SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
การพิจารณาสื่อกลางส่งข้อมูล
สื่อกลางส่งข้อมูล ถือเป็นปัจจัยสาคัญต่อประสิทธิภาพของ
เครือข่าย เนื่องจากเป็นเส้นทางที่ใช้ลาเลียงข้อมูลบนเครือข่าย ดังนั้น
การพิจารณาสื่อกลางส่งข้อมูลให้เหมาะสมกับระบบเครือข่ายจึงเป็น
เรื่องจาเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้ การพิจารณาสื่อกลางส่งข้อมูล สามารถ
พิจารณาได้จากปัจจัยต่างๆ ดังต่อไปนี้
1.ต้นทุน
2.ความเร็ว
3.ระยะทาง
4.สภาพล้อม
5.ความปลอดภัย
ต้นทุน (Speed)
แน่นอนว่า สื่อกลางแต่ละชนิด แต่ละประเภทย่อมมีต้นทุนที่แตกต่าง
กัน เนื่องจากวัสดุที่นามาผลิตสื่อกลางแต่ละชนิด ทามาจากวัสดุที่
แตดต่างกัน ทั้งนี้รวมถึงต้นทุนการผลิตก็แตกต่างกันตามแต่ละ
ประเภทด้วย ดังนั้นจึงควรพิจารณาต้นทุนพื้นฐานของสิ่งต่อไปนี้
-ต้นทุนของอุปกรณ์สนับสนุนของสายเคเบิลชนิดนั้นๆ
-ต้นทุนการติดตั้งอุปกรณ์
-เปรียบเทียบประสิทธิภาพที่ได้ สมกับราคาหรือไม่ โดย
อาจเทียบกับอัตราส่วน หรือมีความคุ้มค่าเพียงไร
ความเร็ว
สาหรับการการประเมินคุณสมบัติด้านความเร็วของสื่อกลาง
ส่งข้อมูล จะพิจารณาจาก
ความเร็วในการส่งผ่านสัญญาณ
คือความเร็วในการส่งข้อมูล ซึ่งสามารถคานวณได้จาก
จานวนบิตต่อวินาที โดยความเร็วเหล่านี้ ขึ้นอยู่กับแถบความถี่ของ
สื่อกลางแต่ละประเภท
ความเร็วในการแพร่สัญญาณ
คือความเร็วของสัญญาณที่เคลื่อนที่ผ่านสื่อกลาง ตัวอย่างเช่น
สายใยแก้วนาแสงจะมีความเร็วใกล้เคียงกับความเร็วของแสง ส่วน
สื่อกลางส่งสัญญาณไฟฟ้ าอย่างสายโคแอกเชียลและสายคู่บิดเกลียวก็
จะมีความเร็วที่ประมาณ 2x108 เมตรต่อวินาที
ระยะทาง
สื่อกลางส่งข้อมูลแต่ละชนิด มีขีดความสามารถในการส่งสัญญาณได้
ไกล บนระยะทางที่แตกต่างกัน ดังนั้นกรณีที่ต้องการเชื่อมโยงสายส่ง
ข้อมูลที่มีระยะทางไกลๆ เป็นกิโลเมตร ก็ควรใช้สายส่งข้อมูลที่
เหมาะสม อย่างเช่น สายใยแก้วนาแสง แทนที่จะใช้สายคู่บิดเกลียวที่
เชื่อมโยงได้ไกลสุดเพียง 100 เมตร ซึ่งถึงแม้จะใช้เครื่องทวนสัญญาณก็
ตาม แต่ก็มีข้อจากัดด้านจานวนเซกเมนต์ที่เชื่อมต่อ
สภาพแวดล้อม
ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมถือเป็นปัจจัยสาคัญอย่างหนึ่งในการพิจารณา
สื่อกลางส่งข้อมูลสภาพแวดล้อมบางสถานที่เต็มไปด้วยคลื่นรบกวน
ต่างๆ เช่น โรงงานอุตสาหกรรมที่เต็มไปด้วยคลื่นรบกวนต่างๆ
มากมาย ดังนั้นควรคัดเลือกสื่อกลางส่งข้อมูลที่ทนทานต่อสัญญาณ
รบกวนได้เป็นอย่างดี
ความปลอดภัย
ความปลอดภัยในเรื่องของการลักลอบ หรือจารกรรมข้อมูลบน
เครือข่ายสามารถเกิดขึ้นได้จากแฮกเกอร์ ด้วยการดักจับสัญญาณบน
เครือข่าย ดังนั้นระบบที่ต้องการความปลอดภัยสูง จึงจาเป็นต้อง
เลือกใช้สื่อกลางที่ยากต่อการดักจับสัญญาณข้อมูล

More Related Content

More from sasine

หน่วยที่ 8 ขั้นตอนการติดตั้งไอพีแอดเดรสอัตโนมัติของเครื่องลูกข่าย
หน่วยที่ 8 ขั้นตอนการติดตั้งไอพีแอดเดรสอัตโนมัติของเครื่องลูกข่ายหน่วยที่ 8 ขั้นตอนการติดตั้งไอพีแอดเดรสอัตโนมัติของเครื่องลูกข่าย
หน่วยที่ 8 ขั้นตอนการติดตั้งไอพีแอดเดรสอัตโนมัติของเครื่องลูกข่ายsasine
 
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการติดตั้งกลุ่ม
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการติดตั้งกลุ่มหน่วยที่ 9 ขั้นตอนการติดตั้งกลุ่ม
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการติดตั้งกลุ่มsasine
 
หน่วยที่ 10 ขั้นตอนการติดตั้งเครื่องพิมพ์แบบแชร์
หน่วยที่ 10 ขั้นตอนการติดตั้งเครื่องพิมพ์แบบแชร์หน่วยที่ 10 ขั้นตอนการติดตั้งเครื่องพิมพ์แบบแชร์
หน่วยที่ 10 ขั้นตอนการติดตั้งเครื่องพิมพ์แบบแชร์sasine
 
หน่วยที่ 11 สถาปัตยกรรมชุดโปรโตคอล tcp
หน่วยที่ 11 สถาปัตยกรรมชุดโปรโตคอล tcpหน่วยที่ 11 สถาปัตยกรรมชุดโปรโตคอล tcp
หน่วยที่ 11 สถาปัตยกรรมชุดโปรโตคอล tcpsasine
 
หน่วยที่ 11 สถาปัตยกรรมชุดโปรโตคอล tcp
หน่วยที่ 11 สถาปัตยกรรมชุดโปรโตคอล tcpหน่วยที่ 11 สถาปัตยกรรมชุดโปรโตคอล tcp
หน่วยที่ 11 สถาปัตยกรรมชุดโปรโตคอล tcpsasine
 
หน่วยที่ 10 ขั้นตอนการติดตั้งเครื่องพิมพ์แบบแชร์
หน่วยที่ 10 ขั้นตอนการติดตั้งเครื่องพิมพ์แบบแชร์หน่วยที่ 10 ขั้นตอนการติดตั้งเครื่องพิมพ์แบบแชร์
หน่วยที่ 10 ขั้นตอนการติดตั้งเครื่องพิมพ์แบบแชร์sasine
 
หน่วยที่ 8 ขั้นตอนการติดตั้งไอพีแอดเดรสอัตโนมัติของเครื่องลูกข่าย
หน่วยที่ 8 ขั้นตอนการติดตั้งไอพีแอดเดรสอัตโนมัติของเครื่องลูกข่ายหน่วยที่ 8 ขั้นตอนการติดตั้งไอพีแอดเดรสอัตโนมัติของเครื่องลูกข่าย
หน่วยที่ 8 ขั้นตอนการติดตั้งไอพีแอดเดรสอัตโนมัติของเครื่องลูกข่ายsasine
 
หน่วยที่ 6 การติดตั้งคอมโพเนนต์
หน่วยที่ 6 การติดตั้งคอมโพเนนต์หน่วยที่ 6 การติดตั้งคอมโพเนนต์
หน่วยที่ 6 การติดตั้งคอมโพเนนต์sasine
 
หน่วยที่ 5 ส่วนประกอบสำคัญของแลนไร้สาย
หน่วยที่ 5 ส่วนประกอบสำคัญของแลนไร้สายหน่วยที่ 5 ส่วนประกอบสำคัญของแลนไร้สาย
หน่วยที่ 5 ส่วนประกอบสำคัญของแลนไร้สายsasine
 

More from sasine (9)

หน่วยที่ 8 ขั้นตอนการติดตั้งไอพีแอดเดรสอัตโนมัติของเครื่องลูกข่าย
หน่วยที่ 8 ขั้นตอนการติดตั้งไอพีแอดเดรสอัตโนมัติของเครื่องลูกข่ายหน่วยที่ 8 ขั้นตอนการติดตั้งไอพีแอดเดรสอัตโนมัติของเครื่องลูกข่าย
หน่วยที่ 8 ขั้นตอนการติดตั้งไอพีแอดเดรสอัตโนมัติของเครื่องลูกข่าย
 
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการติดตั้งกลุ่ม
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการติดตั้งกลุ่มหน่วยที่ 9 ขั้นตอนการติดตั้งกลุ่ม
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการติดตั้งกลุ่ม
 
หน่วยที่ 10 ขั้นตอนการติดตั้งเครื่องพิมพ์แบบแชร์
หน่วยที่ 10 ขั้นตอนการติดตั้งเครื่องพิมพ์แบบแชร์หน่วยที่ 10 ขั้นตอนการติดตั้งเครื่องพิมพ์แบบแชร์
หน่วยที่ 10 ขั้นตอนการติดตั้งเครื่องพิมพ์แบบแชร์
 
หน่วยที่ 11 สถาปัตยกรรมชุดโปรโตคอล tcp
หน่วยที่ 11 สถาปัตยกรรมชุดโปรโตคอล tcpหน่วยที่ 11 สถาปัตยกรรมชุดโปรโตคอล tcp
หน่วยที่ 11 สถาปัตยกรรมชุดโปรโตคอล tcp
 
หน่วยที่ 11 สถาปัตยกรรมชุดโปรโตคอล tcp
หน่วยที่ 11 สถาปัตยกรรมชุดโปรโตคอล tcpหน่วยที่ 11 สถาปัตยกรรมชุดโปรโตคอล tcp
หน่วยที่ 11 สถาปัตยกรรมชุดโปรโตคอล tcp
 
หน่วยที่ 10 ขั้นตอนการติดตั้งเครื่องพิมพ์แบบแชร์
หน่วยที่ 10 ขั้นตอนการติดตั้งเครื่องพิมพ์แบบแชร์หน่วยที่ 10 ขั้นตอนการติดตั้งเครื่องพิมพ์แบบแชร์
หน่วยที่ 10 ขั้นตอนการติดตั้งเครื่องพิมพ์แบบแชร์
 
หน่วยที่ 8 ขั้นตอนการติดตั้งไอพีแอดเดรสอัตโนมัติของเครื่องลูกข่าย
หน่วยที่ 8 ขั้นตอนการติดตั้งไอพีแอดเดรสอัตโนมัติของเครื่องลูกข่ายหน่วยที่ 8 ขั้นตอนการติดตั้งไอพีแอดเดรสอัตโนมัติของเครื่องลูกข่าย
หน่วยที่ 8 ขั้นตอนการติดตั้งไอพีแอดเดรสอัตโนมัติของเครื่องลูกข่าย
 
หน่วยที่ 6 การติดตั้งคอมโพเนนต์
หน่วยที่ 6 การติดตั้งคอมโพเนนต์หน่วยที่ 6 การติดตั้งคอมโพเนนต์
หน่วยที่ 6 การติดตั้งคอมโพเนนต์
 
หน่วยที่ 5 ส่วนประกอบสำคัญของแลนไร้สาย
หน่วยที่ 5 ส่วนประกอบสำคัญของแลนไร้สายหน่วยที่ 5 ส่วนประกอบสำคัญของแลนไร้สาย
หน่วยที่ 5 ส่วนประกอบสำคัญของแลนไร้สาย
 

หน่วยที่ 3 การพิจารณาสื่อกลางส่งข้อมูล