมต่อกันระหว่าง
เครือข่าย IP (Internet protocal) Addressคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อกันใน internet
ต้องมี IP ประจาเครื่อง ซึ่งIP นี้มีผู้รับผิดชอบคือ IANA (Internet assigned number
authority) ซึ่งเป็นหน่วยงานกลางที่ควบคุมดูแล IPV4 ทั่วโลก เป็น Public address ที่ไม่ซ้า
กันเลยในโลกใบนี้ การดูแลจะแยกออกไปตามภูมิภาคต่าง ๆ สาหรับทวีปเอเชียคือ APNIC
(Asia pacific network information center) แต่การขอIP address ตรง ๆ จาก APNIC
ดูจะไม่เหมาะนัก เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ เชื่อมต่อด้วย Router ซึ่งทาหน้าที่บอก
เส้นทาง ถ้าท่านมีเครือข่ายของตนเองที่ต้องการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ก็ควรขอ IP address
จาก ISP (Internet Service Provider) เพื่อขอเชื่อมต่อเครือข่ายผ่าน ISP และผู้ให้บริการก็
จะคิดค่าใช้จ่ายในการเชื่อมต่อตามความเร็วที่ท่านต้องการ เรียกว่า Bandwidth เช่น
2 Mbps แต่ถ้าท่านอยู่ตามบ้าน และใช้สายโทรศัพท์พื้นฐาน ก็จะได้ความเร็วในปัจจุบันไม่เกิน
56 Kbps ซึ่งเป็น speed ของMODEM ในปัจจุบันทIP address คือเลข 4 ชุด หรือ
4 Byte เช่น 203.158.197.2 หรือ 202.29.78.12 เป็นต้น
3
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
อินเตอร์เน็ต
แต่ถ้าเป็นสถาบันการศึกษาโดยทั่วไปจะได้ IP มา 1Class C เพื่อแจกจ่ายให้กับ Host ใน
องค์กรได้ใช้ IP จริงได้ถึง 254 เครื่อง เช่น 203.159.197.0 ถึง 203.159.197.255 แต่ IP แรก
และ IP สุดท้ายจะไม่ถูกนามาใช้ จึงเหลือ IP ให้ใช้ได้จริงเพียง 254 หมายเลข
1 Class C หมายถึง Subnet mask เป็น 255.255.255.0 และแจก IP จริงในองค์กรได้
สูงสุด 254
1 Class B หมายถึง Subnet mask เป็น 255.255.0.0 และแจก IP จริงในองค์กรได้สูงสุด
66,534
1 Class A หมายถึง Subnet mask เป็น 255.0.0.0 และแจก IP จริงในองค์กรได้สูงสุด
16,777,214
4
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ISP
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต คืออะไร ISP คือ บริษัทที่ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ซึ่งบางครั้งเรียก
ISPs ก็มีความหมายอย่างเดียวกัน-ผู้เขียน) ย่อมาจากคาว่า Internet Service Provider
ตามหนังสือศัพท์คอมพิวเตอร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พิมพ์ครั้งที่ 4 ได้ระบุความหมายว่า
หมายถึง “ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต” ISPเป็นหน่วยงานที่บริการให้เชื่อมต่อเครื่อง
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของบริษัท เข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ทั่วโลก ในปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตอยู่ด้วยกัน 2 ประเภท คือ
หน่วยงานราชการหรือสถาบันการศึกษา กับบริษัทผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ทั่วไป
ISP ที่เป็นหน่วยงานราชการ หรือสถาบันการศึกษา มักจะเป็นการให้บริการฟรีสาหรับ
สมาชิกขององค์การเท่านั้น แต่สาหรับ ISPประเภทที่ให้บริการในเชิงพาณิชย์ ผู้ใช้ที่ต้องการ
ใช้งานอินเทอร์เน็ตจะต้องสมัครเข้าเป็นสมาชิกของ ISP รายนั้นๆ ซึ่งต้องเสียค่าใช้จ่ายต่าง
ๆ ในการใช้งานอินเทอร์เน็ต ซึ่งอัตราค่าบริการจะขึ้นอยู่กับ ISP แต่ละราย ข้อดีสาหรับ
ผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตในเชิงพาณิชย์ก็คือ การให้บริการที่มีหลากหลายรูปแบบ หรือไม่
ดาเนินธุรกิจด้านนี้มากี่ปี มีสมาชิกใช้บริการมากน้อยขนาดไหน มีการขยายสาขาเพื่อ
ให้บริการไปยังต่างจังหวัดหรือไม่ มีการลงทุนที่จะพัฒนาการให้บริการมากน้อยเพียงใด
เป็นต้น ประสิทธิภาพของตัวระบบ ก็เป็นส่วนสาคัญที่เราจาเป็นต้องพิจารณาด้วย เช่น
ความเร็วในการรับ/ส่ง สม่าเสมอหรือไม่ (บางครั้งเร็วบางครั้งช้ามาก) สายโทรศัพท์ต้นทาง
หลุดบ่อยหรือไม่ หรือในบางกรณีที่เรากาลังถ่ายโอนข้อมูล
5
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ISP
ซึ่งรองรับกับความต้องการของผู้ใช้ที่แตกต่างกัน มีทั้งรูปแบบส่วนบุคคล ซึ่งจะให้บริการกับ
ประชาชนทั่วไปที่ต้องการใช้งานอินเทอร์เน็ต และบริการในรูปแบบขององค์กร หรือบริษัท
ซึ่งให้บริการกับบริษัทห้างร้าน หรือองค์กรต่าง ๆ ที่ต้องการให้พนักงานในองค์กรได้ใช้งาน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ISP จะเป็นเสมือนตัวแทนของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อเข้าถึง
แหล่งข้อมูลต่าง ๆ ถ้าผู้ใช้อินเทอร์เน็ตต้องการข้อมูลอะไรก็สามารถติดต่อผ่าน ISP ได้ทุก
เวลา โดยวิธีการสมัครสมาชิกนั้น เราสามารถโทรศัพท์ติดต่อไปยัง ISP ที่ให้บริการต่าง ๆ
ซึ่งเราสามารถเลือกรับบริการได้ 2 วิธี คือ ซื้อชุดอินเทอร์เน็ตสาเร็จรูปตามร้านทั่วไปมาใช้
และสมัครเป็นสมาชิกรายเดือน โดยใช้วิธีการติดต่อเข้าไปยัง ISP โดยตรง ซึ่งวิธีการ และ
รายละเอียดในการให้บริการของแต่ละที่นั้นจะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับรูปแบบการ
ให้บริการของ ISP รายนั้น ๆ จะกาหนด ในการเลือก ISP นั้น ต้องพิจารณาความ
เหมาะสมในการใช้งานของเราเป็นหลัก โดยมีหลักในการพิจารณาหลายอย่างด้วยกัน เช่น
ความน่าเชื่อถือของผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตว่ามีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับหรือไม่ ดาเนินธุรกิจ
ด้านนี้มากี่ปี มีสมาชิกใช้บริการมากน้อยขนาดไหน มีการขยายสาขาเพื่อให้บริการไปยัง
ต่างจังหวัดหรือไม่ มีการลงทุนที่จะพัฒนาการให้บริการมากน้อยเพียงใด เป็นต้น
ประสิทธิภาพของตัวระบบ ก็เป็นส่วนสาคัญที่เราจาเป็นต้องพิจารณาด้วย เช่น ความเร็วใน
การรับ/ส่ง สม่าเสมอหรือไม่ (บางครั้งเร็วบางครั้งช้ามาก) สายโทรศัพท์ต้นทางหลุดบ่อย
หรือไม่ หรือในบางกรณีที่เรากาลังถ่ายโอนข้อมูล
.
6
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
มายังเครื่องคอมพิวเตอร์ปรากฏว่าใช้งานไม่ได้ การเชื่อมต่อไปยังต่างประเทศ ไปที่ใดบ้างด้วยความเร็วเท่าไหร่
และการเชื่อมต่อกับผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศเป็นอย่างไร มีสายสัญญาณหลักที่เร็ว หรือมีประสิทธิภาพสูง
มากเพียงใด เพราะปัจจัยเหล่านี้จะมีผลต่อความเร็วในการใช้อินเทอร์เน็ตด้วย งานหลักของ ISP ISP :
Internet Service Provider คือ บริษัทที่ให้บริการทางด้านอินเทอร์เน็ต เป็นเสมือนตัวแทนของผู้ใช้
อินเทอร์เน็ตเพื่อเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ถ้าผู้ใช้อินเทอร์เน็ตต้องการข้อมูลอะไรก็สามารถติดต่อผ่าน ISP ได้
ทุกเวลา ตลอด 24 ชั่วโมง โดยการเลือก ISP นั้น ต้องพิจารณาความเหมาะสมในการใช้งานของเราเป็นหลัก
รวมถึงค่าบริการก็เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่เราต้องคานึงถึง โดยหลักการพิจารณา ISP นั้น เราต้องดูว่า ISP มี
สายสัญญาณหลักที่เร็ว หรือมีประสิทธิภาพสูงมากเพียงใด มีสมาชิกใช้บริการมากน้อยขนาดไหน เพราะปัจจัย
เหล่านี้จะมีผลต่อความเร็วในการใช้อินเทอร์เน็ตด้วย โดยวิธีการสมัครสมาชิกนั้น เราสามารถโทรศัพท์ติดต่อไป
ยัง ISP ที่ให้บริการต่าง ๆ ซึ่งเราสามารถเลือกรับบริการได้ 2 วิธี คือ ซื้อชุดอินเทอร์เน็ตสาเร็จรูปตามร้านทั่วไป
ไปใช้ และสมัครเป็นสมาชิกรายเดือน โดยใช้วิธีการติดต่อเข้าไปยัง ISP โดยตรง ซึ่งวิธีการ และรายละเอียดใน
การให้บริการของแต่ละที่นั้นจะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับรูปแบบการให้บริการของ ISP รายนั้น ๆ จะกาหนด
หน้าที่โดยทั่วไปของ ISP ก็อย่างที่บอกแต่แรกว่าคาว่า ISP มีหลายความหมาย หลายบทบาท ซึ่งแต่ละบทบาท
นั้นความรับผิดก็จะแตกต่างกันออกไป ในที่นี้จะขอกล่าวถึงในความหมายที่เข้าใจกันโดยทั่วไป คือ ผู้ให้บริการ
อินเทอร์เนตโดยจะรวมไปถึงบริการ Webhosting ซึ่งหมายถึง บริการให้เช่าพื้นที่ Website และผู้ที่ทาหน้าที่
ดูแล Webboard สาธารณะ โดยอาจรวมถึง Webmaster ที่มีความรับผิดชอบโดยตรงกับข้อมูลที่ปรากฏบน
เว็บด้วย หน้าที่หลักๆของ ISP ก็คือ การให้บริการทางอินเทอร์เน็ต การดูแล Website การตรวจสอบ
ข้อมูลที่จะผ่านออกไปลงในเว็บ .
ISP
7
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ความเป็นมาของ
อินเตอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย เริ่มต้นเมื่อปีพ.ศ.2530(ค.ศ.1987) โดยการเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์
ระหว่างมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(http://www.psu.ac.th)และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย
(http://www.ait.ac.th) ไปยังมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย(http://www.unimelb.edu.au)
แต่ครั้งนั้นยังเป็นการเชื่อมต่อโดยผ่านสายโทรศัพท์ (Dial-up line) ซึ่งสามารถส่งข้อมูลได้ช้า และไม่
เสถียร จนกระทั่ง ธันวาคม ปีพ.ศ.2535 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
(NECTEC) ได้ทาการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย 6 แห่ง เข้าด้วยกัน (Chula, Thammasat,
AIT, Prince of Songkla, Kasetsart and NECTEC) โดยเรียกเครือข่ายนี้ว่า ไทยสาร
(http://www.thaisarn.net.th) และขยายออกไปในวงการศึกษา หรือไม่ก็การวิจัย การขยายตัวเป็นไป
อย่างต่อเนื่องจนเดือนกันยายน ปี พ.ศ.2537 มีสถาบันการศึกษาเข้าร่วมถึง 27 สถาบัน และความ
ต้องการใช้อินเทอร์เน็ตของเอกชนมีมากขึ้น การสื่อสารแห่งประเทศไทย (http://www.cat.or.th) เปิด
โอกาสให้ภาคเอกชน สามารถเป็นผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ISP - Internet Service Provider) และเปิด
ให้บริการแก่บุคคลทั่วไป สามารถเชื่อมต่อ Internet ผ่านผู้ให้บริการที่ได้รับอนุญาตจาก
การสื่อสารแห่งประเทศไทย
8
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
อินเตอร์เน็ตเชื่อมกัน
อย่างไร
เนื่องจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเหมือนร่างแหที่แผ่ไปทั่ว จึงมีจุดที่จะเชื่อมต่อเข้ามาได้มากมาย
โดยผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่ออยู่เดิม ซึ่งผู้ที่รับการเชื่อมต่อก็จะต้องลงทุนอุปกรณ์
เครื่องมือรวมถึงค่าสัมปทานจากรัฐ (ขึ้นกับกฎหมายของแต่ละประเทศ ) จึงต้องคิดค่าบริการจาก
คนที่มาต่อผ่านตามสมควร ผู้ให้บริการเชื่อมต่อนี้ก็คือ ISP นั่นเอง ซึ่งแต่ละรายก็เก็บค่าบริการ
ไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับลักษณะการเชื่อมต่อและเงื่อนไขบริการแก่คนอื่นๆ ฯลฯหรือบางรายก็
ให้บริการฟรีแก่ลูกค้า เช่น สถาบันการศึกษาทาตัวเป็น ISP ให้นักศึกษาในสังกัดใช้
อินเทอร์เน็ตฟรี หรือบริษัท ทศท คอร์ปอเรชั่น ให้บริการอินเทอร์เน็ตฟรีแก่ลูกค้าที่ใช้หมายเลข
โทรศัพท์ของตน เป็นต้น สาหรับ ISP เองนั้นก็ต้องเชื่อมต่อกันเป็นทอดๆ เพื่อหาช่องทางที่
จะเข้าสู่อินเทอร์เน็ตให้เหมาะกับลักษณะธุรกิจของตน เช่น ISP รายย่อยในต่างจังหวัดต่อเข้ามา
ผ่านISP รายใหญ่ในกรุงเทพหรือ ISP ในประเทศต่อออกไปที่ ISP ใหญ่ในต่างประเทศ โดยมี
การเก็บค่าบริการกันเป็นทอดๆแล้วแต่ว่าใครจะต่อกับใคร จะต่อหลายทางพร้อมๆกันเพื่อเพิ่ม
ความเร็วและเป็นช่องทางสารองก็ได้ แต่ก็มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น ซึ่งการดาเนินงานของ ISP ใน
ต่างประเทศเองก็ไม่ผูกขาด เพราะมีทากันหลายๆรายและหากมีลูกค้าผู้ใช้งานมากพอก็อาจมีผู้
ลงทุนตั้ง ISP รายใหม่ วางสายและสร้างเครือข่ายเพิ่มได้อีก
9
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
โปรโตคอล : กติกาของอินเทอร์เน็ต
การทางานต่างๆ ในอินเทอร์เน็ตจะสอดคล้องกันได้ก็ต้องมีกติกาที่ทุกเครื่อง ทุกโปรแกรม รับรู้
และทาตามเป็นแบบหรือมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก ซึ่งบนอินเทอร์เน็ตมีกติกาเหล่านี้มากมายสาหรับแต่
ละเรื่อง เรียกว่า “โปรโตคอล” (Protocol)
โปรโตคอล
10
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
TCP/IP
TCP/IP กับ IP Address
เป็นกติกาหลักในการรับส่งข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต ข้อมูลทุกรูปแบบไม่ว่าจากโปรแกรมโดก็ต้อง
แปลงให้อยู่ในมาตรฐานของ TCP/IP เสียก่อนจึงจะรับส่งได้กติกานี้กาหนดวิธี ขั้นตอนในการรับส่ง
ข้อมูล และตรวจสอบความถูกต้องอย่างรัดกุม
ส่วนที่เกี่ยวข้องกับผู้ใช้ ก็คือ การเรียกชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่อกับอินเทอร์เน็ต ซึ่งทาง
เทคนิคเรียกว่า “ที่อยู่ IP” หรือ IP address เป็นตัวเลขล้วน ๆ 4 ชุด แต่ละชุดมีค่าระหว่าง 0-255 คั่น
ด้วยจุด เช่น 202.56.159.90 หรือ 203.107.136.7 เป็นต้อน ซึ่งจะตั้งชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ได้นับ
พันล้านเครื่องโดยไม่ซ้ากัน
11
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
โดเมน
Domain Name (โดเมน) คือ ชื่อเว็บไซต์ (www.yourdomain.com) ที่ท่านสามารถเป็น
เจ้าของ ซึ่งจะต้องไม่ซ้ากับคนอื่น เพื่อการเรียกหาเว็บไซต์ที่ต้องการ "ชื่อเว็บไซต์" คือ สิ่ง
แรกที่แสดง หรือ ประกาศความมีตัวตนบนอินเตอร์เน็ตให้คนทั่วไปได้รู้จัก สามารถมีได้ชื่อ
เดียวในโลกเท่านั้น เช่น www.gict.co.th เมื่อผู้ใช้กรอกชื่อลงไปในช่อง Address ของ
Internet Explorer ก็จะส่งชื่อไปร้องถามจากเครื่องแปลชื่อ โดเมน (Domain Name
Server) และได้รับกลับมาเป็นไอพีแอดเดรส (Internet Protocol) แล้วส่งคาร้องไปให้กับ
เครื่องปลายทางตามไอพีแอดเดรส และได้ข้อมูลกลับมาตามรูปแบบที่ร้องขอไป
12
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
DNS
ประวัติความเป็นมาของระบบ DNS
ในช่วงศตวรรษที่ 90 ในขณะที่การใช้งานอีเมลล์เริ่มเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย จานวนเครือข่ายที่เชื่อมต่อ
มายังเครือข่าย ARPA NET ได้เพิ่มจานวนสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว จนทาให้บริการเครือข่ายแบบรวมศูนย์ของ
SRI ( The NIC ) เริ่มประสบปัญหาในการจัดการระบบฐานข้อมูลซึ่งใช้ในการอ้างอิงถึงโฮสท์ที่เชื่อมต่อมา
จากเครือข่ายอิสระต่างๆ ที่มีโครงสร้างการทางานที่แตกต่างกัน โดยในขณะนั้น การเพิ่มรายชื่อโฮสท์แต่
ละเครื่องเข้ามาในเครือข่าย ARPA NET จาเป็นต้องส่งข้อมูลโดยการ FTP เข้ามาปรับปรุงข้อมูลในไฟล์
Host Table ที่ SRI เป็นผู้ดูแล ซึ่งจะมีการปรับปรุงข้อมูลเพียงสัปดาห์ละ 2 ครั้งเท่านั้น ทาให้การจัดการ
ข้อมูลมีความล่าช้าและไม่ยืดหยุ่น นอกจากนี้เครือข่ายต่างๆ ที่เข้ามาเชื่อมต่อต่างก็ต้องการอิสระในการ
จัดการบริหารระบบของตนเองจึงเกิดแนวความคิดที่กระจายความรับผิดชอบในการจัดระบบนี้ออกไป โดย
แบ่งการจัดพื่นที่ของโลกเสมือนนี้ออกเป็นส่วนๆ โดยกาหนดให้โฮสท์แต่ละเครื่องอยู่ภายใต้ขอบเขตพื้นที่
ใดพื้นที่หนึ่งที่ได้แบ่งเอาไว้ โดยแต่ละพื้นที่สามารถแบ่งออกเป็นพ้นที่ที่เล็กลงได้อย่างไม่จากัด ซึ่งพื้นที่
แต่ละส่วน ก็ถูกอ้างไปยังพื้นที่ที่ใหญ่กว่าเป็นลาดับชั้นขึ้นไป เพื่อให้สามารถระบุตาแหน่งอ้างอิงของโฮสท์
แต่ละเครื่องที่อยู่ภายใต้ขอบเขตของแต่ละพื้นที่ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว โดยพื้นที่เสมือนแต่ละส่วนถูก
เรียกว่า “ โดเมน” (Domain) และเรียกการอ้างระบบอ้างอิงเป็นลาดับชั้นด้วยชื่อของแต่ละพื้นที่หรือ
โดเมนนี้ว่า “ ระบบชื่อโดเมน ” ( Domain Name System) ส่วนพื้นที่ทั้งหมดของโลกเสมือนที่
ประกอบด้วยพื้นที่ย่อยๆจานวนมากนี้ จะเรียกว่า “Domain Name Space”
13
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
DNSคืออะไร ระบบ Domain Name System (DNS) นี้เป็นระบบจัดการแปลงชื่อไปเป็นหมายเลข IP
address โดยมีโครงสร้างฐานข้อมูลแบบลาดับชั้นเพื่อใช้เก็บข้อมูลที่เรียกค้นได้อย่างรวดเร็ว
nกลไกหลักของระบบ DNS คือ ทาหน้าที่แปลงข้อมูลชื่อและหมายเลข IP address หรือทากลับกันได้
นอกจากนี้ยังมีฟังก์ชันเพิ่มเติมอื่นๆ อีก เช่น แจ้งชื่อของอีเมล์เซิร์ฟเวอร์ใน domain ที่รับผิดชอบด้วย
ในระบบ DNS จะมีการกาหนด name space ที่มีกฎเกณฑ์อย่างชัดเจน มีกลไกการเก็บข้อมูลเป็น
ฐานข้อมูลแบบกระจาย ทางานในลักษณะของไคลเอนต์เซิร์ฟเวอร์ (Client/Server)
การทางานของระบบ DNS
การทางานของระบบชื่อโดเมนนั้น เริ่มต้นจากเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งทาหน้าที่เป็น DNS Server ซึ่ง
ทางานด้วยซอฟแวร์พิเศษชื่อว่า BIND ที่ทาหน้าที่ในการรับส่งข้อมูลระหว่าง DNS Server แต่ละ
เครื่องผ่าน DNS Photocal เมื่อมีคาร้องขอให้สืบค้นหมายเลข ไอพี อย่างไรก็ตาม คาตอบที่ DNS
Server จะมีให้ก็ต่อคาร้องหนึ่งๆนั้นขันกับว่า DNS Server นั้นเป็น DNS Server ประเภทใด ซึ่ง
สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ
1. Name Server
2. Resolver
การตั้งชื่อให้ DNS ต้องเป็นไปตามกฏนี้
ใช้ได้เฉพาะตัวอักษรละติน (ASCII character set) ใน RFC 1035 ระบุว่าสัญลักษณ์ที่ใช้ได้ใน
โดเมนเนม คือ
(1) ตัวอักษร a ถึง z (case insensitive - ไม่สนใจพิมพ์เล็ก พิมพ์ใหญ่)
(2) เลข 0 ถึง 9
(3) เครื่องหมายยติภังค์ (-)
DNS
14
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
website
Web (ใยแมงมุม) และ Site(โครงข่าย) หรือเรียกว่า "โครงข่ายในแมงมุม" ซึ่งหมายถึง กลุ่มของเว็บ
เพจที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กัน ประกอบไปด้วย เว็บเอกสาร(Web Documents) และสื่อประสมต่าง ๆ
เช่น ภาพ เสียง ข้อความ เป็นต้น ซึ่งอาจเรียกเอกสารต่าง ๆ เหล่านี้ว่า เว็บเพจ (Web Page) และเรียก
เว็บหน้าแรกของแต่ละเว็บไซต์ว่า โฮมเพจ (Home Page) หรืออาจกล่าวได้ว่า เว็บไซต์ก็คือเว็บเพจ
อย่างน้อยสองหน้าที่มีลิงก์ (Links) เชื่อมต่อถึงกัน
โฮมเพจ (Home Page) คือ หน้าแรกที่เข้าสู่เว็บไซต์นั้น ๆ
เว็บเพจ (Web Page) คือ หน้าแต่ละหน้าที่มีการเชื่อมโยงถึงกัน
15
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
HTTP
HTTP(HyperText Transfer Protocol)
HTTP เป็นกลไกหรือโปรโตคอลหลักที่ใช้แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างเซิร์ฟเวอร์และไคลเอนต์ของ
เวิลด์ไวด์เว็บ โดยถูกออกแบบมาให้มีความกระทัดรัด สามารถทางานได้รวดเร็ว มีกระบวนการทางานที่ไม่
ซับซ้อน และมีคาสั่งที่ใช้งานไม่มากนัก แต่สามารถรองรับข้อมูลได้ทุกแบบ ไม่ว่าเป็นข้อมูลทั่วไปที่เข้ารหัส
แบบ MIME หรือข้อมูลที่เป็นกราฟิก
หลักการทางานทั่วๆไปของ HTTP คือ จะแบบการทางานออกเป็น 2 ด้านคือ ด้านเว็บเซิร์ฟเวอร์ และด้าน
ไคลเอนต์ โดยไคลเอนต์จะติดต่อเข้ามายังเซิร์ฟเวอร์โดยใช้โปรแกรมบราวเซอร์ และอ้างถึงแอดเดรสของ
เซิร์ฟเวอร์โดยใช้รูปแบบของ URL ส่วนด้านเซิร์ฟเวอร์จะส่งข้อมูลกลับมาในรูปแบบที่เป็น HTML โดยที่
โปรโตคอล HTTP ใช้วิธีการเข้ารหัสในแบบ MIME เป็นมาตรฐานของการทางาน
โครงสร้างข้อมูลของ HTTP จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆคือ ส่วนเฮดเดอร์ หรือเรียกว่า metadata จะเป็น
ส่วนเก็บข้อมูลที่จาเป็นต้องใช้ภายในโปรโตคอล ส่วนที่สองเป็นส่วนข้อมูลจริงที่ต้องการรับส่ง ทั้งนี้ HTTP
ถูกออกแบบมาให้สามารรับส่งข้อมูลผ่าน Proxy หรือ Firewall ต่างๆได้ โดยการทางาน HTTP จะอาศัย
โปรโตคอลพื้นฐาน TCP/IP ซึ่งทั่วไปจะใช้หมายเลขพอร์ตที่ 80
โปรโตคอล HTTP ในปัจจุบันได้พัฒนาขึ้นมาเป็นเวอร์ชั่น 1.1 (จากเดิมคือ เวอร์ชั่น 1.0) ซึ่งโปรแกรม
บราวเซอร์ที่แพร่หลายทั่วไปนั้นจะสามารถรองรับโปรโตคอลในเวอร์ชั่นใหม่นี้ได้ และได้กาหนดไว้เป็น
มาตรฐานใน RFC2068 แล้ว โดยในHTTP เวอร์ชั่น1.1 นี้ได้เพิ่มประสิทธิภาพทางานให้สูงขึ้น และปรับปรุง
ในด้านต่างๆที่ทาให้ความสามารถมากขึ้น
16
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
HTML
ความเป็นมาของ HTML เริ่มขึ้นเมื่อปี 1980 เมื่อ Tim Berners Lee เสนอต้นแบบสาหรับนักวิจัย
ใน CERN เพื่อแลกเปลี่ยนเอกสาร ข้อมูลด้านการวิจัย โดยใช้ชื่อว่า Enquire ในปี 1990 เค้าได้
เขียนโปรแกรมเบราเซอร์ และทดลองรันบนเซิฟเวอร์ที่เค้าพัฒนาขึ้น HTML ได้รับการรู้จักจาก
HTMLTagซึ่งมีอยู่18Tagในปี1991
HTML ถูกพัฒนาจาก SGML และ Tim ก็คิดเสมือนว่า HTML เป็นโปรแกรมย่อยของ SGML อยู่
ในตอนนั้น ต่อมาในปี 1996 เพื่อกาหนดมาตรฐานให้ตรงกัน W3C World Wide Web
Consortium จึงเป็นผู้กาหนดสเปกทั้งหมดของ HTML และปี 1999 HTML 4.01 ก็ถือกาเนิดขึ้น
โดยมี HTML 5 ซึ่งเป็น Web Hypertext Application ถูกพัฒนาต่อมาในปี 2004 นอกจากนี้ยังมี
การพัฒนาไปเป็น XHTML ซึ่ง คือ Extended HTML ซึ่งมีความสามารถและมาตรฐานที่รัดกุมกว่า
อีกด้วย โดยอยู่ภายใต้การควบคุมของ W3C (World Wide Web Consortium)
17
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
รู้จักกับ e-mail
Electronic mail หรือ E-mail (อีเมล์) เป็นการรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ในแบบเดียวกับ
จดหมายทั่วไปคือส่งแล้วข้อมูลที่ส่งนั้นจะไปกองรอไว้ เมื่อผู้รับว่างจึงจะเข้ามาเปิดอ่าน โดยไม่
จาเป็นต้องมีการโต้ตอนกันทันทีอีเมล์เป็นรูปแบบการสื่อสารที่ใช้กันแพร่หลายบนอินเทอร์เน็ตมานาน
แล้ว (เน็ตเวิร์กในองค์กรก็อาจมีอีเมล์ภายในใช้เช่นกัน) โปรแกรมที่ใช้รับส่งอีเมล์จะถูกรับส่งผ่าน
เครื่องที่ให้บริการรับส่งเมล์ ซึ่งเรียกว่า “เมล์เซิร์ฟเวอร์” (mail server)
ในองค์กรที่มีระบบอีเมล์ใช้เป้นของตนเอง ผู้ดูแลระบบจะจัดที่อยู่อีเมล์หรือ E-mail address ให้
ใช้เป็นการเฉพาะสาหรับหน่วยงานนั้น ๆ นอกจากนั้นเรายังสามารถขออีเมล์แอดเดรสจาก ISP ที่ใช้
บริการอยู่ได้เช่นกัน หรือขอจากเว็บไซต์ที่ให้บริหารอีเมล์ฟรี เช่น hotmail.com, gmail.com เป็นต้น
รูปแบบของ E-mail address
ในการส่งอีเมล์นี้ เราจะต้องรู้ที่อยู่ของผู้รับว่าจะส่งไปที่ชื่อไหน ซึ่งเรียกว่า “ตู้จดหมาย” หรือ
mailbox และต่างกันไปตามแต่ละคน แต่จะอยู่ในรูปแบบใกล้เคียงกันคือ ชื่อผู้ใช้@ชื่อโดเมนหรือชื่อ
หน่วยงาน ดังตัวอย่างนี้
จะเห็นว่าอีเมล์แอดเดรสนี้จะอ้างถึงเมล์บ็อกซ์บนเครื่องที่เราตั้งไว้โดยเฉพาะ ซึ่งอาจเป็นของ
ISP ที่เราใช้หรือของหน่วยงาน/สถาบันการศึกษาที่เราสังกัด และจะโหลดมาอ่านที่เครื่องเราได้ เรียก
อีกอย่างว่า “ป็อปเมล์” (POP คือ Post Office Protocol เป็นมาตรฐานของโปรแกรมที่ทาหน้าที่ดาวน์
โหลดอีเมล์มาอ่านในเครื่องของเรา)
18
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
รูปแบบ e-mail
address
E-mail address : ที่อยู่การส่ง E-mail
<user name> @ domain name
sakda@kku.ac.th
ต้องไม่มี ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่, เว้นวรรค
มีส่วนประกอบ 3 ส่วน
Username : ชื่อผู้ใช้
เครื่องหมาย : @ เรียกว่า assign อ่านออกเสียงว่า “at”
domain name : ชื่อสถานีรับ-ส่ง E-mail
19
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
การรับและส่ง
อีเมล
การรับ-ส่งอีเมล หมายถึง การติดต่อสื่อสารด้วยตัวหนังสือแบบใหม่ แทนจดหมายบนกระดาษ
แต่ใช้วิธีการส่งข้อความ ในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ จากเครื่องคอมพิวเตอร์หนึ่งไปยัง
ผู้รับอีกเครื่องหนึ่ง ปัจจุบันอีเมล หรือไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นบริการอินเทอร์เน็ตที่ผู้มีคน
นิยมใช้มากที่สุด เพราะสามารถติดต่อรับส่ง ข้อมูลระหว่างกันได้อย่างรวดเร็ว

More Related Content

What's hot

ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1puangtong
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ยความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ยPheeranan Thetkham
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปาย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปายความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปาย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปายPheeranan Thetkham
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตแมว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตแมวความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตแมว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตแมวPheeranan Thetkham
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบี
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบีความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบี
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบีPheeranan Thetkham
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบ
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบ
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบpuangtong
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปาย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปายความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปาย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปายPheeranan Thetkham
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1Pheeranan Thetkham
 

What's hot (12)

ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
 
work3-21
work3-21work3-21
work3-21
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ยความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ย
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปาย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปายความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปาย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปาย
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตแมว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตแมวความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตแมว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตแมว
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบี
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบีความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบี
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบี
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบ
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบ
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบ
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปาย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปายความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปาย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปาย
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
 

Viewers also liked

หน่วยที่ 8 ขั้นตอนการติดตั้งไอพีแอดเดรสอัตโนมัติของเครื่องลูกข่าย
หน่วยที่ 8 ขั้นตอนการติดตั้งไอพีแอดเดรสอัตโนมัติของเครื่องลูกข่ายหน่วยที่ 8 ขั้นตอนการติดตั้งไอพีแอดเดรสอัตโนมัติของเครื่องลูกข่าย
หน่วยที่ 8 ขั้นตอนการติดตั้งไอพีแอดเดรสอัตโนมัติของเครื่องลูกข่ายsasine
 
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการติดตั้งกลุ่ม
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการติดตั้งกลุ่มหน่วยที่ 9 ขั้นตอนการติดตั้งกลุ่ม
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการติดตั้งกลุ่มsasine
 
Rachael Davis' Resume
Rachael Davis' ResumeRachael Davis' Resume
Rachael Davis' ResumeRachael Davis
 
หน่วยที่ 5 ส่วนประกอบสำคัญของแลนไร้สาย
หน่วยที่ 5 ส่วนประกอบสำคัญของแลนไร้สายหน่วยที่ 5 ส่วนประกอบสำคัญของแลนไร้สาย
หน่วยที่ 5 ส่วนประกอบสำคัญของแลนไร้สายsasine
 
หน่วยที่ 3 การพิจารณาสื่อกลางส่งข้อมูล
หน่วยที่ 3 การพิจารณาสื่อกลางส่งข้อมูลหน่วยที่ 3 การพิจารณาสื่อกลางส่งข้อมูล
หน่วยที่ 3 การพิจารณาสื่อกลางส่งข้อมูลsasine
 
160921 셰프뉴스&셰프잡스매체소개서
160921 셰프뉴스&셰프잡스매체소개서160921 셰프뉴스&셰프잡스매체소개서
160921 셰프뉴스&셰프잡스매체소개서Chefnews
 

Viewers also liked (10)

หน่วยที่ 8 ขั้นตอนการติดตั้งไอพีแอดเดรสอัตโนมัติของเครื่องลูกข่าย
หน่วยที่ 8 ขั้นตอนการติดตั้งไอพีแอดเดรสอัตโนมัติของเครื่องลูกข่ายหน่วยที่ 8 ขั้นตอนการติดตั้งไอพีแอดเดรสอัตโนมัติของเครื่องลูกข่าย
หน่วยที่ 8 ขั้นตอนการติดตั้งไอพีแอดเดรสอัตโนมัติของเครื่องลูกข่าย
 
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการติดตั้งกลุ่ม
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการติดตั้งกลุ่มหน่วยที่ 9 ขั้นตอนการติดตั้งกลุ่ม
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการติดตั้งกลุ่ม
 
Work4 37
Work4 37Work4 37
Work4 37
 
Rachael Davis' Resume
Rachael Davis' ResumeRachael Davis' Resume
Rachael Davis' Resume
 
KPBS - Profile
KPBS - ProfileKPBS - Profile
KPBS - Profile
 
หน่วยที่ 5 ส่วนประกอบสำคัญของแลนไร้สาย
หน่วยที่ 5 ส่วนประกอบสำคัญของแลนไร้สายหน่วยที่ 5 ส่วนประกอบสำคัญของแลนไร้สาย
หน่วยที่ 5 ส่วนประกอบสำคัญของแลนไร้สาย
 
หน่วยที่ 3 การพิจารณาสื่อกลางส่งข้อมูล
หน่วยที่ 3 การพิจารณาสื่อกลางส่งข้อมูลหน่วยที่ 3 การพิจารณาสื่อกลางส่งข้อมูล
หน่วยที่ 3 การพิจารณาสื่อกลางส่งข้อมูล
 
More Than Cookies campaign
More Than Cookies campaignMore Than Cookies campaign
More Than Cookies campaign
 
SAP PP
SAP PPSAP PP
SAP PP
 
160921 셰프뉴스&셰프잡스매체소개서
160921 셰프뉴스&셰프잡스매체소개서160921 셰프뉴스&셰프잡스매체소개서
160921 셰프뉴스&셰프잡스매체소개서
 

Similar to Work3-37

บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10Min Jidapa
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10Maprangmp
 
สอบปลายภาคเรียน
สอบปลายภาคเรียนสอบปลายภาคเรียน
สอบปลายภาคเรียนTang Kwa
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10Jaohjaaee
 
สอบปลายภาคเรียน ห้อง ม5
สอบปลายภาคเรียน ห้อง ม5สอบปลายภาคเรียน ห้อง ม5
สอบปลายภาคเรียน ห้อง ม5Kristys Kristys
 
สอบปลายภาค
สอบปลายภาคสอบปลายภาค
สอบปลายภาคvarin krailop
 
ผู้ให้บริการทางอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการทางอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการทางอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการทางอินเทอร์เน็ตthecommander2
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดsirwit
 
สอบปฎิบัติปลายภาค
สอบปฎิบัติปลายภาคสอบปฎิบัติปลายภาค
สอบปฎิบัติปลายภาคSirikorn Pusathong
 
นางสาว ภคพร ประดับสุข ชั้น ม.5/1 เลขที่ 39
นางสาว ภคพร ประดับสุข ชั้น ม.5/1 เลขที่ 39 นางสาว ภคพร ประดับสุข ชั้น ม.5/1 เลขที่ 39
นางสาว ภคพร ประดับสุข ชั้น ม.5/1 เลขที่ 39 kkkkkkp
 
สอบปลายภาค ธัญญารักษ์
สอบปลายภาค ธัญญารักษ์สอบปลายภาค ธัญญารักษ์
สอบปลายภาค ธัญญารักษ์Axn Tyr
 
สอบปลายภาค 2
สอบปลายภาค 2สอบปลายภาค 2
สอบปลายภาค 2Axn Tyr
 
สอบปลายภาค ธัญญารักษ์
สอบปลายภาค ธัญญารักษ์ สอบปลายภาค ธัญญารักษ์
สอบปลายภาค ธัญญารักษ์ Axn Tyr
 
สอบปลายภาคเรียน ห้องม
สอบปลายภาคเรียน ห้องมสอบปลายภาคเรียน ห้องม
สอบปลายภาคเรียน ห้องมKristys Kristys
 

Similar to Work3-37 (20)

บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
Eeee
EeeeEeee
Eeee
 
สอบปลายภาคเรียน
สอบปลายภาคเรียนสอบปลายภาคเรียน
สอบปลายภาคเรียน
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
สอบปลายภาคเรียน ห้อง ม5
สอบปลายภาคเรียน ห้อง ม5สอบปลายภาคเรียน ห้อง ม5
สอบปลายภาคเรียน ห้อง ม5
 
3
33
3
 
สอบปลายภาค
สอบปลายภาคสอบปลายภาค
สอบปลายภาค
 
ผู้ให้บริการทางอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการทางอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการทางอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการทางอินเทอร์เน็ต
 
สอบ
สอบสอบ
สอบ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
Internet7.1
Internet7.1Internet7.1
Internet7.1
 
สอบปฎิบัติปลายภาค
สอบปฎิบัติปลายภาคสอบปฎิบัติปลายภาค
สอบปฎิบัติปลายภาค
 
นางสาว ภคพร ประดับสุข ชั้น ม.5/1 เลขที่ 39
นางสาว ภคพร ประดับสุข ชั้น ม.5/1 เลขที่ 39 นางสาว ภคพร ประดับสุข ชั้น ม.5/1 เลขที่ 39
นางสาว ภคพร ประดับสุข ชั้น ม.5/1 เลขที่ 39
 
สอบปลายภาค ธัญญารักษ์
สอบปลายภาค ธัญญารักษ์สอบปลายภาค ธัญญารักษ์
สอบปลายภาค ธัญญารักษ์
 
สอบปลายภาค 2
สอบปลายภาค 2สอบปลายภาค 2
สอบปลายภาค 2
 
สอบปลายภาค ธัญญารักษ์
สอบปลายภาค ธัญญารักษ์ สอบปลายภาค ธัญญารักษ์
สอบปลายภาค ธัญญารักษ์
 
สอบปลายภาคเรียน ห้องม
สอบปลายภาคเรียน ห้องมสอบปลายภาคเรียน ห้องม
สอบปลายภาคเรียน ห้องม
 
สอบคอม
สอบคอมสอบคอม
สอบคอม
 

Work3-37

  • 1. 1 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved บทที่ 10 อินเตอร์เน็ต
  • 2. 2 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved อินเตอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต(Internet) คือ เครือข่ายนานาชาติ ที่เกิดจากเครือข่ายขนาดเล็กมากมาย รวมเป็น เครือข่ายเดียวทั้งโลก หรือเครือข่ายสื่อสาร ซึ่งเชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ที่ต้องการ เข้ามาในเครือข่าย สาหรับคาว่า internet หากแยกศัพท์จะได้มา 2 คา คือ คาว่า Inter และ คาว่า net ซึ่ง Inter หมายถึงระหว่าง หรือท่ามกลาง และคาว่า Net มาจากคาว่า Network หรือเครือข่าย เมื่อนาความหมายของทั้ง 2 คามารวมกัน จึงแปลว่า การเชื่อมต่อกันระหว่าง เครือข่าย IP (Internet protocal) Addressคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อกันใน internet ต้องมี IP ประจาเครื่อง ซึ่งIP นี้มีผู้รับผิดชอบคือ IANA (Internet assigned number authority) ซึ่งเป็นหน่วยงานกลางที่ควบคุมดูแล IPV4 ทั่วโลก เป็น Public address ที่ไม่ซ้า กันเลยในโลกใบนี้ การดูแลจะแยกออกไปตามภูมิภาคต่าง ๆ สาหรับทวีปเอเชียคือ APNIC (Asia pacific network information center) แต่การขอIP address ตรง ๆ จาก APNIC ดูจะไม่เหมาะนัก เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ เชื่อมต่อด้วย Router ซึ่งทาหน้าที่บอก เส้นทาง ถ้าท่านมีเครือข่ายของตนเองที่ต้องการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ก็ควรขอ IP address จาก ISP (Internet Service Provider) เพื่อขอเชื่อมต่อเครือข่ายผ่าน ISP และผู้ให้บริการก็ จะคิดค่าใช้จ่ายในการเชื่อมต่อตามความเร็วที่ท่านต้องการ เรียกว่า Bandwidth เช่น 2 Mbps แต่ถ้าท่านอยู่ตามบ้าน และใช้สายโทรศัพท์พื้นฐาน ก็จะได้ความเร็วในปัจจุบันไม่เกิน 56 Kbps ซึ่งเป็น speed ของMODEM ในปัจจุบันทIP address คือเลข 4 ชุด หรือ 4 Byte เช่น 203.158.197.2 หรือ 202.29.78.12 เป็นต้น
  • 3. 3 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved อินเตอร์เน็ต แต่ถ้าเป็นสถาบันการศึกษาโดยทั่วไปจะได้ IP มา 1Class C เพื่อแจกจ่ายให้กับ Host ใน องค์กรได้ใช้ IP จริงได้ถึง 254 เครื่อง เช่น 203.159.197.0 ถึง 203.159.197.255 แต่ IP แรก และ IP สุดท้ายจะไม่ถูกนามาใช้ จึงเหลือ IP ให้ใช้ได้จริงเพียง 254 หมายเลข 1 Class C หมายถึง Subnet mask เป็น 255.255.255.0 และแจก IP จริงในองค์กรได้ สูงสุด 254 1 Class B หมายถึง Subnet mask เป็น 255.255.0.0 และแจก IP จริงในองค์กรได้สูงสุด 66,534 1 Class A หมายถึง Subnet mask เป็น 255.0.0.0 และแจก IP จริงในองค์กรได้สูงสุด 16,777,214
  • 4. 4 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ISP ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต คืออะไร ISP คือ บริษัทที่ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ซึ่งบางครั้งเรียก ISPs ก็มีความหมายอย่างเดียวกัน-ผู้เขียน) ย่อมาจากคาว่า Internet Service Provider ตามหนังสือศัพท์คอมพิวเตอร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พิมพ์ครั้งที่ 4 ได้ระบุความหมายว่า หมายถึง “ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต” ISPเป็นหน่วยงานที่บริการให้เชื่อมต่อเครื่อง คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของบริษัท เข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทั่วโลก ในปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตอยู่ด้วยกัน 2 ประเภท คือ หน่วยงานราชการหรือสถาบันการศึกษา กับบริษัทผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ทั่วไป ISP ที่เป็นหน่วยงานราชการ หรือสถาบันการศึกษา มักจะเป็นการให้บริการฟรีสาหรับ สมาชิกขององค์การเท่านั้น แต่สาหรับ ISPประเภทที่ให้บริการในเชิงพาณิชย์ ผู้ใช้ที่ต้องการ ใช้งานอินเทอร์เน็ตจะต้องสมัครเข้าเป็นสมาชิกของ ISP รายนั้นๆ ซึ่งต้องเสียค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการใช้งานอินเทอร์เน็ต ซึ่งอัตราค่าบริการจะขึ้นอยู่กับ ISP แต่ละราย ข้อดีสาหรับ ผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตในเชิงพาณิชย์ก็คือ การให้บริการที่มีหลากหลายรูปแบบ หรือไม่ ดาเนินธุรกิจด้านนี้มากี่ปี มีสมาชิกใช้บริการมากน้อยขนาดไหน มีการขยายสาขาเพื่อ ให้บริการไปยังต่างจังหวัดหรือไม่ มีการลงทุนที่จะพัฒนาการให้บริการมากน้อยเพียงใด เป็นต้น ประสิทธิภาพของตัวระบบ ก็เป็นส่วนสาคัญที่เราจาเป็นต้องพิจารณาด้วย เช่น ความเร็วในการรับ/ส่ง สม่าเสมอหรือไม่ (บางครั้งเร็วบางครั้งช้ามาก) สายโทรศัพท์ต้นทาง หลุดบ่อยหรือไม่ หรือในบางกรณีที่เรากาลังถ่ายโอนข้อมูล
  • 5. 5 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ISP ซึ่งรองรับกับความต้องการของผู้ใช้ที่แตกต่างกัน มีทั้งรูปแบบส่วนบุคคล ซึ่งจะให้บริการกับ ประชาชนทั่วไปที่ต้องการใช้งานอินเทอร์เน็ต และบริการในรูปแบบขององค์กร หรือบริษัท ซึ่งให้บริการกับบริษัทห้างร้าน หรือองค์กรต่าง ๆ ที่ต้องการให้พนักงานในองค์กรได้ใช้งาน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ISP จะเป็นเสมือนตัวแทนของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อเข้าถึง แหล่งข้อมูลต่าง ๆ ถ้าผู้ใช้อินเทอร์เน็ตต้องการข้อมูลอะไรก็สามารถติดต่อผ่าน ISP ได้ทุก เวลา โดยวิธีการสมัครสมาชิกนั้น เราสามารถโทรศัพท์ติดต่อไปยัง ISP ที่ให้บริการต่าง ๆ ซึ่งเราสามารถเลือกรับบริการได้ 2 วิธี คือ ซื้อชุดอินเทอร์เน็ตสาเร็จรูปตามร้านทั่วไปมาใช้ และสมัครเป็นสมาชิกรายเดือน โดยใช้วิธีการติดต่อเข้าไปยัง ISP โดยตรง ซึ่งวิธีการ และ รายละเอียดในการให้บริการของแต่ละที่นั้นจะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับรูปแบบการ ให้บริการของ ISP รายนั้น ๆ จะกาหนด ในการเลือก ISP นั้น ต้องพิจารณาความ เหมาะสมในการใช้งานของเราเป็นหลัก โดยมีหลักในการพิจารณาหลายอย่างด้วยกัน เช่น ความน่าเชื่อถือของผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตว่ามีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับหรือไม่ ดาเนินธุรกิจ ด้านนี้มากี่ปี มีสมาชิกใช้บริการมากน้อยขนาดไหน มีการขยายสาขาเพื่อให้บริการไปยัง ต่างจังหวัดหรือไม่ มีการลงทุนที่จะพัฒนาการให้บริการมากน้อยเพียงใด เป็นต้น ประสิทธิภาพของตัวระบบ ก็เป็นส่วนสาคัญที่เราจาเป็นต้องพิจารณาด้วย เช่น ความเร็วใน การรับ/ส่ง สม่าเสมอหรือไม่ (บางครั้งเร็วบางครั้งช้ามาก) สายโทรศัพท์ต้นทางหลุดบ่อย หรือไม่ หรือในบางกรณีที่เรากาลังถ่ายโอนข้อมูล .
  • 6. 6 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved มายังเครื่องคอมพิวเตอร์ปรากฏว่าใช้งานไม่ได้ การเชื่อมต่อไปยังต่างประเทศ ไปที่ใดบ้างด้วยความเร็วเท่าไหร่ และการเชื่อมต่อกับผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศเป็นอย่างไร มีสายสัญญาณหลักที่เร็ว หรือมีประสิทธิภาพสูง มากเพียงใด เพราะปัจจัยเหล่านี้จะมีผลต่อความเร็วในการใช้อินเทอร์เน็ตด้วย งานหลักของ ISP ISP : Internet Service Provider คือ บริษัทที่ให้บริการทางด้านอินเทอร์เน็ต เป็นเสมือนตัวแทนของผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตเพื่อเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ถ้าผู้ใช้อินเทอร์เน็ตต้องการข้อมูลอะไรก็สามารถติดต่อผ่าน ISP ได้ ทุกเวลา ตลอด 24 ชั่วโมง โดยการเลือก ISP นั้น ต้องพิจารณาความเหมาะสมในการใช้งานของเราเป็นหลัก รวมถึงค่าบริการก็เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่เราต้องคานึงถึง โดยหลักการพิจารณา ISP นั้น เราต้องดูว่า ISP มี สายสัญญาณหลักที่เร็ว หรือมีประสิทธิภาพสูงมากเพียงใด มีสมาชิกใช้บริการมากน้อยขนาดไหน เพราะปัจจัย เหล่านี้จะมีผลต่อความเร็วในการใช้อินเทอร์เน็ตด้วย โดยวิธีการสมัครสมาชิกนั้น เราสามารถโทรศัพท์ติดต่อไป ยัง ISP ที่ให้บริการต่าง ๆ ซึ่งเราสามารถเลือกรับบริการได้ 2 วิธี คือ ซื้อชุดอินเทอร์เน็ตสาเร็จรูปตามร้านทั่วไป ไปใช้ และสมัครเป็นสมาชิกรายเดือน โดยใช้วิธีการติดต่อเข้าไปยัง ISP โดยตรง ซึ่งวิธีการ และรายละเอียดใน การให้บริการของแต่ละที่นั้นจะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับรูปแบบการให้บริการของ ISP รายนั้น ๆ จะกาหนด หน้าที่โดยทั่วไปของ ISP ก็อย่างที่บอกแต่แรกว่าคาว่า ISP มีหลายความหมาย หลายบทบาท ซึ่งแต่ละบทบาท นั้นความรับผิดก็จะแตกต่างกันออกไป ในที่นี้จะขอกล่าวถึงในความหมายที่เข้าใจกันโดยทั่วไป คือ ผู้ให้บริการ อินเทอร์เนตโดยจะรวมไปถึงบริการ Webhosting ซึ่งหมายถึง บริการให้เช่าพื้นที่ Website และผู้ที่ทาหน้าที่ ดูแล Webboard สาธารณะ โดยอาจรวมถึง Webmaster ที่มีความรับผิดชอบโดยตรงกับข้อมูลที่ปรากฏบน เว็บด้วย หน้าที่หลักๆของ ISP ก็คือ การให้บริการทางอินเทอร์เน็ต การดูแล Website การตรวจสอบ ข้อมูลที่จะผ่านออกไปลงในเว็บ . ISP
  • 7. 7 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ความเป็นมาของ อินเตอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย เริ่มต้นเมื่อปีพ.ศ.2530(ค.ศ.1987) โดยการเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ ระหว่างมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(http://www.psu.ac.th)และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (http://www.ait.ac.th) ไปยังมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย(http://www.unimelb.edu.au) แต่ครั้งนั้นยังเป็นการเชื่อมต่อโดยผ่านสายโทรศัพท์ (Dial-up line) ซึ่งสามารถส่งข้อมูลได้ช้า และไม่ เสถียร จนกระทั่ง ธันวาคม ปีพ.ศ.2535 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ได้ทาการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย 6 แห่ง เข้าด้วยกัน (Chula, Thammasat, AIT, Prince of Songkla, Kasetsart and NECTEC) โดยเรียกเครือข่ายนี้ว่า ไทยสาร (http://www.thaisarn.net.th) และขยายออกไปในวงการศึกษา หรือไม่ก็การวิจัย การขยายตัวเป็นไป อย่างต่อเนื่องจนเดือนกันยายน ปี พ.ศ.2537 มีสถาบันการศึกษาเข้าร่วมถึง 27 สถาบัน และความ ต้องการใช้อินเทอร์เน็ตของเอกชนมีมากขึ้น การสื่อสารแห่งประเทศไทย (http://www.cat.or.th) เปิด โอกาสให้ภาคเอกชน สามารถเป็นผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ISP - Internet Service Provider) และเปิด ให้บริการแก่บุคคลทั่วไป สามารถเชื่อมต่อ Internet ผ่านผู้ให้บริการที่ได้รับอนุญาตจาก การสื่อสารแห่งประเทศไทย
  • 8. 8 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved อินเตอร์เน็ตเชื่อมกัน อย่างไร เนื่องจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเหมือนร่างแหที่แผ่ไปทั่ว จึงมีจุดที่จะเชื่อมต่อเข้ามาได้มากมาย โดยผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่ออยู่เดิม ซึ่งผู้ที่รับการเชื่อมต่อก็จะต้องลงทุนอุปกรณ์ เครื่องมือรวมถึงค่าสัมปทานจากรัฐ (ขึ้นกับกฎหมายของแต่ละประเทศ ) จึงต้องคิดค่าบริการจาก คนที่มาต่อผ่านตามสมควร ผู้ให้บริการเชื่อมต่อนี้ก็คือ ISP นั่นเอง ซึ่งแต่ละรายก็เก็บค่าบริการ ไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับลักษณะการเชื่อมต่อและเงื่อนไขบริการแก่คนอื่นๆ ฯลฯหรือบางรายก็ ให้บริการฟรีแก่ลูกค้า เช่น สถาบันการศึกษาทาตัวเป็น ISP ให้นักศึกษาในสังกัดใช้ อินเทอร์เน็ตฟรี หรือบริษัท ทศท คอร์ปอเรชั่น ให้บริการอินเทอร์เน็ตฟรีแก่ลูกค้าที่ใช้หมายเลข โทรศัพท์ของตน เป็นต้น สาหรับ ISP เองนั้นก็ต้องเชื่อมต่อกันเป็นทอดๆ เพื่อหาช่องทางที่ จะเข้าสู่อินเทอร์เน็ตให้เหมาะกับลักษณะธุรกิจของตน เช่น ISP รายย่อยในต่างจังหวัดต่อเข้ามา ผ่านISP รายใหญ่ในกรุงเทพหรือ ISP ในประเทศต่อออกไปที่ ISP ใหญ่ในต่างประเทศ โดยมี การเก็บค่าบริการกันเป็นทอดๆแล้วแต่ว่าใครจะต่อกับใคร จะต่อหลายทางพร้อมๆกันเพื่อเพิ่ม ความเร็วและเป็นช่องทางสารองก็ได้ แต่ก็มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น ซึ่งการดาเนินงานของ ISP ใน ต่างประเทศเองก็ไม่ผูกขาด เพราะมีทากันหลายๆรายและหากมีลูกค้าผู้ใช้งานมากพอก็อาจมีผู้ ลงทุนตั้ง ISP รายใหม่ วางสายและสร้างเครือข่ายเพิ่มได้อีก
  • 9. 9 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved โปรโตคอล : กติกาของอินเทอร์เน็ต การทางานต่างๆ ในอินเทอร์เน็ตจะสอดคล้องกันได้ก็ต้องมีกติกาที่ทุกเครื่อง ทุกโปรแกรม รับรู้ และทาตามเป็นแบบหรือมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก ซึ่งบนอินเทอร์เน็ตมีกติกาเหล่านี้มากมายสาหรับแต่ ละเรื่อง เรียกว่า “โปรโตคอล” (Protocol) โปรโตคอล
  • 10. 10 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved TCP/IP TCP/IP กับ IP Address เป็นกติกาหลักในการรับส่งข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต ข้อมูลทุกรูปแบบไม่ว่าจากโปรแกรมโดก็ต้อง แปลงให้อยู่ในมาตรฐานของ TCP/IP เสียก่อนจึงจะรับส่งได้กติกานี้กาหนดวิธี ขั้นตอนในการรับส่ง ข้อมูล และตรวจสอบความถูกต้องอย่างรัดกุม ส่วนที่เกี่ยวข้องกับผู้ใช้ ก็คือ การเรียกชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่อกับอินเทอร์เน็ต ซึ่งทาง เทคนิคเรียกว่า “ที่อยู่ IP” หรือ IP address เป็นตัวเลขล้วน ๆ 4 ชุด แต่ละชุดมีค่าระหว่าง 0-255 คั่น ด้วยจุด เช่น 202.56.159.90 หรือ 203.107.136.7 เป็นต้อน ซึ่งจะตั้งชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ได้นับ พันล้านเครื่องโดยไม่ซ้ากัน
  • 11. 11 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved โดเมน Domain Name (โดเมน) คือ ชื่อเว็บไซต์ (www.yourdomain.com) ที่ท่านสามารถเป็น เจ้าของ ซึ่งจะต้องไม่ซ้ากับคนอื่น เพื่อการเรียกหาเว็บไซต์ที่ต้องการ "ชื่อเว็บไซต์" คือ สิ่ง แรกที่แสดง หรือ ประกาศความมีตัวตนบนอินเตอร์เน็ตให้คนทั่วไปได้รู้จัก สามารถมีได้ชื่อ เดียวในโลกเท่านั้น เช่น www.gict.co.th เมื่อผู้ใช้กรอกชื่อลงไปในช่อง Address ของ Internet Explorer ก็จะส่งชื่อไปร้องถามจากเครื่องแปลชื่อ โดเมน (Domain Name Server) และได้รับกลับมาเป็นไอพีแอดเดรส (Internet Protocol) แล้วส่งคาร้องไปให้กับ เครื่องปลายทางตามไอพีแอดเดรส และได้ข้อมูลกลับมาตามรูปแบบที่ร้องขอไป
  • 12. 12 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved DNS ประวัติความเป็นมาของระบบ DNS ในช่วงศตวรรษที่ 90 ในขณะที่การใช้งานอีเมลล์เริ่มเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย จานวนเครือข่ายที่เชื่อมต่อ มายังเครือข่าย ARPA NET ได้เพิ่มจานวนสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว จนทาให้บริการเครือข่ายแบบรวมศูนย์ของ SRI ( The NIC ) เริ่มประสบปัญหาในการจัดการระบบฐานข้อมูลซึ่งใช้ในการอ้างอิงถึงโฮสท์ที่เชื่อมต่อมา จากเครือข่ายอิสระต่างๆ ที่มีโครงสร้างการทางานที่แตกต่างกัน โดยในขณะนั้น การเพิ่มรายชื่อโฮสท์แต่ ละเครื่องเข้ามาในเครือข่าย ARPA NET จาเป็นต้องส่งข้อมูลโดยการ FTP เข้ามาปรับปรุงข้อมูลในไฟล์ Host Table ที่ SRI เป็นผู้ดูแล ซึ่งจะมีการปรับปรุงข้อมูลเพียงสัปดาห์ละ 2 ครั้งเท่านั้น ทาให้การจัดการ ข้อมูลมีความล่าช้าและไม่ยืดหยุ่น นอกจากนี้เครือข่ายต่างๆ ที่เข้ามาเชื่อมต่อต่างก็ต้องการอิสระในการ จัดการบริหารระบบของตนเองจึงเกิดแนวความคิดที่กระจายความรับผิดชอบในการจัดระบบนี้ออกไป โดย แบ่งการจัดพื่นที่ของโลกเสมือนนี้ออกเป็นส่วนๆ โดยกาหนดให้โฮสท์แต่ละเครื่องอยู่ภายใต้ขอบเขตพื้นที่ ใดพื้นที่หนึ่งที่ได้แบ่งเอาไว้ โดยแต่ละพื้นที่สามารถแบ่งออกเป็นพ้นที่ที่เล็กลงได้อย่างไม่จากัด ซึ่งพื้นที่ แต่ละส่วน ก็ถูกอ้างไปยังพื้นที่ที่ใหญ่กว่าเป็นลาดับชั้นขึ้นไป เพื่อให้สามารถระบุตาแหน่งอ้างอิงของโฮสท์ แต่ละเครื่องที่อยู่ภายใต้ขอบเขตของแต่ละพื้นที่ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว โดยพื้นที่เสมือนแต่ละส่วนถูก เรียกว่า “ โดเมน” (Domain) และเรียกการอ้างระบบอ้างอิงเป็นลาดับชั้นด้วยชื่อของแต่ละพื้นที่หรือ โดเมนนี้ว่า “ ระบบชื่อโดเมน ” ( Domain Name System) ส่วนพื้นที่ทั้งหมดของโลกเสมือนที่ ประกอบด้วยพื้นที่ย่อยๆจานวนมากนี้ จะเรียกว่า “Domain Name Space”
  • 13. 13 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved DNSคืออะไร ระบบ Domain Name System (DNS) นี้เป็นระบบจัดการแปลงชื่อไปเป็นหมายเลข IP address โดยมีโครงสร้างฐานข้อมูลแบบลาดับชั้นเพื่อใช้เก็บข้อมูลที่เรียกค้นได้อย่างรวดเร็ว nกลไกหลักของระบบ DNS คือ ทาหน้าที่แปลงข้อมูลชื่อและหมายเลข IP address หรือทากลับกันได้ นอกจากนี้ยังมีฟังก์ชันเพิ่มเติมอื่นๆ อีก เช่น แจ้งชื่อของอีเมล์เซิร์ฟเวอร์ใน domain ที่รับผิดชอบด้วย ในระบบ DNS จะมีการกาหนด name space ที่มีกฎเกณฑ์อย่างชัดเจน มีกลไกการเก็บข้อมูลเป็น ฐานข้อมูลแบบกระจาย ทางานในลักษณะของไคลเอนต์เซิร์ฟเวอร์ (Client/Server) การทางานของระบบ DNS การทางานของระบบชื่อโดเมนนั้น เริ่มต้นจากเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งทาหน้าที่เป็น DNS Server ซึ่ง ทางานด้วยซอฟแวร์พิเศษชื่อว่า BIND ที่ทาหน้าที่ในการรับส่งข้อมูลระหว่าง DNS Server แต่ละ เครื่องผ่าน DNS Photocal เมื่อมีคาร้องขอให้สืบค้นหมายเลข ไอพี อย่างไรก็ตาม คาตอบที่ DNS Server จะมีให้ก็ต่อคาร้องหนึ่งๆนั้นขันกับว่า DNS Server นั้นเป็น DNS Server ประเภทใด ซึ่ง สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ 1. Name Server 2. Resolver การตั้งชื่อให้ DNS ต้องเป็นไปตามกฏนี้ ใช้ได้เฉพาะตัวอักษรละติน (ASCII character set) ใน RFC 1035 ระบุว่าสัญลักษณ์ที่ใช้ได้ใน โดเมนเนม คือ (1) ตัวอักษร a ถึง z (case insensitive - ไม่สนใจพิมพ์เล็ก พิมพ์ใหญ่) (2) เลข 0 ถึง 9 (3) เครื่องหมายยติภังค์ (-) DNS
  • 14. 14 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved website Web (ใยแมงมุม) และ Site(โครงข่าย) หรือเรียกว่า "โครงข่ายในแมงมุม" ซึ่งหมายถึง กลุ่มของเว็บ เพจที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กัน ประกอบไปด้วย เว็บเอกสาร(Web Documents) และสื่อประสมต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง ข้อความ เป็นต้น ซึ่งอาจเรียกเอกสารต่าง ๆ เหล่านี้ว่า เว็บเพจ (Web Page) และเรียก เว็บหน้าแรกของแต่ละเว็บไซต์ว่า โฮมเพจ (Home Page) หรืออาจกล่าวได้ว่า เว็บไซต์ก็คือเว็บเพจ อย่างน้อยสองหน้าที่มีลิงก์ (Links) เชื่อมต่อถึงกัน โฮมเพจ (Home Page) คือ หน้าแรกที่เข้าสู่เว็บไซต์นั้น ๆ เว็บเพจ (Web Page) คือ หน้าแต่ละหน้าที่มีการเชื่อมโยงถึงกัน
  • 15. 15 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved HTTP HTTP(HyperText Transfer Protocol) HTTP เป็นกลไกหรือโปรโตคอลหลักที่ใช้แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างเซิร์ฟเวอร์และไคลเอนต์ของ เวิลด์ไวด์เว็บ โดยถูกออกแบบมาให้มีความกระทัดรัด สามารถทางานได้รวดเร็ว มีกระบวนการทางานที่ไม่ ซับซ้อน และมีคาสั่งที่ใช้งานไม่มากนัก แต่สามารถรองรับข้อมูลได้ทุกแบบ ไม่ว่าเป็นข้อมูลทั่วไปที่เข้ารหัส แบบ MIME หรือข้อมูลที่เป็นกราฟิก หลักการทางานทั่วๆไปของ HTTP คือ จะแบบการทางานออกเป็น 2 ด้านคือ ด้านเว็บเซิร์ฟเวอร์ และด้าน ไคลเอนต์ โดยไคลเอนต์จะติดต่อเข้ามายังเซิร์ฟเวอร์โดยใช้โปรแกรมบราวเซอร์ และอ้างถึงแอดเดรสของ เซิร์ฟเวอร์โดยใช้รูปแบบของ URL ส่วนด้านเซิร์ฟเวอร์จะส่งข้อมูลกลับมาในรูปแบบที่เป็น HTML โดยที่ โปรโตคอล HTTP ใช้วิธีการเข้ารหัสในแบบ MIME เป็นมาตรฐานของการทางาน โครงสร้างข้อมูลของ HTTP จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆคือ ส่วนเฮดเดอร์ หรือเรียกว่า metadata จะเป็น ส่วนเก็บข้อมูลที่จาเป็นต้องใช้ภายในโปรโตคอล ส่วนที่สองเป็นส่วนข้อมูลจริงที่ต้องการรับส่ง ทั้งนี้ HTTP ถูกออกแบบมาให้สามารรับส่งข้อมูลผ่าน Proxy หรือ Firewall ต่างๆได้ โดยการทางาน HTTP จะอาศัย โปรโตคอลพื้นฐาน TCP/IP ซึ่งทั่วไปจะใช้หมายเลขพอร์ตที่ 80 โปรโตคอล HTTP ในปัจจุบันได้พัฒนาขึ้นมาเป็นเวอร์ชั่น 1.1 (จากเดิมคือ เวอร์ชั่น 1.0) ซึ่งโปรแกรม บราวเซอร์ที่แพร่หลายทั่วไปนั้นจะสามารถรองรับโปรโตคอลในเวอร์ชั่นใหม่นี้ได้ และได้กาหนดไว้เป็น มาตรฐานใน RFC2068 แล้ว โดยในHTTP เวอร์ชั่น1.1 นี้ได้เพิ่มประสิทธิภาพทางานให้สูงขึ้น และปรับปรุง ในด้านต่างๆที่ทาให้ความสามารถมากขึ้น
  • 16. 16 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved HTML ความเป็นมาของ HTML เริ่มขึ้นเมื่อปี 1980 เมื่อ Tim Berners Lee เสนอต้นแบบสาหรับนักวิจัย ใน CERN เพื่อแลกเปลี่ยนเอกสาร ข้อมูลด้านการวิจัย โดยใช้ชื่อว่า Enquire ในปี 1990 เค้าได้ เขียนโปรแกรมเบราเซอร์ และทดลองรันบนเซิฟเวอร์ที่เค้าพัฒนาขึ้น HTML ได้รับการรู้จักจาก HTMLTagซึ่งมีอยู่18Tagในปี1991 HTML ถูกพัฒนาจาก SGML และ Tim ก็คิดเสมือนว่า HTML เป็นโปรแกรมย่อยของ SGML อยู่ ในตอนนั้น ต่อมาในปี 1996 เพื่อกาหนดมาตรฐานให้ตรงกัน W3C World Wide Web Consortium จึงเป็นผู้กาหนดสเปกทั้งหมดของ HTML และปี 1999 HTML 4.01 ก็ถือกาเนิดขึ้น โดยมี HTML 5 ซึ่งเป็น Web Hypertext Application ถูกพัฒนาต่อมาในปี 2004 นอกจากนี้ยังมี การพัฒนาไปเป็น XHTML ซึ่ง คือ Extended HTML ซึ่งมีความสามารถและมาตรฐานที่รัดกุมกว่า อีกด้วย โดยอยู่ภายใต้การควบคุมของ W3C (World Wide Web Consortium)
  • 17. 17 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved รู้จักกับ e-mail Electronic mail หรือ E-mail (อีเมล์) เป็นการรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ในแบบเดียวกับ จดหมายทั่วไปคือส่งแล้วข้อมูลที่ส่งนั้นจะไปกองรอไว้ เมื่อผู้รับว่างจึงจะเข้ามาเปิดอ่าน โดยไม่ จาเป็นต้องมีการโต้ตอนกันทันทีอีเมล์เป็นรูปแบบการสื่อสารที่ใช้กันแพร่หลายบนอินเทอร์เน็ตมานาน แล้ว (เน็ตเวิร์กในองค์กรก็อาจมีอีเมล์ภายในใช้เช่นกัน) โปรแกรมที่ใช้รับส่งอีเมล์จะถูกรับส่งผ่าน เครื่องที่ให้บริการรับส่งเมล์ ซึ่งเรียกว่า “เมล์เซิร์ฟเวอร์” (mail server) ในองค์กรที่มีระบบอีเมล์ใช้เป้นของตนเอง ผู้ดูแลระบบจะจัดที่อยู่อีเมล์หรือ E-mail address ให้ ใช้เป็นการเฉพาะสาหรับหน่วยงานนั้น ๆ นอกจากนั้นเรายังสามารถขออีเมล์แอดเดรสจาก ISP ที่ใช้ บริการอยู่ได้เช่นกัน หรือขอจากเว็บไซต์ที่ให้บริหารอีเมล์ฟรี เช่น hotmail.com, gmail.com เป็นต้น รูปแบบของ E-mail address ในการส่งอีเมล์นี้ เราจะต้องรู้ที่อยู่ของผู้รับว่าจะส่งไปที่ชื่อไหน ซึ่งเรียกว่า “ตู้จดหมาย” หรือ mailbox และต่างกันไปตามแต่ละคน แต่จะอยู่ในรูปแบบใกล้เคียงกันคือ ชื่อผู้ใช้@ชื่อโดเมนหรือชื่อ หน่วยงาน ดังตัวอย่างนี้ จะเห็นว่าอีเมล์แอดเดรสนี้จะอ้างถึงเมล์บ็อกซ์บนเครื่องที่เราตั้งไว้โดยเฉพาะ ซึ่งอาจเป็นของ ISP ที่เราใช้หรือของหน่วยงาน/สถาบันการศึกษาที่เราสังกัด และจะโหลดมาอ่านที่เครื่องเราได้ เรียก อีกอย่างว่า “ป็อปเมล์” (POP คือ Post Office Protocol เป็นมาตรฐานของโปรแกรมที่ทาหน้าที่ดาวน์ โหลดอีเมล์มาอ่านในเครื่องของเรา)
  • 18. 18 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved รูปแบบ e-mail address E-mail address : ที่อยู่การส่ง E-mail <user name> @ domain name sakda@kku.ac.th ต้องไม่มี ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่, เว้นวรรค มีส่วนประกอบ 3 ส่วน Username : ชื่อผู้ใช้ เครื่องหมาย : @ เรียกว่า assign อ่านออกเสียงว่า “at” domain name : ชื่อสถานีรับ-ส่ง E-mail
  • 19. 19 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved การรับและส่ง อีเมล การรับ-ส่งอีเมล หมายถึง การติดต่อสื่อสารด้วยตัวหนังสือแบบใหม่ แทนจดหมายบนกระดาษ แต่ใช้วิธีการส่งข้อความ ในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ จากเครื่องคอมพิวเตอร์หนึ่งไปยัง ผู้รับอีกเครื่องหนึ่ง ปัจจุบันอีเมล หรือไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นบริการอินเทอร์เน็ตที่ผู้มีคน นิยมใช้มากที่สุด เพราะสามารถติดต่อรับส่ง ข้อมูลระหว่างกันได้อย่างรวดเร็ว