SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
Download to read offline
1
พระพุทธศาสนากับคนหนุม
โดย เสถียร กมลมาลย*
(เสถียร โพธินันทะ)
* ในขณะนั้นยังมิไดเปลี่ยนนามสกุล
(จากธรรมจักษุ ฉบับสันติภาพ เลม ๓๐ ตอนที่ ๓-๑๒ ประจําเดือนธันวาคม ๒๔๘๗ - กันยายน ๒๔๘๘)
“ยุวชน เสถียร กมลมาลย อายุ ๑๗ ป เปนนักเรียนโรงเรียนมัธยมวัดบพิตรพิมุข สอบไดชั้น
มัธยมศึกษาปที่ ๕ เปนผูมีความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ไดประหยัดรายไดคาขนมที่มารดาให ซื้อหนังสือ
ทางพระพุทธศาสนาทุกชนิดอาน เทาที่จะหาไดในประเทศไทย และไดรวบรวมหนังสือทางศาสนาอื่นเพื่อศึกษา
เปรียบเทียบ ความรูความเขาใจในพระพุทธศาสนาของยุวชนผูนี้ มีในขนาดไร และพระพุทธศาสนาไดชนะ
หัวใจของเขาอยางไร ทานผูอานจะพิจารณาไดจากเรื่องนี้
อนึ่ง ควรบันทึกไวในที่นี้ดวยวา เรื่องบางเรื่องที่นําลงในธรรมจักษุฉบับนี้ ที่เปนเรื่องแปลหรือแตงก็ดี ยุวชนผูนี้
ไดมีสวนชวยเปนเลขานุการ เขียนตามคําบอกแหงเจาหนาที่ของเราดวยความสมัครใจ และยินดีที่ไดรับใช
พระพุทธศาสนา อันเราจะเวนเสียมิไดซึ่งความรูสึกอนุโมทนาในกุศลเจตนาของยุวชนผูนี้”
กองบรรณาธิการธรรมจักษุ
.....................................
2
คนหนุม ๆ ในสมัยนี้โดยมากไมใครรูจักคุณคาของศาสนา เพราะเขาทั้งหลายตางมีหนาที่ในการ
สะสางปญหาภายนอก ซึ่งไมไดเกี่ยวกับศาสนา เขามีความคิดขัดแยงกับความคิดของปูยาตายาย จิตใจของเขา
กําลังวุนเกี่ยวกับการเมือง เศรษฐกิจ ฯลฯ และเรื่องอื่น ๆ อีกมากหลาย ชายหัวใหมหรือคนหนุม ๆ เหลานี้
เห็นการถือศาสนาเปนของครึ ลาสมัย การไปวัดไปวาเปนของนาอับอาย เห็นวาสูไปอยูตามโรงภาพยนตร หรือ
ตามฮอลล หรือสโมสร ซึ่งมีพวกสาว ๆ หอมลอมในทามกลางเสียงดนตรีกับเสียงแกวเหลาไมได ถามีใครไปพูด
เรื่องธรรมะเขา เขาเหลานั้นก็ไมตองการจะฟง และผูพูดอาจจะถูกยิ้มเยาะวาหัวโบราณบาง งมงายบาง แตที่
พูดมาดังนี้ ไมใชปรักปรําพวกหนุม ๆ วาไมดีไปเสียหมด ความจริงที่เขาไมสนใจในเรื่องศาสนา อาจเนื่องดวย
เขายังไมมีความรูพอที่จะสาวหาความจริงจากศาสนาก็ได ตามที่พวกเขาเขาใจ ก็เพียงรูวา ศาสนานั้นสอนแต
เรื่องสวรรค-นรก หรือใชสวรรคมาลอ ใชนรกมาขูเทานั้น นอกนั้นไมมีอะไรอีก ฉะนั้นถาใครไปเลื่อมใสใน
ศาสนาเขา ก็เลยถูกหาวาเปนคนงมงายไป
ศาสนาทั้งหลายในโลกนี้มีอยูดวยกันหลายศาสนา ศาสนาที่ใหญ มีคนนับถือมากมีอยู ๕ ศาสนาดวยกัน คือ
พุทธศาสนา, คริสตศาสนา, อิสลาม หรือ มหมัดศาสนา และ ศาสนาขงจื้อ ศาสนาทั้ง ๕ นี้ เปนเหมือนหนึ่ง
บิดามารดาที่อบรมจิตใจ ตลอดจนถึงศีลธรรมจรรยาใหแกมนุษย ทุก ๆ ศาสนายอมมีจุดมุงหมายมุงที่จะให
มนุษยมีความสุข แตวิธีที่จะบรรลุถึงซึ่งความสุขนั้นแตกตางกัน บางศาสนามีที่คลายคลึงกันทางศีลธรรม สวน
ทางปรัชญาและการปฏิบัติแลว ตางกันอยางไกลลิบ
แตเฉพาะพระพุทธศาสนานั้น มีลักษณะแปลดประหลาดอยูอยางหนึ่ง คือธรรมะของพระพุทธเจาแนบสนิทกับ
แนวคิดอันตองการเหตุผลของพวกหนุม ๆ และเหมาะสมกับจิตใจของมนุษย ไมวาในอดีต, ปจจุบัน หรือ
อนาคต ฉะนั้นจึงมีคําสรรเสริญธรรมะของพระองควา “อกาลิโก” ไมเลือกกาลเวลา ใครปฏิบัติไดเวลาไหน ก็
ใหผลในเวลานั้น ไมตองรอคอยชาติหนาหรือชาติไหน ๆ
คําวา พุทธะ แปลวา “ผูตื่นแลว” เปนนามอันพระศรีศากยมุนีทรงไดรับในฐานะที่พระองคไดเปนผูคนพบความ
จริงที่ประกอบดวยเหตุผล และเปนผูประกาศธรรมะทั้งหลายในศาสนานี้ และสรรพสัตวทั้งหลายก็อาจเปน
พุทธะไดดวยเหมือนกัน ฉะนั้นคําวาพุทธะ จึงมิใชจํากัดแตเฉพาะพระศรีศากยะมุนีพุทธเจาพระองคเดียว ถา
ผูใดอยากเปนพระพุทธเจาบางก็เปนได แตจะตองบําเพ็ญคุณความดีใหเสมอดังพระพุทธเจา “เพราะพุทธภาวะ
นี้เปนคุณชาติอันหนึ่ง ซึ่งตั้งอยูอยางไมรูจักสุดสิ้น และเปนนิจนิรันดร สัตวทั้งหมดก็เปนผูมีสวนรวมของคุณ
ชาติอันนั้น”
(จากหลัก สัทธัมมปุณฑริกสูตร ของพระพุทธศาสนามหายาน)
หลักอันนี้ แสดงใหเห็นวา ธรรมะของพระพุทธศาสนาไมจํากัดบุคคล ชั้นวรรณะ หรือจํากัดความดีใหมีขอบเขต
ดังศาสนาอื่น ซึ่งแมผูใดบําเพ็ญความดีแสนดีเทาไร ก็คงยังตองเปนทาสของพระเจา จะเปนดังพระเจาไมได อีก
ประการหนึ่ง หลักของพระพุทธศาสนาที่สําคัญที่สุดคือ หลักแหงเหตุและผลตามเปนจริง พระพุทธองคผูเปน
พระบรมศาสดาของเรา พระองคทรงเทศนาสั่งสอนตลอดเวลา ๔๕ ปแหงพระชนมายุ ก็เพื่อปลุกใหตื่นจาก
ความงมงายอันไรเหตุผลของมนุษย กอนที่จะเชื่ออะไรนั้น พระพุทธองคตรัสสอนใหพิจารณาหาเหตุผลนั้นกอน
ดังปรากฏใน กาลามสูตร (ติกนิบาต. อัง.) เรื่องมีอยูวา
3
สมัยหนึ่ง พระบรมศาสดาของเราประทับอยู ณ หมูบานแหงหนึ่ง ชื่อวา เกสปุตติยะ ของชาวกาลามะ ๆ
เหลานั้นไดเขาเฝาพระพุทธองค กราบทูลเรื่องวา มีเจาลัทธิศาสนาตาง ๆ ไดสั่งสอนศาสนาในหมูบาน ตางคน
ตางแสดงความเห็นของตนวาถูกตองดี ของผูอื่นผิด ชาวกาลามะมีความสงสัย ไมรูวาจะปฏิบัติในลัทธิใดจึงจะ
ถูกตอง พระพุทธองคตรัสวา
“ดูกอนกาลามชน ! ทานควรสนเทห ควรสงสัย ความสงสัยของทานเกิดขึ้นแลวในที่ควรสงสัย กาลามชน !
ทานอยาไดถือโดยฟงตามกันมา, อยาไดถือโดยเขาใจวาเปนของเกาสืบ ๆ กันมา, อยาไดถือโดยตื่นขาว, อยาได
ถือโดยอางตํารา, อยาไดถือโดเหตุนึกเดาเอา, อยาไดถือโดยใชคาดคะเน, อยาไดถือโดยความตรึกตามอาการ,
อยาไดถือโดยชอบใจวาตองกันกับลัทธิของตน, อยาไดถือเอาโดยเชื่อวาผูพูดควรเชื่อได, อยาไดถือโดยนับถือวา
สมณะผูนี้เปนครูของเรา
ดูกอนกาลามชน ! เมื่อทานใดรูไดดวยตนเองวา ธรรมเหลานี้เปนอกุศล... มีโทษ... ทานผูรูติเตียน... ทําถึงที่สุด
แลวไมมีประโยชน... เปนทุกข กาลามชน ! ทานพึงละเสียเมื่อนั้น ฯลฯ
ดูกอนกาลามชน ! เมื่อใดทานรูไดดวยตนเองวา ธรรมเหลานี้เปนกุศล... ไมมีโทษ... ทานผูรูสรรเสริญ... ทําถึง
ที่สุดแลวมีประโยชน... เปนสุข กาลามชน ! ทานพึงทําสิ่งเหลานั้นใหเต็มที่เถิด”
นี่แหละเปนหลักอันศักดิ์สิทธิ์สําหรับตัดสิน กอนที่จะเชื่อลงในสิ่งใด ๆ และแสดงใหเห็นวา พระพุทธศาสนาให
เสรีภาพในการเชื่อของพวกเราเต็มที่ ไมมีการบังคับวา ไมเอาแลวจะมีผูลงโทษใหตกนรกหมกไหมอยูไมรูสิ้นสุด
อุบัติเหตุอีกเรื่องหนึ่ง อันแสดงถึงความที่พระพุทธองคทรงตองการใหเราทั้งหลายพิจารณาซึ่งเหตุและผลกอน
แลวคอยเชื่อนั้น คือใน อุบาลีวาทสูตร แหงมัชฌิมนิกาย มัชฌิมปณณาสก เรื่องกลาวโดยยอมีวา อุบาลี
คฤหบดี ของเมืองนาลันทา เดิมนับถือศาสนาเชน ซึ่งมี นิครนถนาฏบุตร หรือ มหาวีระเปนศาสดา ตองการ
โตเถียงปญหากับพระพุทธเจา กอนจะไป ไดอวดอางตัวตาง ๆ กับนิครนถนาฏบุตร ผูเปนศาสดาวา จะเอาชนะ
พระพุทธเจากลับมา ครั้นภายหลัง ไดโตเถียงปญหาแลว อุบาลีกลับเลื่อมใสขอถึงพระพุทธ, พระธรรม,
พระสงฆเปนที่พึ่ง พระพุทธเจาตรัสอยางที่ศาสดาของศาสนาอื่นจะไมกลาพูดวา “คฤหบดี ! ทานจงทําการ
ใครครวญกอน การใครครวญกอนแลวจึงทําลง ยอมเปนความดีของคนมีชื่อเสียงดังเชนทาน”
อุบาลีไดฟงแลวเกิดความชื่นชมยินดี ตอบวา “...แมดวยเหตุนี้ก็ทําใหขาพระองคพอใจ ชื่นใจนักตอพระผูมีพระ
ภาค เพราะวาพวกอัญญเดียรถีย (พวกศาสนาอื่น) ไดขาพระองคเปนสาวกแลว, ก็จะพึงยกธงแผนผาขึ้นทั่ว
เมืองนาลันทา แลวประกาศวา ‘อุบาลีคฤหบดีไดถึงความเปนสาวกของพวกเราแลว’ ก็และพระผูมีพระภาคได
ตรัสแกขาพระองคอยางนี้วา ‘คฤหบดี ! ทานจงทําการใครครวญกอน การใครครวญกอนแลวจึงทําลง ยอมเปน
ความดีของคนมีชื่อเสียงดังเชนทาน’
ขาแตพระองคผูเจริญ ! ขาพระองคนี้ ขอถึงพระผูมีพระภาค, พระธรรม และพระสงฆ เปนที่พึ่งครั้งที่ ๒ขอ
พระผูมีพระภาคจงทรงจําขาพระองควา ไดถึงพระรัตนตรัยเปนที่พึ่งเสมอดวยชีวิตตั้งแตวันนี้ไป”
พระพุทธเจาไดทรงเตือนอีก อุบาลีก็ยิ่งเกิดความเลื่อมใสมากขึ้นเพราะตัวยังไมไดเคยพบวา ศาสดาใดที่สอน
แลวมีคนเลื่อมใส กลับตักเตือนใหพิจารณาคนหาเหตุผลดูกอนแลวคอยเชื่อ มีแตพระพุทธเจาเทานั้น พระสูตร
4
นี้ก็แสดงถึงการเชื่ออยางไมงมงาย อันเปนที่ตองการอยางยิ่งของพวกเราชายหนุมทั้งหลาย
ยังมีพระสูตรอีกสูตรหนึ่ง แสดงวาพระพุทธเจาไมไดตองการใหใครเชื่อพระองคอยางงมงาย คือ วัปปสูตร (อัง
คุตรนิกาย จตุกกนิบาต)
“สมัยหนึ่ง พระพุทธเจาประทับที่นิโครธาราม ในหมูชนชาวสักกรัฐ มีเจาศากยะองคหนึ่งชื่อวัปปะ เปนสาวก
ของนิครนถ ไดเขาไปถามปญหากะพระโมคคัลลานะ พอดีพระพุทธเจาเสด็จมา พระมหาโมคคัลลานะ จึงได
กราบทูลเรื่องใหทรงทราบ พระพุทธองคตรัสวา
“วัปปะ ถาทานพึงยอม ขอที่ควรยินยอมแกเรา และพึงคัดคาน ขอที่ควรคัดคาน อนึ่ง ทานยังไมทราบ
เนื้อความแหงภาษิตของเราขอใด ทานพึงยอนถามเราในขอนั้นตอไป วาขอนี้เปนอยางไร ภาษิตนี้มีเนื้อความวา
อยางไร ดังนี้แลว เราก็จะพึงสนทนาปราศรัยกันในเรื่องนี้ได”
พระพุทธเจาของเราทรงเปดโอกาสใหผูไมรู ซักถามไดหรือคัดคานไดอยางไมตองเกรงอกเกรงใจ หรือเกรงวา
ถาขืนคัดคานจะถูกพระองคหรือใครลงโทษ และการที่พระพุทธเจาไดตรัสรูและทรงแสดงธรรมโปรดสัตวนั้น
พระองคไมไดอางวา พระองคเปนผูแทนของใคร หรือใครดลใจใหพูด ความตรัสรูที่ไดนั้นเปนดวยความ
พากเพียรของพระองคเอง ที่พระองคไดบรรลุสัมโพธิญาณ ก็ไมใชวาไดมาอยางลอย ๆ หรือมีใครบันดาล หาก
ดวยความดีงามที่พระองคอุตสาหะบําเพ็ญสั่งสมมาในอเนกชาติ จนสามารถบรรลุคุณธรรมอันนี้ พระองคไมได
ตรัสวา พระองคสามารถลางบาป หรือประทานบุญแกคนทั่วไปได
หากผูใดไมปฏิบัติตามคําสอนของพระองค ๆ ก็ไมสามารถจะทรงชวยได หรือผูใดหันหลังใหพระองค โดยไม
ยอมฟงเสียงใด ๆ จากพระองคแลว พระองคก็ชวยผูนั้นไมได พระองคชวยไดก็เฉพาะผูที่ประพฤติตนดี เชื่อฟง
คําสอนของพระองคแลวปฏิบัติ พระองคตรัสวา พระองคเปนเพียงผูบอกทางใหเราไปถึงที่อันเกษม การไปนั้น
เราจะตองไปดวยตนเอง (คณกโมคคัลลานสูกตร)
มีบางคนเขาใจวา ผูที่จะปฏิบัติตามธรรมในพระพุทธศาสนานั้นตองเปนภิกษุ และธรรมในพระพุทธศาสนา
ลึกซึ้งเกินไป จนตัวผูไมไดบวชเปนภิกษุจะปฏิบัติไมได การเขาใจดังนี้เปนความเขาใจผิดมาก
ความจริงธรรมะของพระพุทธเจานั้น เหมาะกันชนทุกชั้นทุกวัย แตเราจะตองเลือกปฏิบัติ เปรียบเหมือนกับยา
แกโรค เราจะตองรูจักใชมันใหถูกทาง ถาเปนเด็กเราก็กินตามขนาดเด็ก เมื่อเปนผูใหญก็เพิ่มขึ้นตามลําดับ
ธรรมะของพระพุทธศาสนาก็เชนเดียวกัน คือมีแบงเปนสามขั้น ตั้งแตเบื้องตน, กลาง, จนถึงยอดสุด ทั้งสามขั้น
นี้เราอยูในขั้นไหน ก็เลือกประพฤติเอาขั้นนั้น
เมื่อพระพุทธเจาทรงสอนผูครองเรือน หรือผูยังเกี่ยวดวยโลก ทรงสอนวา
“ดูกอนพยัคฆปชชะ ! ทางดี ๔ อยางคือ ไมเปนนักเลงหญิง, ไมเปนนักเลงเหลา, ไมเลนการพนัน, คบคนดี ทั้ง
๔ อยางนี้ ยอมเปนทางเจริญแหงโภคทรัพย” (พยัคฆปชชสูตร)
5
และ “ความเปนผูศึกษามาก, ศิลปะ, ระเบียบวินัยที่ฝกฝนแลวเปนอยางดี, และถอยคําที่เปนสุภาษิต... การ
บํารุงมารดาและบิดา, การสงเคราะหลูกเมีย, การงานทั้งหลายไมอากูล, ขอนี้เปนมงคลอันสูงสุด”
(มงคลสูตร)
นี้คือธรรมะขั้นตน มีศัพทเรียกวา ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน คือประโยชนในปจจุบัน พวกหนุม ๆ ก็สามารถ
ประพฤติปฏิบัติได สวนธรรมขั้นกลางนั้น เรียกวา สัมปรายิกัตถประโยชน ประโยชนในภายหนา เมื่อเรามี
หลักฐานดีเบื้องตนไมงอนแงนคลอนแคลน เราก็ควรบําเพ็ญความดีใหยิ่งขึ้นไปอีก แตถาใครเห็นวาตัวไม
สามารถบําเพ็ญตอไป ก็ขอใหมีความดีในขั้นตนก็ยังดี พระพุทธเจาตรัสเทศนาสั่งสอนสัตว ทรงกําหนดรู
อุปนิสัยของเขาวามีนิสัยไปในทางใด เชนผูใดพอจะสอนในทางศีลธรรมได พระองคก็ทรงตรัสสอนใหอยูใน
กรอบแหงศีลธรรม เพื่อความสุขความเจริญในอนาคตกาลของผูนั้น
ธรรมะขั้นนี้มีอยู ๔ ประการคือ
(๑) สัทธาสัมปทา ถึงพรอมดวยศรัทธา ศรัทธาแปลวาความเชื่อ ความเชื่อในพระพุทธศาสนา ไมใหเชื่องมงาย
ดังกลาวมาแลวขางตน ความเชื่อในที่นี้ หมายถึงความเชื่อในการกระทําของเราวา ทําดีก็ไดดี ทําชั่วก็ไดชั่ว ไมมี
ใครหรือไมมีพระเจาองคใดจะมาสับเปลี่ยนใหดีเปนชั่ว ชั่วเปนดีได
(๒) สีลสัมปทา ถึงพรอมดวยศีล คือ รักษากาย วาจา ใหเรียบรอย มีหลักใหญ ๆ อยู ๕ ขอ เรียกวา เบญจศีล
หรือ ศีล ๕ คือ เวนจากการทําลายชีวิตสัตว, เวนจากการถือเอาของที่เจาของไมไดให, เวนจากการประพฤติผิด
ในกาม, เวนจากการกลาวเท็จ, เวนจากการดื่มน้ําเมา
(๓) จาคสัมปทา ถึงพรอมดวยการบริจาคทาน คือใหเรารูจักความเอื้อเฟอเผื่อแผ ไมเปนคนตระหนี่ เห็นแกตัว
ฝายเดียว
(๔) ปญญาสัมปทา ถึงพรอมดวยปญญา เปนคนมีเหตุผล รูวาสิ่งใดชั่วก็ไมประพฤติ ประพฤติแตสิ่งที่ดี มี
ประโยชน
สวนธรรมขั้นที่สาม เรียกวา ปรมัตถประโยชน หรือประโยชนอยางยอด ธรรมในขั้นนี้ เปนปรัชญาอันสูงสุด
ของพระพุทธศาสนา เหมาะแกผูใฝใจไปในทางปรัชญา หรือธรรมะขั้นสูง พระพุทธเจาทรงสอนวา ทุกสิ่งทุก
อยางในโลกนี้ไมมีตัวตน เรียกวาอนัตตา ไมทรงสอนเรื่องพระเจาผูสรางโลก
สิ่งทั้งหลายยอมเกิดขึ้นตามปจจัยและตามธรรมชาติ และสิ่งใดมีเหตุมีปจจัย สิ่งนั้นยอมไมเที่ยง และเมื่อสิ่งใด
ไมเที่ยง สิ่งนั้นก็เปนทุกข ความเวียนวายตายเกิดในโลกนั้น เรียกวา “วัฏฏสงสาร” เปนทุกข
การที่พูดเชนนี้ ไมใชมองดูโลกในแงราย มีใครบางที่เกิดมาแลวสามารถประกาศวาตนไมเคยมีทุกขเลย
จนกระทั่งวันตาย ทานไมทุกขมาก ก็ทุกขนอย แมพระพุทธเจาเมื่อสมัยพระองคยังไมไดตรัสรู พระองคก็เคย
พบกับความทุกขมาแลว หากพระองคมีพระปรีชา ไมใชรูวาทุกขแลวก็หยุดไวแคนั้น พระองคทรงพยายาม
คนควาสาวหาตนเหตุของมันวามาจากไหน และทรงรีบดับลงเสียได จนพระองคไดตรัสรูเปนพระพุทธเจา และ
6
ทรงสอนผูอื่นใหรูดวย ความทุกขยากตาง ๆ ที่เราไดรับนี้ ตนเหตุที่มาก็คือตัณหา ความอยากนั่นเอง และความ
อยากอันนี้เปนเหตุใหเกิดอุปาทาน ความยึดมั่นในตัวตนวา ของเรา, เปนเรา, เมื่อเกิดความยึดถือในตัวแลว สิ่ง
ภายนอกอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับตัวก็พลอยยึดไวดวย ทีนี้ถาตัวมีความอยากในสิ่งใด แตไมสมอยาก ก็เกิดความ
ทุกข ตลอดจนสิ่งภายนอกของตัวเองดวย
ความจริงรูปรางของเรานี้ ประกอบขึ้นดวยธาตุ ดิน, น้ํา, ลม, ไฟ, และขันธ, อายตนะ, ไมมีสิ่งใดที่จะเรียกไดวา
เปนตัวตน ถาเราแยกมันออกมาทีละชิ้น เหมือนกับการแยกสวนตาง ๆ ของรถ เชน ดินสวนดิน, น้ําสวนน้ํา,
ฯลฯ แลว ก็มีผลวา มันวางเปลา แตที่เห็นเปนรูปเปนราง ก็เพราะสวนตาง ๆ เหลานี้มาคุมกันเขาถูกสวน และ
มีจิตบงการใหรูสึกนึกคิดเทานั้น ความจริงแยกออกแลวไมมีอะไร นอกจากความสูญ, วางเปลา, ไมมีตัวตน
ฉะนั้นการที่เราหลงยึดเอาความวางเปลานี้มาเปนตัวตนเขา ก็เทากับวา เราไปหาทุกขมาใสตัวของเราเอง ใคร
สามารถละความยึดมั่นไดเทาไร ก็มีทุกขนอยลงตามลําดับ จนที่สุด ถาไมยึดมั่นอะไรไวเลย ผลก็คือความเปนผู
ไมมีทุกขอะไรเลย ดังเชนพระพุทธเจาและพระอรหันตทั้งหลาย
ขอใหพวกเราหนุม ๆ พิจารณาดูวา พระพุทธศาสนานั้น สมควรจะเปนศาสนาสากลหรือไม และสมควรที่จะรับ
ปฏิบัติไดแลวหรือยัง ? เราจะหาศาสนาไหนอีกเลาที่เหมาะสมกับชีวิตจิตใจ ตลอดจนความเปนอยูของเรา เชน
พระพุทธศาสนา เราจะเห็นวา พระพุทธศาสนาเทานั้นที่เปนศาสนาสากล และพระพุทธศาสนาเทานั้นที่ไมขัด
กับหลักวิทยาศาสตร พระพุทธศาสนาเทานั้นที่ควรไดรับความยกยอง
ทีนี้ขาพเจาขอพูดถึงมติสวนตัวของขาพเจาบางเล็กนอย วาธรรมะในพระพุทธศาสนานั้น ควรจะไดรับการบรรจุ
ไวในหลักสูตรการเรียนตามโรงเรียน เมื่อสมัยกอนเคยมีอยูพักหนึ่ง แตทําไมกลับเลิกไป? หลักสูตรศีลธรรมชั้น
มัธยมก็มีเคาจากธรรมะในพระพุทธศาสนา เชน ใน สิงคาโลวาทสูตร เปนตน
เราควรจะจัดใหมีการเรียนธรรมะโดยตรง เชน พุทธประวัติ - คิหิปฏิบัติ ไวในชั่วโมงเรียนศีลธรรม
ปจจุบัน เด็กหนุมของเราโดยมาก ไมรูจักแมเพียงประวัติของพระพุทธเจา ขาพเจาเคยไดยินเขาเลามาเรื่องหนึ่ง
วา มีเด็กไทยที่ไปเรียนตางประเทศ ถูกนักบวชตางศาสนาถามวา พระพุทธเจาคือใคร ? เขาตอบไมได ทั้ง ๆ ที่
เขาบอกวาเขาเปนพุทธศาสนิก นี่เปนขออับอายเหลือประมาณในการที่เขาเปนคนไทยซึ่งบูชาพระพุทธศาสนา
เปนศาสนาประจําชาติ เราจงดูตัวอยางของโรงเรียนในยุโรป หรือโรงเรียนของพวกมิชชันนารีในประเทศเรา
การเรียนคัมภีรไบเบิลเปนหลักสูตรสําคัญของโรงเรียนอยางยิ่ง
มีบางคนเลาวา เรียนไปทําไม ธรรมะธรรมโม ไมเห็นมีประโยชน เรียนไปแลวก็ไปประกอบอาชีพอะไรไมได เรา
อยาลืมวา ศาสนาเปนบอเกิดแหงคุณธรรม ศาสนาเปนบอเกิดของความเจริญทางจิตใจ ศาสนาจะทําใหการ
เห็นแกตัวลดนอยลง และสามารถปลูกฝงศีลธรรมอันดีไว อยาลืมวาชาติจะตองอาศัยพลเมือง ถาพลเมืองมี
ศีลธรรม มนุษยธรรมดีแลว ชาติก็ยอมหวังความเจริญ และทายที่สุดก็คือ ศาสนาสามารถทําลายความริษยา
เกลียดชังระหวางชาติได เปนการตัดเหตุแหงสงคราม นี่แหละคือผลแหงศาสนาละ
7
ฉะนั้นเราจึงควรหันมาสนใจในศาสนา ชาติไทยเรามีพระพุทธศาสนาเปนศาสนาประจําชาติ นับวาเปนบุญลาภ
อันยิ่งใหญของเรา เราทั้งหลายจงบํารุงรักษาสมบัติอันยิ่งใหญกวาสมบัติใด ๆ ไว และจงศึกษาธรรมะอัน
ประกอบไปดวยเหตุผล ซึ่งสมเด็จพระศรีศากยมุนีบรมศาสดาของเราไดทรงบรรลุ ณ ควงไมโพธิพฤกษนั้นเถิด.
.....................................
8
เสียงแหงเมตตากรุณา
โดย เสถียร กมลมาลย
(จากธรรมจักษุ เลม ๓๑ ตอนที่ ๑ - ๔ ประจํา ตุลาคม ๒๔๘๘ - มกราคม ๒๔๘๙)
.........................................
เราไดเสนอบทความเรื่อง “พระพุทธศาสนากับคนหนุม” ของยุวชน อายุ ๑๗ ปผูนี้ในธรรมจักษุฉบับสันติภาพ
แลว ในฉบับนี้ ทานจะไดอานเรื่อง “เสียงแหงเมตตากรุณา” ของเขาตอไป อนึ่ง เราขอแจงใหทราบวา ยุวชนผู
นี้ ไดเขียนเรื่องสงใหเราแลวหลายเรื่อง ซึ่งเราจะไดนําลงเสนอผูอานตามโอกาสอันควร
สพฺเพ สตฺตา สุขี โหนฺตุ
ขอสรรพสัตวทั้งหลายจงมีสุขเถิด
เสียงอันไพเราะ เต็มไปดวยความรักใครเอ็นดูในสรรพสัตว ไดเปลงออกจากโอษฐของพุทธศาสนิกชน
ทั้งหลาย ในฐานะที่เปนสาวกของพระสัมมาสัมพุทธะ เจาแหงมหาเมตตามหากรุณา ไมเพราะความเมตตา
กรุณาอันนี้หรือที่พระศรีศากยมุนีในชาติหนึ่ง เปนดาบสชื่อ สุเมธะ ไดตั้งปณิธานอันยิ่งใหญ เฉพาะพระพักตร
พระทีปงกรพุทธเจาวา จะขอยอมตนลําบากในการสรางสมอบรมความดีตาง ๆ เพื่อใหไดบรรลุถึงพระ
อภิสัมโพธิญาณ แลวจะไดชวยสรรพสัตวใหพนทุกข หลังจากไดฟนฝาอุปสรรคเครื่องขัดขวางการบรรลุวิโมกข
ธรรมของพระองคสําเร็จแลว พระองคก็ไดทรงแสดงธรรมที่ ไพเราะในเบื้องตน, ไพเราะในทามกลาง, ไพเราะ
ในที่สุด ปลุกสรรพสัตวใหตื่นจาก “กิเลสนิทรา” และประทานฝนอมฤตตกลงดับเพลิง คือ ราคะ, โทสะ, โมหะ,
ใหมอดดับไป รอยแหงเมตตากรุณาของพระองค เราจะเห็นไดจากเรื่องชาดก อันเปนประวัติบรรยายถึงความดี
ตาง ๆ ประการที่พระองคไดทํามา
นอกจากนี้ เรายังจะพบรอยแหงเมตตากรุณาของพระองคอีกในประวัติศาสตรแหงภารตวรรษ (อินเดีย) สมัย
เมื่อพระพุทธเจายังไมอุบัติ ประชาชนสวนมากตกเปนทาสของคําสอนอันปราศจากความกรุณาของพวก
พราหมณ ผูเปนศาสดาจารยแหงลัทธิพิธีที่ตองใชการฆาสัตวกระทําพลี สัตวตาง ๆ มีแพะ แกะ หรือ บางทีก็มี
มนุษยเปนเครื่องพลีที่ดีที่สุด ใครจะทําพลีหรือลางบาป ก็ตอง “บูชายัญดวยชีวิต” โลหิตวารีไดไหลนองทวมทน
ทั้งแผนดิน เสียงคร่ําครวญของเหลาสัตวที่จะถูกฆาก็ระงมไปทั่ว
แตเมื่อพระพุทธเจาอุบัติขึ้นแลว ตรัสวจนะนี้วา “สัตวทั้งหลายยอมหวาดตออาชญาทั้งสิ้น ชีวิตเปนที่รักของ
สัตวทั้งหมด คนควรทําตนใหเปนอุปมาแลว ไมควรประหารเอง ไมควรใชใหประหาร” และในสมัยนั้น พวก
พราหมณเรียกตนเองวา อริยะ แปลวาผูเจริญ แตพระพุทธเจาตรัสวา “บุคคลยังเบียดเบียนสัตวทั้งหลายอยู
เพราะเหตุใด จะชื่อวาเปนอริยะเพราะเหตุนั้นหามิได บุคคลที่เราเรียกวาอริยะ เพราะความไมเบียดเบียนสัตว
ทั้งปวง” และพระองคไดวางกฎไวสําหรับสาวกของพระองค ขอแรกที่สุด (หมายถึงศีล ๕) วา “ไมประหารชีวิต
9
สัตวใหลวง” ดวยพุทธวจนะอันศักดิ์สิทธิ์นี้เอง ไดชวยชีวิตสัตวทั้งหลายใหพนจากการถูกประหาร โลหิตวารีได
ถูกน้ําแหงมหาเมตตากรุณาชําระลางแลว เสียงคร่ําครวญกลับกลายเปนเสียงเสดงความรื่นรมยแลว
อีกขอหนึ่งคือเรื่องวรรณะ พวกพราหมณไดแบงชั้นของมนุษยออกโดยสวนใหญ ๆ ๔ ชั้นดวยกัน คือ ชั้น
กษัตริย, พราหมณ, พอคาวาณิช, กรรมกรหรือศูทร และอีกพวกหนึ่งซึ่งมีสภาพเกือบไมใชเปนมนุษย คือ
จัณฑาล พวกศูทร กับ จัณฑาลเปนพวกที่นาสงสารที่สุด ไมไดรับเสรีภาพชนิดที่มนุษยจะพึงมี ที่อยูตองอยูกัน
เปนพวก ๆ ไมกลาปะปนกับพวกวรรณะสูงกวา บางที่ตองไปตั้งหลักแหลงกันนอกเมือง จะไปไหนมาไหน ตอง
มีเครื่องหมายแสดงใหเขารูวาตนเปนศูทร หรือ จัณฑาล เวลาเดินไปมา ตองระวังไมใหถูกตองกับพวกวรรณะ
สูง โดยเฉพาะพวกพราหมณเห็นพวกนี้ไมได ถือวาไมเปนมงคล และถาบังเอิญไปถูกพวกนี้เขา ก็ตองมีการชําระ
ลางมลทินกันใหญโต พวกเหลานี้เวลาจะซื้อของกินของใชจากพวกวรรณะสูงกวา ตองใหเขาโยนใหดังนี้
แตมาถึงสมัยพระพุทธเจา พระพุทธเจาตรัสวา คนเราจะสูงต่ํา ไมใชอยูที่วรรณะเลย ที่แมอยูที่ความประพฤติ
ตางหากถาพวกพราหมณหรือพวกวรรณะอื่น ๆ ที่ประพฤติตนเลวทราม ก็ต่ํายิ่งกวาพวกศูทรหรือจัณฑาลที่
ประพฤติดีเสียอีก พระองคเคยโตตอบปญหาเรื่องวรรณะกับหัวหนาพราหมณหลายคน จนพวกพราหมณยอม
แพ บางคนถึงกับขอบวชเปนภิกษุก็มี ผูที่จะมาสูธรรมวินัยของพระพุทธเจาตองไมถือชั้นวรรณะ ตัวอยาง
พระพุทธเจาทรงบัญญัติใหภิกษุผูมีอาวุโสนอย ตองเคารพออนนอมตอภิกษุชั้นเถระที่มีอาวุโสสูงกวา พวกศูทร
และจัณฑาลจึงไดรับเสรีภาพและสมภาพสมบูรณขึ้น
ยังอีกเรื่องหนึ่ง คือเรื่องทาส พระพุทธเจาทรงบัญญัติไมใหภิกษุคาทาส ทรงชี้ความไมดีของการคาทาสวาชั่ว
เพียงไร และทรงจัดการคาทาสนี้เปนมิจฉาอาชีวะ อันพุทธศาสนิกไมควรทํานี้ดวย นี้คือรอยแหงเมตตากรุณา
ของพระศากยมุนีพุทธเจาที่ไดทรงประทับไวใหแกโลก เราจะคนหารอยของเมตตากรุณาไดอีกในประวัติศาสตร
นักศึกษาประวัติศาสตรทุกคนเชื่อวาคงมีความทึ่งในการที่ พระเจาอโศกมหาราช แหงปาฏลีบุตร ผูมีอาณาเขต
กวางขวางใหญโต ทําสงครามชนะแทบทุกแควนในอินเดีย ไดยอมสละอาวุธ หันมาดําเนินตามวิถีของ
พระพุทธเจา เหตุที่เปลี่ยนใจของมหาราชองคนี้ เราจะพบในศิลาจารึกดังนี้ “เมื่อพระเจาเทวานัมปริยทรรศิน
(อโศก) ราชาภิเศกแลวแปดป ก็ปราบไดแควนกลิงค ไดเชลยจากที่นั้น หนึ่งแสนหาหมื่น ฆาเสียที่นั้นหนึ่งแสน
และหลายเทา คนมากหลายไดตาย ตั้งแตไดแควนกลิงคจนตราบเทา ณ บัดนี้ พระเจาเทวานัมปริยก็นอมแนวสู
ธรรม, ใครธรรม, และธรรมานุศาสน นั้นคือความกําสรวลสลดของพระเจาเทวานัมปริยที่ไดปราบกลิงค “ที่แท
การพิฆาตฆา ความตายและการจับคราซึ่งประชาชน อันพึงมีเมื่อประเทศไมถูกปราบไดถูกปราบนั้น พระเจาเท
วานัมปริยทรงตระหนักวาเดือดรอนและนาสังเวชแสนสาหัส”
.....พระเจาเทวานัมปริยทรงปรารถนาใหแกสรรพสัตว ซึ่งความไมประทุษราย ความสังวรตน ความประพฤติ
สม่ําเสมอและความสุภาพ รอยแหงเมตตากรุณาของมหาราชองคนี้ เราก็จะไดพบในศิลาจารึกตอไปวา “ทุกหน
ทุกแหงในราชอาณาจักรของสมเด็จพระปยะและธีรมหาราชา และทั้งดินแดนของผูที่อยูติดพระราชอาณาเขต
ของพระองค... ทุกหนทุกแหง มีสถานที่ทําการรักษาโรคของสมเด็จพระปยะและธีรมหาราชา ๒ ชนิด คือการ
รักษาโรค จัดทําไวสําหรับคน และการรักษาโรคทําไวสําหรับสัตว ยาสมุนไพรดวย ยาสมุนไพรสําหรับทั้งคน
และสัตว แหงใดไมมี ก็ไดนําเขาไปและปลูกขึ้นไว, รากเหงาดวย, และลูกไม ณ ที่ใดขาดแคลน ก็ไดนําเขาไป
และปลูกขึ้นไวตามถนนหนทางเหมือนกัน ไดจัดการขุดบอน้ําและปลูกตนไมสําหรับความสําราญของคนและ
สัตว ลูกไม ณ ที่ใดขาดแคลน ก็ไดนําเขาไปและปลูกขึ้นไวตามถนนหนทางเหมือนกัน ไดจัดการขุดบอน้ําและ
10
ปลูกตนไมสําหรับความสําราญของคนและสัตว (ขอความในศิลาจารึกคัดจากเรื่อง เมืองทอง ของ ขุนศิริวัฒน
อาทร และของ พระยาประมวลวิชาพูล) นอกจากนี้ พระเจาอโศกยังทรงเปนอัครศาสนูปถัมภกในการ
สังคายนาพระไตรปฎกครั้งที่ ๓ ดวย นี้คือการแผอานุภาพซึ่งจะเอาชนะใจของชาวโลกทั้งหมดได
มีบางคนกลาววา คนที่มีเมตตากรุณา คือคนออนแอ คอยเปนผูแพ ไมมีลักษณะของความกลาหาญ ขอใหผู
เขาใจดังนี้จงเขาใจเสียใหม คําวาเมตตาหมายความวา เราปรารถนาที่จะใหสรรพสัตวมีความสุขสบาย สวน
กรุณาหมายถึง ถาสรรพสัตวมีความทุกขยาก เราจะชวยเหลือปลดเปลื้องความทุกขใหหมดไป ไมมีขอใดแสดง
ความออนแอหรือไมกลาหาญเลย
ผูที่จะอบรมความดีเพื่อการบรรลุพุทธภูมินั้น ในบรรดาความดีทั้งหมด ก็ตองมีขอเมตตาบารมีดวย ซึ่งนัยเปน
ความดีขอที่ ๙ และในขณะเดียวกันก็ปรากฏวา มีวิริยบารมี ความขยันหมั่นเพียรเปนที่ ๕ ขันติบารมี ความอด
กลั้นตอสิ่งทั้งปวงเปนขอที่ ๖ สัจจบารมี การพูดจริง เปนขอที่ ๗ และอธิษฐานบารมี ความตั้งใจมั่นคง เปนขอ
ที่ ๘ ดังนี้ จะหาวา พระโพธิสัตวทานออนแอ ทอแทไดอยางไร ?
มนุษยที่ออนแอคนไหนบางที่สามารถอดทน เพียรกอสรางบารมีตาง ๆ ซึ่งตองใชเวลานานถึง ๔ อสงไขยแสน
กัลป บางครั้งถึงกับตองสละชีวิตเพื่อรักษาความดีนั้น ๆ ไว ถาหากไมใชคนกลาหาญใจเด็ดเดี่ยวเชนพระมหา
สัตว คนที่มีเมตตากรุณา คือ คนไมเห็นแกตัว เขาจะทําสิ่งไร ๆ ลงไป เขาจะตองมองดูผลของมันกอน วาจะ
เปนผลดีหรือไมดี ตอคนทั่วไปหรือไม จะทําใหเขาตองรอนตัว รอนใจหรือไม ถาผลไมดีเขาก็ไมทํา เขาทําแตสิ่ง
ที่มีผลดีมีประโยชน
ทานผูหนึ่งไดแปลสุภาษิตฝรั่งบทหนึ่ง ผูเขียนไดอานพบดังนี้วา “คนกลาหาญที่สุด ยอมออนหวานที่สุด คนที่
เปนผูดีที่สุด ยอมออนโยนที่สุด” (The bravest is tenderest. The noblest is humblest.) คนมีเมตตา
กรุณา ก็คือคนที่ออนโยน หวานเสมอ ไมรูจักโกรธ, ใจหนักแนน, หรือมีน้ําใจเปนนักกีฬาแท, ไมเอารัดเอา
เปรียบเพื่อนมนุษยดวยกัน นี้คือลักษณะผูมีเมตตากรุณา
มีคนถามวา คุณประโยชนของเมตตากรุณามีอะไรบาง ? ขอตอบวา ประโยชนนะหรือ มีมากมายเหลือเกิน แต
ประโยชนขออื่นจงยกไวกอน เรามาพิจารณาดูประโยชนของขอที่วา เมตตากรุณา คําสองคํานี้ สามารถหาม
สงครามหรือทําใหโลกไมตองมีสงครามได มหาสงครามโลกครั้งที่สองนี้ เปนบทเรียนที่ดีของพวกผูนําแตละ
ประเทศ เปนบทเรียนที่ดีของพวกชอบสงคราม และเปนบทเรียนที่ดีของมนุษยทั้งหมดดวย เพียงแตความ
ทะเยอทะยานของมนุษยไมกี่คน ไดพาโลกทั้งโลกตองลุกเปนไฟประลัยกัลปขึ้น ตามปกติมนุษยเราก็ถูกไฟ
ภายใน คือ ราคะ, โทสะ, โมหะ เผาอยูทุกวันแลว ยังจะถูกไฟภายนอกมาเผาทับอีก สงครามทุก ๆ ครั้ง มีผลที่
ไดอยางแนแททั้งฝายผูแพหรือผูชนะ คือ พอจากลูก, ลูกจากแม, สามีจากภรรยา ฯลฯ และเสียงคร่ําครวญของ
แมที่ร่ํารองถึงบุตรที่ตายไป, ภรรยาคร่ําครวญถึงสามี, บุตรคร่ําครวญถึงบิดา, คร่ําครวญถึงญาติพี่นอง, ถึง
ทรัพยสมบัติตาง ๆ ที่ไดเสียหายไป พวกชนะก็กอเวร พวกแพก็ทุกขตรอมใจ (ตามนัยสุภาษิต) นี่คือผลของ
สงคราม อาจมีผูแยงวา ผลสงครามของฝายชนะ คือไดดินแดน ทรัพยสมบัติ, เกียรติ ฯลฯ แตเราตองตรองดูวา
ดินแดน ทรัพยสมบัติ ตลอดจนเกียรติยศ, เกียรติศักดิ์, ชื่อเสียงอะไรเหลานี้นะ เราเชื่ออยางแนนอนแลวหรือวา
เปนของเราตลอดไปไมมีวันเปลี่ยนแปลงไดเลย ? ทุกสิ่งในโลกเปนอนิจจัง วันนี้ชื่อเสียงเกียรติยศเปนของเรา
พรุงนี้อาจเปนของเขา วันนี้เรามีอํานาจที่จะสั่งใหตัดหัวคนได พรุงนี้เราอาจกลายเปนคนที่จะถูกตัดหัวเอง
11
ประวัติศาสตรเปนตัวอยางที่ดีที่สุดในเรื่องนี้ ประเทศตาง ๆ ที่มีความเจริญในสมัยโบราณกาล ปจจุบันนี้เปน
อยางไร ? กาวแรกเราจงระลึกถอยหลังไปสูอดีต เมื่อสมัย ๖,๐๐๐ ป สมัยที่บานเมืองแถบลุมแมน้ําไตกริสกับยู
เฟรตีส และลุมแมน้ําไนลกําลังรุงเรือง เชน อียิปต, สุเมอเรียน, บาบิโลน, อัสสิเรียน, เฟนิเชียน เราไมลืมสมัย
เจริญของพระเจาฮัมมูราบีแหงบาบิโลน, ไมลืมรัชสมัยของพระเจาไซรัสแหงเปอรเซีย ไมลืมกรีกและบุคคล
สําคัญอีกคนหนึ่งของกรีก คือ พระเจาอเล็กซานเดอรมหาราช ผูมีอาณาเขตอันกวางใหญไพศาล ไมลืมจีนในรัช
สมัยพระเจาฉิงสื่อหวง ผูสรางกําแพงยักษ, ไมลืมพระเจาถางไถจง และดินแดนตาง ๆ ที่พระองคตีได ไมลืมทัพ
อันมีพลานุภาพพิเศษของพระเจาออคโกไดขาน และกุบไลขาน (เวี๋ยนสือจู) ทัพมงโกลของพระองคสามารถตีได
เปอรเซีย, จีน, อินเดียภาคเหนือ, อาฟกานิสถาน, ตุรกีสถาน อาหรับและบุกเขาไปถึงยุโรป ไดรัสเซีย, ฮังการี,
จนจดแดนเยอรมันและจดฝงทะเลเอเดรียติค ไมลืมความรุงโรจนของอินเดียสมัยพระเจาอโศกมหาราช, พระ
เจาศีลาทิตย, พระเจาอักบาร, ไมลืมพระเจานโปเลียนของฝรั่งเศส, ใกลเขามา เราไมลืมความรุงโรจนของสุ
มาตราในสมัยกรุงศรีวิชัย, ไมลืมอํานาจของเขมรในสมัยนครธม, นครวัต, จนที่สุดเราไมลืมความสามารถของ
พระเจาอโนรธา, บุเรงนอง, และอลองพญาของพมา แตมาบัดนี้ สิ่งเหลานี้ไดผานไปอยางไมมีความเที่ยงแท
เปนแตเพียงประวัติที่เขาบันทึกลงไวสําหรับใหชาวโลกในกาลตอมาไดรูไดเห็น หลังจากการสิ้นพระชนมของ
พระเจาอเล็กซานเดอรมหาราช ดินแดนตาง ๆ ที่พระองคตีไดเปนอยางไร ? ใครเลยจะนึกบางวา พระเจานโป
เลียนมหาราชของฝรั่งเศสตองถูกจับขังไวบนเกาะ และสิ้นพระชนมในที่คุมขัง ณ บนเกาะนั้น เขมร พมาเดี๋ยวนี้
เปนอยางไร ?
การที่จะซื้อเอาชื่อเสียง เกียรติยศหรือดินแดน ทรัพยสินตาง ๆ ซึ่งเปนของไมเที่ยง บางทีมีไมตลอดชีวิตของเรา
ดวยการเอาชีวิตมนุษยไปพลาเลน แลกเอามานั้นเปนของนาติเพียงไร มนุษยเราขาดหลักสําคัญคือความเมตตา
กรุณาไปเสีย จึงไดมีการรบราฆาฟนกัน ถาเรามีเมตตากรุณาตอกันและกัน รูจักการใหอภัย ไมอาฆาตจองเวร
คอยชวยเหลือซึ่งกัน เห็นมนุษยทั้งหลายเปนพี่นองญาติสาโลหิตเดียวกัน ไมมีศัตรูเพราะไมมีผูใดเปนศัตรูเรา
และเมื่อใดผูนําของประเทศตาง ๆ ไดยอมละการแผอํานาจแบบเดชานุภาพ มาเปนแผแบบความรักอันไมมี
ขอบเขตจํากัดคือเมตตานี้ และเมื่อใดที่รัฐประศาสนทั้งหมดไดดําเนินไปตามหลักของพระพุทธศาสนา ก็เปนอัน
หวังไดอยางแนนอนวา สงครามจะไมมีแลว โลกอันกอปรไปดวยเพลิงทุกข ความเห็นแกตัวก็จะลดนอยสงบลง
กวาแตกอนมาก ดังพระพุทธภาษิตวา “ความไมเบียดเบียนคือความสํารวมในสัตวทั้งหลาย เปนสุขในโลก”
และทานนิจิเร็นโชนิน คณาจารยเอกของนิกายเท็นได ไดกลาววา “เมื่อใดกฎหมายของรัฐแกไขไปจนตรงกับ
หลักธรรมในพระพุทธศาสนา ในขณะนั้นจะบรรลุรุงอรุณแหงสุวรรณสมัย” ขอมนุษยทั้งหลายจงชวยกันปาว
ประกาศเสียงแหงเมตตากรุณาดังนี้วา
“ขอสัตวทั้งปวง จงเปนผูมีสุข มีความเกษม มีตนถึงความสุขเถิด สัตวมีชีวิตทั้งหลายเหลาใดเหลาหนึ่งมีอยู ยัง
เปนผูสะดุง (คือมีตัณหา) หรือ เปนผูมั่นคง (คือไมมีตัณหา) ทั้งหมดไมเหลือเหลาใด ยาวหรือใหญ หรือปาน
กลาง หรือสั้น หรือผอมพี เหลาใดที่เราเห็นแลว หรือมิไดเห็น เหลาใดอยูในที่ไกล หรือที่ไมไกล ที่เกิดแลว หรือ
กําลังแสวงหาความเกิดก็ดี ขอสัตวทั้งปวงเหลานั้น จงเปนผูมีตนถึงความสุขเถิด สัตวอื่นอยาพึงขมเหงสัตวอื่น
อยาพึงดูหมิ่นอะไร ๆ ที่เขาในที่ไร ๆ เลย ไมควรปรารถนาทุกขแกกันและกัน เพราะความกริ้วโกรธและเพราะ
ความคุมแคน มารดาถนอมลูกคนเดียว ผูเกิดในตน ดวยยอมพราชีวิตไดฉันใด พึงเจริญเมตตามีในใจไมมี
ประมาณในสัตวทั้งปวงแมฉันนั้น”
(จากกรณียเมตตสูตร สวดมนตแปล ฉบับมหามกุฎราชวิทยาลัย)
12
“ดวงชีพทั้งหลาย ! ขอทานทั้งปวงจงมีเมตตากรุณาในสรรพสัตวทั้งหลายเถิด ทานจงละความอาฆาตจองเวร
เสีย อยาไดผูกโกรธกับผูใดเลย เพราะการผูกโกรธโดยคิดวา เราจะตองแกแคนเขาดังนี้ นักปราชญทั้งหลาย มี
พระพุทธเจาเปนตน ยอมไมสรรเสริญ เวรานุเวรใด ๆ ในโลกนี้ จะสงบลงไปได ก็ดวยการไมจองเวร
ดวงชีพทั้งหลายเอย ! ทานอยาไดเบียดเบียนสัตวทั้งหลายผูเปนเพื่อนรวมโลกของทานเลย ในสังสารวัฏฏอัน
ไมมีที่สิ้นสุดนี้ ทานและเขาไดถูกหมุนเวียนไปเรื่อย ชีวิตเปนของนอยอยูแลวดวยถูกความเจ็บความตายคอย
ประหารอยู ไมควรที่จะชวยตัดรอนใหมันสั้นเขาอีก ทานมีความหวาดกลัว ในเมื่อทานจะถูกประหาร หรือทาน
มีความคับแคนใจในเมื่อทานถูกเบียดเบียนฉันใด สัตวทั้งหลายก็ฉันนั้นเหมือนกัน ทานตองการมีความสุขฉันใด
สัตวทั้งหลายก็ฉันนั้น ดวงชีพทั้งหลาย ! เพราะเหตุนั้นแล ทานทั้งปลายจงแผความรักที่เปนธรรม คือเมตตา
กรุณาในเขาเหลานั้น ตลอดถึงศัตรูของทานดวย และแลวสรรพสัตวในโลกทั้งหมดก็คือภราดรของทานเอง แลว
นั่นคือกาวแรกที่ทานไดกาวขึ้นสู ‘วิถีแหงสัจจธรรม’ ซึ่งสมเด็จพระศรีศากยมุนีพุทธเจาผูเปนนาถะแหงไตร
โลกไดตรัสไว”
๑๒ กันยายน ๒๔๘๘
............................................
13
ประวัติพระไตรปฎก ฉบับจีนพากย
เรียบเรียงโดย อ.เสถียร โพธินันทะ
......................................................
เมื่อประเทศไทยไดประกอบรัฐพิธีเฉลิมฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษ รัฐบาลของพระบาทสมเด็จพระ
เจาอยูหัว ไดเชิญผูแทนพุทธบริษัทนานาชาติทั่วโลก มารวมอนุโมทนาในมหากุศลกรรมนี้โดยพรอมเพรียงกัน
ผูแทนพุทธบริษัทจีนคณะชาติที่ไตหวัน มีพระสมณาจารยกานจูฮูตุกตู ชาวมงโกล เปนประธาน พระสมณะอิน
สุ อาจารยใหญแหงสํานักปริยัติ ธรรมฟูเยนฯ เปนรองประธานพรอมดวยคณะผูติดตามอีก ๗ ทาน ไดอัญเชิญ
พระไตรปฎกฉบับจีน ๒ จบมาดวย และไดทําพิธีมอบเปนธรรมบรรณาการ แกสภาการศึกษามหามกุฏราช
วิทยาลัยจบหนึ่ง มอบแกมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดมหาธาตุอีกจบหนึ่ง ในฐานะเปนสถาบันศึกษา
พระพุทธศาสนาสูงสุด ๒ แหงของประเทศไทย พระไตรปฎก ฉบับนี้เปนของถายพิมพจากฉบับญี่ปุน ไดเริ่ม
พิมพเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๘ โดยสํานักวัฒนธรรมพุทธศาสนาแหงประชาชาติจีนเมืองไทเป จบหนึ่งมี ๒,๒๓๖ คัมภีร
คิดเปนผูกได ๙,๐๐๖ ผูก เปนสมุดพิมพ ขนาดเอ็นไซโคลปเดีย ๕๕ เลมใหญหนามาก นับวาพระไตรปฎกฉบับ
นี้ เปนผลงานของชาวพุทธบริษัทฝายมหายานที่ใหมที่สุด ถึงแมวาอาศัยถายพิมพมาจากฉบับญี่ปุนคือฉบับ
ไดโช ก็จริง แตพระไตรปฎกฉบับญี่ปุนคือไตรปฎกจีนนั่นเอง เพราะญี่ปุนรับพระพุทธศาสนาไปจากจีน ชนิด
ถายเอาตัวอักษรไปดวย แตโดยที่ญี่ปุน เขาใจเก็บรวบรวมเกงกวาจีน ฝายจีนซึ่งเปนเจาของเดิม จึงกลับตองไป
อาศัยของเขามาถายพิมพ ผูเขียนซึ่งมีหนาที่บรรยายวิชาประวัติศาสตรพระพุทธศาสนาสากล และโดยเฉพาะ
ลัทธิมหายานในสภาการศึกษาฯ จะขอถือโอกาสคนควาประวัติปฎกจีนพากยฉบับนี้มาเลาสูกันฟง
เมื่อพระพุทธศาสนาไดแพรหลายออกไปในนานาประเทศ เริ่มแตรัชสมัยพระเจาอโศกมหาราช และ
ขยับขยายแพรหลายตอเนื่องกันตอมาจนกระทั่งพระพุทธศาสนาสิ้นสูญจากอินเดีย ประเทศตางๆ ซึ่งยังรับชวง
พระสัทธรรม กลับปรากฏวาเปนแหลงเจริญของพระพุทธศาสนาแทนที่มาติภูมิ แกนสําคัญของ
พระพุทธศาสนาที่จะเปนเหตุใหเจริญตั้งมั่นอยูไดก็อยูที่พระธรรมวินัย ปรากฏวาพระธรรมวินัยที่แพรหลายไป
ในดินแดนตางๆ หาได เสมอเหมือนกันไม จําแนกออกเปน ๓ ประเภทใหญๆ คือ
๑. พระธรรมวินัยที่ถือภาษามคธ หรือบาลีเปนหลัก มีลัทธิเถรวาทในพระพุทธศาสนาฝายสาวก
ยานเปนฝายประกาศเจริญแพรหลายในลังกา, ไทย, พมา, เขมร และลาว พระไตรปฎกของ
ประเทศทั้ง ๕ จึงเหมือนกัน
๒. พระธรรมวินัยที่ถือภาษาสันสกฤตเปนหลัก มีลัทธิมหายานและนิกายสรวาสติวาทิน ซึ่งเปน
นิกายหนึ่งของฝายสาวกยานเปนฝายประกาศเจริญแพรหลายในประเทศจีน แตจีนมิไดรักษา
ตนภาษาเดิมไว เอามาแปลถายไวในภาษาจีนหมด แลวจึงแพรหลายตอออกไปในเกาหลี,
ญี่ปุน และญวน
๓. พระธรรมวินัยที่ถือภาษาสันสกฤตเปนหลักเหมือนประเภทที่ ๒ และเปนลัทธิมหายานดุจกัน
แตประกาศหนักไปในนิกายมนตรยาน อันเปนสาขาหนึ่งของมหายาน เจริญแพรหลายใน
14
ประเทศธิเบต และแปลสูภาษาธิเบตแลวหมด จากธิเบตจึงแพรตอออกไปในมงโกเลีย และ
มานจูเรีย
พระธรรมวินัยทั้ง ๓ ประการนี้ ถาจะวาโดยชัดแจงแลว กลาวไดวาคือพระไตรปฎกภาษาบาลี,
พระไตรปฎกภาษาจีน และพระไตรปฎกภาษาธิเบตนั่นเอง พระไตรปฎกภาษาจีนมีลักษณะพิเศษกวางขวาง
โอบอุมเอาคติธรรมตางๆ ในพระไตรปฎกบาลีกับธิเบตไว ดวยคือมีปกรณลัทธินิกายสําคัญในพระพุทธศาสนา
ไมจํากัดเฉพาะลัทธิมหายานเทานั้น ลักษณะนี้พระไตรปฎกบาลีหามีไม สวนพระไตรปฎกธิเบตถึงมีอยูบางก็ยัง
นอยกวาฝายจีน ฉะนั้น พระไตรปฎกจีนจึงเปนธรรมสาครอันยิ่งใหญที่สุดของพระพุทธศาสนา ในที่นี้จะยก
อุทาหรณปกรณสําคัญของตางนิกายที่มีในพระไตรปฎกจีนมากลาว เชนหมวดพระวินัยปฎก มี:
๑. ทศภาณวารสรวาสติวาทวินัย ๖๐ ผูก พระวินัยปฎกของนิกายสรวาสติวาทิน แปลสูภาษาจีนโดย
พระปุณยาตระ, พระกุมารชีพ, พระธรรมรุจิ, พระวิมลรักษ รวม ๔ รูป เมื่อ พ.ศ. ๙๔๗ - ๙๕๐ ตอมาสมณะอี้
จิงไดแปลวินัยปกรณของนิกายนี้อีก ๑๕ ปกรณ ซึ่ง สวนมากเปนเรื่องปลีกยอย วาดวยเรื่องอุปสมบทกรรม,
การจําพรรษา, เภสัชชะและเรื่อง สังฆเภทเปนตน
๒. จตุรอัธยายธรรมคุปตวินัย ๖๐ ผูก พระวินัยปฎกของนิกายธรรมคุปตแปลสูภาษาจีน โดยพระ
พุทธยศ เมื่อ พ.ศ. ๙๕๓
๓. มหาสังฆิกวินัย ๓๐ ผูก พระวินัยปฎกของนิกายมหาสังฆิกะ แปลสูภาษาจีนโดย พระพุทธภัทรกับ
สมณะฟาเหียน เมื่อ พ.ศ. ๙๖๓ - ๙๖๕
๔. ปญจอัธยายมหิศาสกวินัย ๓๐ ผูก พระวินัยปฎกของนิกายมหิศาสกะ แปลสูภาษาจีน โดย พระ
พุทธชีวะ กับ สมณะเตาเซง เมื่อ พ.ศ. ๙๖๖
๕. สมันตปาสาทิกาวินัยอรรถกถา ๑๘ ผูก เปนอรรถกถา พระวินัยปฎกนิกายเถรวาท แปลสู
ภาษาจีนโดยพระสังฆภัทร เมื่อ พ.ศ. ๑๐๓๒ แตเปนฉบับยอไมมีพิสดาร เชน ตนฉบับบาลี
๖. ปาฏิโมกขศีลสูตร ของนิกายกาศยปยะ เปนเพียงหนังสือสั้นๆ มิใชพระวินัยปฎกทั้งหมด
หมวดพระสุตตันตปฎก ถือตามมติของศาสตราจารยเหลียงฉีเชา ก็มี:
๑. เอโกตตราคม ๕๑ ผูก คือ อังคุตตรนิกายของนิกายสรวาสติวาทิน แปลสูภาษาจีนโดยพระธรรม
นันทิ เมื่อ พ.ศ. ๙๒๗
๒. มัธยามาคม ๖๐ ผูก มัชฌิมนิกาย ของนิกายสรวาสติวาทิน แปลสูภาษาจีนโดย พระสังฆรักษกับ
พระสังฆเทวะ เมื่อ พ.ศ. ๙๔๑
๓. ทีรฆาคม ๒๒ ผูก ทีฆนิกายของนิกายธรรมคุปต แปลสูภาษาจีน โดยพระพุทธยศเมื่อ พ.ศ. ๙๕๖
15
๔. สังยุกตาคม ๕๐ ผูก สังยุตตนิกายของนิกายมหิศาสกะ แปลสูภาษาจีน โดยพระคุณภัทรเมื่อ พ.ศ.
๙๘๖
สวนประเภทพระอภิธรรมปฎก และคัมภีรประเภทศาสตรหรือปกรณวิเศษของนิกายตางๆ ก็มีอุดม
เชน อภิธรรมสังคีติบรรยายปาทศาสตร ๒๐ ผูก, อภิธรรมสกันธปาทศาสตร ๑๒ ผูก, อภิธรรมวิชญานกายปาท
ศาสตร ๑๖ ผูก, อภิธรรมปกรณะปาทศาสตร ๑๘ ผูก, อภิธรรมมหาวิภาษาศาสตร ๒๐๐ ผูก, อภิธรรมนยายนุ
สารศาสตร ๘๐ ผูก, อภิธรรมปกรณศาสนศาสตร ๔๐ ผูก, อภิธรรมหฤทัยศาสตร ๔ ผูก, สังยุกตาภิธรรมหฤทัย
ศาสตร ๑๑ ผูก, ปกรณเหลานี้เปนของนิกายสรวาสติวาทิน, อภิธรรมโกศศาตร ๒๐ ผูก, คัมภีรนี้ระคนดวยลัทธิ
ในนิกายสรวาสติวาทิน กับนิกายเสาตรันติกวาทิน, สารีปุตราภิธรรม ๓๐ ผูก ของนิกายวิภัชวาทิน, อภิธรรม
สัตยสิทธิวยกรณศาสตร ๑๖ ผูก ของนิกายมหาสังฆิกะหรือนิกายเสาตรันติก หรือนิกายพหุสุตวาทยังไม
แนนอน จตุราริยสัจจปกรณ ๔ ผูก, และคัมภีรวิมุตติมรรค ๑๒ ผูก คัมภีรนี้เปนของนิกายเถรวาทมีเคาโครง
อยางเดียวกับคัมภีรวิสุทธิมรรคมาก ขาพเจาไดเขียนวิจารณไวในหนังสือเรื่องนารู ๑๕ เรื่องแลว คุณวิภังคนิ
ทเทศศาสตร ๓ ผูก ของนิกายมหาสังฆิกะ, สัมมิติยะศาสตร ๒ ผูก ของนิกายสัมมิติ ยะ ฯลฯ
เฉพาะคัมภีรฝายมหายานซึ่งตนฉบับสันสกฤตที่ตกคางเหลืออยูในปจจุบันมีไมถึง ๑ ใน ๑๐ เพราะ
เมื่อพวกขาศึกตางศาสนารุกรานเขามาในอินเดียไดเที่ยวเผาวัดวาอารามของพระพุทธศาสนา ทําลาย
พระไตรปฎกเสียมากกวามาก มหาวิทยาลัยนาลันทาและมหาวิทยาลัยวิกรมศิลา ซึ่งเปนสถาบันศึกษา
พระพุทธศาสนาสูงสุดในสมัยนั้น ก็ถูกเผาเสียปนป คัมภีรตางๆ จึงสูญหายไปมาก ที่ยังเหลือตกคางอยูบาง ก็
เปนดวยภิกษุสงฆพาหนีไป กับหลบทารุณภัยเขาไปอยูในเนปาลบาง ในธิเบตบาง ประกอบทั้งเมื่อสมัย
พระพุทธศาสนาแพรหลายเขาไปในประเทศเหลานี้อยูทั้งในเนปาลบาง ในธิเบตบาง ประกอบทั้งเมื่อสมัย
พระพุทธศาสนาแพรหลายเขาไปในประเทศเหลานี้ไดพาคัมภีรสันสกฤตมาเปนตนฉบับ จึงพอจะหาไดบางก็ที่
ตกคางเหลืออยูในเนปาล, ธิเบต, จีน และญี่ปุน แตหาพบในเนปาลกับธิเบตมากกวาแหงอื่น และสวนใหญเปน
คัมภีรนิกายมันตรยาน โชคดีที่คัมภีรสันสกฤตของลัทธิมหายานไดถูกแปลถายไวในภาษาจีนเปนอันมาก
การศึกษาลัทธิมหายานจึงจําเปนตองผานทางภาษาจีน ในหนังสือประมวลสารัตถะพระไตรปฎก แตงครั้ง
ราชวงศหงวน ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ไดบอกจํานวนคัมภีรในพระไตรปฎกจีนพากยไวดังนี้
๑. พระสูตรฝายมหายาน ๘๙๗ คัมภีร ๒,๙๘๐ ผูก
๒. พระวินัยฝายมหายาน ๒๘ คัมภีร ๕๖ ผูก
๓. ศาสตรฝายมหายาน ๑๑๘ คัมภีร ๖๒๘ ผูก
๔. พระสูตรฝายสาวกยาน ๒๙๑ คัมภีร ๗๑๐ ผูก
๕. พระวินัยฝายสาวกยาน ๖๙ คัมภีร ๕๐๔ ผูก
๖. ศาสตรฝายสาวกยาน ๓๘ คัมภีร ๗๐๘ ผูก
รวมทั้งสิ้นเปน ๑,๔๔๑ คัมภีร ๕,๕๘๖ ผูก แตจํานวนคัมภีรในพระไตรปฎกจีนพากยนี้ ชําระกันหลาย
ครั้งหลายคราว จํานวนคัมภีรกับจํานวนผูกเปลี่ยนแปลงไมเสมอกันทุกคราว ในหนังสือวาดวยสารัตถะความรู
จากการศึกษาพระไตรปฎก แตงครั้งราชวงศเหม็ง ไดแบงหมวดพระไตรปฎก เพื่อสะดวกแกการศึกษาดังนี้
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ

More Related Content

What's hot

ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 Padvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรPadvee Academy
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาPadvee Academy
 
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาบทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาเตชะชิน เก้าเดือนยี่
 
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏพุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏCUPress
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บรรพต แคไธสง
 

What's hot (18)

590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาบทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏพุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
 
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 

More from Tongsamut vorasan

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒Tongsamut vorasan
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์Tongsamut vorasan
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์Tongsamut vorasan
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติTongsamut vorasan
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตTongsamut vorasan
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมTongsamut vorasan
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔Tongsamut vorasan
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)Tongsamut vorasan
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯTongsamut vorasan
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018Tongsamut vorasan
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖Tongsamut vorasan
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจTongsamut vorasan
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นTongsamut vorasan
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทTongsamut vorasan
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2Tongsamut vorasan
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 

More from Tongsamut vorasan (20)

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
 

เสถียร โพธินันทะ

  • 1. 1 พระพุทธศาสนากับคนหนุม โดย เสถียร กมลมาลย* (เสถียร โพธินันทะ) * ในขณะนั้นยังมิไดเปลี่ยนนามสกุล (จากธรรมจักษุ ฉบับสันติภาพ เลม ๓๐ ตอนที่ ๓-๑๒ ประจําเดือนธันวาคม ๒๔๘๗ - กันยายน ๒๔๘๘) “ยุวชน เสถียร กมลมาลย อายุ ๑๗ ป เปนนักเรียนโรงเรียนมัธยมวัดบพิตรพิมุข สอบไดชั้น มัธยมศึกษาปที่ ๕ เปนผูมีความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ไดประหยัดรายไดคาขนมที่มารดาให ซื้อหนังสือ ทางพระพุทธศาสนาทุกชนิดอาน เทาที่จะหาไดในประเทศไทย และไดรวบรวมหนังสือทางศาสนาอื่นเพื่อศึกษา เปรียบเทียบ ความรูความเขาใจในพระพุทธศาสนาของยุวชนผูนี้ มีในขนาดไร และพระพุทธศาสนาไดชนะ หัวใจของเขาอยางไร ทานผูอานจะพิจารณาไดจากเรื่องนี้ อนึ่ง ควรบันทึกไวในที่นี้ดวยวา เรื่องบางเรื่องที่นําลงในธรรมจักษุฉบับนี้ ที่เปนเรื่องแปลหรือแตงก็ดี ยุวชนผูนี้ ไดมีสวนชวยเปนเลขานุการ เขียนตามคําบอกแหงเจาหนาที่ของเราดวยความสมัครใจ และยินดีที่ไดรับใช พระพุทธศาสนา อันเราจะเวนเสียมิไดซึ่งความรูสึกอนุโมทนาในกุศลเจตนาของยุวชนผูนี้” กองบรรณาธิการธรรมจักษุ .....................................
  • 2. 2 คนหนุม ๆ ในสมัยนี้โดยมากไมใครรูจักคุณคาของศาสนา เพราะเขาทั้งหลายตางมีหนาที่ในการ สะสางปญหาภายนอก ซึ่งไมไดเกี่ยวกับศาสนา เขามีความคิดขัดแยงกับความคิดของปูยาตายาย จิตใจของเขา กําลังวุนเกี่ยวกับการเมือง เศรษฐกิจ ฯลฯ และเรื่องอื่น ๆ อีกมากหลาย ชายหัวใหมหรือคนหนุม ๆ เหลานี้ เห็นการถือศาสนาเปนของครึ ลาสมัย การไปวัดไปวาเปนของนาอับอาย เห็นวาสูไปอยูตามโรงภาพยนตร หรือ ตามฮอลล หรือสโมสร ซึ่งมีพวกสาว ๆ หอมลอมในทามกลางเสียงดนตรีกับเสียงแกวเหลาไมได ถามีใครไปพูด เรื่องธรรมะเขา เขาเหลานั้นก็ไมตองการจะฟง และผูพูดอาจจะถูกยิ้มเยาะวาหัวโบราณบาง งมงายบาง แตที่ พูดมาดังนี้ ไมใชปรักปรําพวกหนุม ๆ วาไมดีไปเสียหมด ความจริงที่เขาไมสนใจในเรื่องศาสนา อาจเนื่องดวย เขายังไมมีความรูพอที่จะสาวหาความจริงจากศาสนาก็ได ตามที่พวกเขาเขาใจ ก็เพียงรูวา ศาสนานั้นสอนแต เรื่องสวรรค-นรก หรือใชสวรรคมาลอ ใชนรกมาขูเทานั้น นอกนั้นไมมีอะไรอีก ฉะนั้นถาใครไปเลื่อมใสใน ศาสนาเขา ก็เลยถูกหาวาเปนคนงมงายไป ศาสนาทั้งหลายในโลกนี้มีอยูดวยกันหลายศาสนา ศาสนาที่ใหญ มีคนนับถือมากมีอยู ๕ ศาสนาดวยกัน คือ พุทธศาสนา, คริสตศาสนา, อิสลาม หรือ มหมัดศาสนา และ ศาสนาขงจื้อ ศาสนาทั้ง ๕ นี้ เปนเหมือนหนึ่ง บิดามารดาที่อบรมจิตใจ ตลอดจนถึงศีลธรรมจรรยาใหแกมนุษย ทุก ๆ ศาสนายอมมีจุดมุงหมายมุงที่จะให มนุษยมีความสุข แตวิธีที่จะบรรลุถึงซึ่งความสุขนั้นแตกตางกัน บางศาสนามีที่คลายคลึงกันทางศีลธรรม สวน ทางปรัชญาและการปฏิบัติแลว ตางกันอยางไกลลิบ แตเฉพาะพระพุทธศาสนานั้น มีลักษณะแปลดประหลาดอยูอยางหนึ่ง คือธรรมะของพระพุทธเจาแนบสนิทกับ แนวคิดอันตองการเหตุผลของพวกหนุม ๆ และเหมาะสมกับจิตใจของมนุษย ไมวาในอดีต, ปจจุบัน หรือ อนาคต ฉะนั้นจึงมีคําสรรเสริญธรรมะของพระองควา “อกาลิโก” ไมเลือกกาลเวลา ใครปฏิบัติไดเวลาไหน ก็ ใหผลในเวลานั้น ไมตองรอคอยชาติหนาหรือชาติไหน ๆ คําวา พุทธะ แปลวา “ผูตื่นแลว” เปนนามอันพระศรีศากยมุนีทรงไดรับในฐานะที่พระองคไดเปนผูคนพบความ จริงที่ประกอบดวยเหตุผล และเปนผูประกาศธรรมะทั้งหลายในศาสนานี้ และสรรพสัตวทั้งหลายก็อาจเปน พุทธะไดดวยเหมือนกัน ฉะนั้นคําวาพุทธะ จึงมิใชจํากัดแตเฉพาะพระศรีศากยะมุนีพุทธเจาพระองคเดียว ถา ผูใดอยากเปนพระพุทธเจาบางก็เปนได แตจะตองบําเพ็ญคุณความดีใหเสมอดังพระพุทธเจา “เพราะพุทธภาวะ นี้เปนคุณชาติอันหนึ่ง ซึ่งตั้งอยูอยางไมรูจักสุดสิ้น และเปนนิจนิรันดร สัตวทั้งหมดก็เปนผูมีสวนรวมของคุณ ชาติอันนั้น” (จากหลัก สัทธัมมปุณฑริกสูตร ของพระพุทธศาสนามหายาน) หลักอันนี้ แสดงใหเห็นวา ธรรมะของพระพุทธศาสนาไมจํากัดบุคคล ชั้นวรรณะ หรือจํากัดความดีใหมีขอบเขต ดังศาสนาอื่น ซึ่งแมผูใดบําเพ็ญความดีแสนดีเทาไร ก็คงยังตองเปนทาสของพระเจา จะเปนดังพระเจาไมได อีก ประการหนึ่ง หลักของพระพุทธศาสนาที่สําคัญที่สุดคือ หลักแหงเหตุและผลตามเปนจริง พระพุทธองคผูเปน พระบรมศาสดาของเรา พระองคทรงเทศนาสั่งสอนตลอดเวลา ๔๕ ปแหงพระชนมายุ ก็เพื่อปลุกใหตื่นจาก ความงมงายอันไรเหตุผลของมนุษย กอนที่จะเชื่ออะไรนั้น พระพุทธองคตรัสสอนใหพิจารณาหาเหตุผลนั้นกอน ดังปรากฏใน กาลามสูตร (ติกนิบาต. อัง.) เรื่องมีอยูวา
  • 3. 3 สมัยหนึ่ง พระบรมศาสดาของเราประทับอยู ณ หมูบานแหงหนึ่ง ชื่อวา เกสปุตติยะ ของชาวกาลามะ ๆ เหลานั้นไดเขาเฝาพระพุทธองค กราบทูลเรื่องวา มีเจาลัทธิศาสนาตาง ๆ ไดสั่งสอนศาสนาในหมูบาน ตางคน ตางแสดงความเห็นของตนวาถูกตองดี ของผูอื่นผิด ชาวกาลามะมีความสงสัย ไมรูวาจะปฏิบัติในลัทธิใดจึงจะ ถูกตอง พระพุทธองคตรัสวา “ดูกอนกาลามชน ! ทานควรสนเทห ควรสงสัย ความสงสัยของทานเกิดขึ้นแลวในที่ควรสงสัย กาลามชน ! ทานอยาไดถือโดยฟงตามกันมา, อยาไดถือโดยเขาใจวาเปนของเกาสืบ ๆ กันมา, อยาไดถือโดยตื่นขาว, อยาได ถือโดยอางตํารา, อยาไดถือโดเหตุนึกเดาเอา, อยาไดถือโดยใชคาดคะเน, อยาไดถือโดยความตรึกตามอาการ, อยาไดถือโดยชอบใจวาตองกันกับลัทธิของตน, อยาไดถือเอาโดยเชื่อวาผูพูดควรเชื่อได, อยาไดถือโดยนับถือวา สมณะผูนี้เปนครูของเรา ดูกอนกาลามชน ! เมื่อทานใดรูไดดวยตนเองวา ธรรมเหลานี้เปนอกุศล... มีโทษ... ทานผูรูติเตียน... ทําถึงที่สุด แลวไมมีประโยชน... เปนทุกข กาลามชน ! ทานพึงละเสียเมื่อนั้น ฯลฯ ดูกอนกาลามชน ! เมื่อใดทานรูไดดวยตนเองวา ธรรมเหลานี้เปนกุศล... ไมมีโทษ... ทานผูรูสรรเสริญ... ทําถึง ที่สุดแลวมีประโยชน... เปนสุข กาลามชน ! ทานพึงทําสิ่งเหลานั้นใหเต็มที่เถิด” นี่แหละเปนหลักอันศักดิ์สิทธิ์สําหรับตัดสิน กอนที่จะเชื่อลงในสิ่งใด ๆ และแสดงใหเห็นวา พระพุทธศาสนาให เสรีภาพในการเชื่อของพวกเราเต็มที่ ไมมีการบังคับวา ไมเอาแลวจะมีผูลงโทษใหตกนรกหมกไหมอยูไมรูสิ้นสุด อุบัติเหตุอีกเรื่องหนึ่ง อันแสดงถึงความที่พระพุทธองคทรงตองการใหเราทั้งหลายพิจารณาซึ่งเหตุและผลกอน แลวคอยเชื่อนั้น คือใน อุบาลีวาทสูตร แหงมัชฌิมนิกาย มัชฌิมปณณาสก เรื่องกลาวโดยยอมีวา อุบาลี คฤหบดี ของเมืองนาลันทา เดิมนับถือศาสนาเชน ซึ่งมี นิครนถนาฏบุตร หรือ มหาวีระเปนศาสดา ตองการ โตเถียงปญหากับพระพุทธเจา กอนจะไป ไดอวดอางตัวตาง ๆ กับนิครนถนาฏบุตร ผูเปนศาสดาวา จะเอาชนะ พระพุทธเจากลับมา ครั้นภายหลัง ไดโตเถียงปญหาแลว อุบาลีกลับเลื่อมใสขอถึงพระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆเปนที่พึ่ง พระพุทธเจาตรัสอยางที่ศาสดาของศาสนาอื่นจะไมกลาพูดวา “คฤหบดี ! ทานจงทําการ ใครครวญกอน การใครครวญกอนแลวจึงทําลง ยอมเปนความดีของคนมีชื่อเสียงดังเชนทาน” อุบาลีไดฟงแลวเกิดความชื่นชมยินดี ตอบวา “...แมดวยเหตุนี้ก็ทําใหขาพระองคพอใจ ชื่นใจนักตอพระผูมีพระ ภาค เพราะวาพวกอัญญเดียรถีย (พวกศาสนาอื่น) ไดขาพระองคเปนสาวกแลว, ก็จะพึงยกธงแผนผาขึ้นทั่ว เมืองนาลันทา แลวประกาศวา ‘อุบาลีคฤหบดีไดถึงความเปนสาวกของพวกเราแลว’ ก็และพระผูมีพระภาคได ตรัสแกขาพระองคอยางนี้วา ‘คฤหบดี ! ทานจงทําการใครครวญกอน การใครครวญกอนแลวจึงทําลง ยอมเปน ความดีของคนมีชื่อเสียงดังเชนทาน’ ขาแตพระองคผูเจริญ ! ขาพระองคนี้ ขอถึงพระผูมีพระภาค, พระธรรม และพระสงฆ เปนที่พึ่งครั้งที่ ๒ขอ พระผูมีพระภาคจงทรงจําขาพระองควา ไดถึงพระรัตนตรัยเปนที่พึ่งเสมอดวยชีวิตตั้งแตวันนี้ไป” พระพุทธเจาไดทรงเตือนอีก อุบาลีก็ยิ่งเกิดความเลื่อมใสมากขึ้นเพราะตัวยังไมไดเคยพบวา ศาสดาใดที่สอน แลวมีคนเลื่อมใส กลับตักเตือนใหพิจารณาคนหาเหตุผลดูกอนแลวคอยเชื่อ มีแตพระพุทธเจาเทานั้น พระสูตร
  • 4. 4 นี้ก็แสดงถึงการเชื่ออยางไมงมงาย อันเปนที่ตองการอยางยิ่งของพวกเราชายหนุมทั้งหลาย ยังมีพระสูตรอีกสูตรหนึ่ง แสดงวาพระพุทธเจาไมไดตองการใหใครเชื่อพระองคอยางงมงาย คือ วัปปสูตร (อัง คุตรนิกาย จตุกกนิบาต) “สมัยหนึ่ง พระพุทธเจาประทับที่นิโครธาราม ในหมูชนชาวสักกรัฐ มีเจาศากยะองคหนึ่งชื่อวัปปะ เปนสาวก ของนิครนถ ไดเขาไปถามปญหากะพระโมคคัลลานะ พอดีพระพุทธเจาเสด็จมา พระมหาโมคคัลลานะ จึงได กราบทูลเรื่องใหทรงทราบ พระพุทธองคตรัสวา “วัปปะ ถาทานพึงยอม ขอที่ควรยินยอมแกเรา และพึงคัดคาน ขอที่ควรคัดคาน อนึ่ง ทานยังไมทราบ เนื้อความแหงภาษิตของเราขอใด ทานพึงยอนถามเราในขอนั้นตอไป วาขอนี้เปนอยางไร ภาษิตนี้มีเนื้อความวา อยางไร ดังนี้แลว เราก็จะพึงสนทนาปราศรัยกันในเรื่องนี้ได” พระพุทธเจาของเราทรงเปดโอกาสใหผูไมรู ซักถามไดหรือคัดคานไดอยางไมตองเกรงอกเกรงใจ หรือเกรงวา ถาขืนคัดคานจะถูกพระองคหรือใครลงโทษ และการที่พระพุทธเจาไดตรัสรูและทรงแสดงธรรมโปรดสัตวนั้น พระองคไมไดอางวา พระองคเปนผูแทนของใคร หรือใครดลใจใหพูด ความตรัสรูที่ไดนั้นเปนดวยความ พากเพียรของพระองคเอง ที่พระองคไดบรรลุสัมโพธิญาณ ก็ไมใชวาไดมาอยางลอย ๆ หรือมีใครบันดาล หาก ดวยความดีงามที่พระองคอุตสาหะบําเพ็ญสั่งสมมาในอเนกชาติ จนสามารถบรรลุคุณธรรมอันนี้ พระองคไมได ตรัสวา พระองคสามารถลางบาป หรือประทานบุญแกคนทั่วไปได หากผูใดไมปฏิบัติตามคําสอนของพระองค ๆ ก็ไมสามารถจะทรงชวยได หรือผูใดหันหลังใหพระองค โดยไม ยอมฟงเสียงใด ๆ จากพระองคแลว พระองคก็ชวยผูนั้นไมได พระองคชวยไดก็เฉพาะผูที่ประพฤติตนดี เชื่อฟง คําสอนของพระองคแลวปฏิบัติ พระองคตรัสวา พระองคเปนเพียงผูบอกทางใหเราไปถึงที่อันเกษม การไปนั้น เราจะตองไปดวยตนเอง (คณกโมคคัลลานสูกตร) มีบางคนเขาใจวา ผูที่จะปฏิบัติตามธรรมในพระพุทธศาสนานั้นตองเปนภิกษุ และธรรมในพระพุทธศาสนา ลึกซึ้งเกินไป จนตัวผูไมไดบวชเปนภิกษุจะปฏิบัติไมได การเขาใจดังนี้เปนความเขาใจผิดมาก ความจริงธรรมะของพระพุทธเจานั้น เหมาะกันชนทุกชั้นทุกวัย แตเราจะตองเลือกปฏิบัติ เปรียบเหมือนกับยา แกโรค เราจะตองรูจักใชมันใหถูกทาง ถาเปนเด็กเราก็กินตามขนาดเด็ก เมื่อเปนผูใหญก็เพิ่มขึ้นตามลําดับ ธรรมะของพระพุทธศาสนาก็เชนเดียวกัน คือมีแบงเปนสามขั้น ตั้งแตเบื้องตน, กลาง, จนถึงยอดสุด ทั้งสามขั้น นี้เราอยูในขั้นไหน ก็เลือกประพฤติเอาขั้นนั้น เมื่อพระพุทธเจาทรงสอนผูครองเรือน หรือผูยังเกี่ยวดวยโลก ทรงสอนวา “ดูกอนพยัคฆปชชะ ! ทางดี ๔ อยางคือ ไมเปนนักเลงหญิง, ไมเปนนักเลงเหลา, ไมเลนการพนัน, คบคนดี ทั้ง ๔ อยางนี้ ยอมเปนทางเจริญแหงโภคทรัพย” (พยัคฆปชชสูตร)
  • 5. 5 และ “ความเปนผูศึกษามาก, ศิลปะ, ระเบียบวินัยที่ฝกฝนแลวเปนอยางดี, และถอยคําที่เปนสุภาษิต... การ บํารุงมารดาและบิดา, การสงเคราะหลูกเมีย, การงานทั้งหลายไมอากูล, ขอนี้เปนมงคลอันสูงสุด” (มงคลสูตร) นี้คือธรรมะขั้นตน มีศัพทเรียกวา ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน คือประโยชนในปจจุบัน พวกหนุม ๆ ก็สามารถ ประพฤติปฏิบัติได สวนธรรมขั้นกลางนั้น เรียกวา สัมปรายิกัตถประโยชน ประโยชนในภายหนา เมื่อเรามี หลักฐานดีเบื้องตนไมงอนแงนคลอนแคลน เราก็ควรบําเพ็ญความดีใหยิ่งขึ้นไปอีก แตถาใครเห็นวาตัวไม สามารถบําเพ็ญตอไป ก็ขอใหมีความดีในขั้นตนก็ยังดี พระพุทธเจาตรัสเทศนาสั่งสอนสัตว ทรงกําหนดรู อุปนิสัยของเขาวามีนิสัยไปในทางใด เชนผูใดพอจะสอนในทางศีลธรรมได พระองคก็ทรงตรัสสอนใหอยูใน กรอบแหงศีลธรรม เพื่อความสุขความเจริญในอนาคตกาลของผูนั้น ธรรมะขั้นนี้มีอยู ๔ ประการคือ (๑) สัทธาสัมปทา ถึงพรอมดวยศรัทธา ศรัทธาแปลวาความเชื่อ ความเชื่อในพระพุทธศาสนา ไมใหเชื่องมงาย ดังกลาวมาแลวขางตน ความเชื่อในที่นี้ หมายถึงความเชื่อในการกระทําของเราวา ทําดีก็ไดดี ทําชั่วก็ไดชั่ว ไมมี ใครหรือไมมีพระเจาองคใดจะมาสับเปลี่ยนใหดีเปนชั่ว ชั่วเปนดีได (๒) สีลสัมปทา ถึงพรอมดวยศีล คือ รักษากาย วาจา ใหเรียบรอย มีหลักใหญ ๆ อยู ๕ ขอ เรียกวา เบญจศีล หรือ ศีล ๕ คือ เวนจากการทําลายชีวิตสัตว, เวนจากการถือเอาของที่เจาของไมไดให, เวนจากการประพฤติผิด ในกาม, เวนจากการกลาวเท็จ, เวนจากการดื่มน้ําเมา (๓) จาคสัมปทา ถึงพรอมดวยการบริจาคทาน คือใหเรารูจักความเอื้อเฟอเผื่อแผ ไมเปนคนตระหนี่ เห็นแกตัว ฝายเดียว (๔) ปญญาสัมปทา ถึงพรอมดวยปญญา เปนคนมีเหตุผล รูวาสิ่งใดชั่วก็ไมประพฤติ ประพฤติแตสิ่งที่ดี มี ประโยชน สวนธรรมขั้นที่สาม เรียกวา ปรมัตถประโยชน หรือประโยชนอยางยอด ธรรมในขั้นนี้ เปนปรัชญาอันสูงสุด ของพระพุทธศาสนา เหมาะแกผูใฝใจไปในทางปรัชญา หรือธรรมะขั้นสูง พระพุทธเจาทรงสอนวา ทุกสิ่งทุก อยางในโลกนี้ไมมีตัวตน เรียกวาอนัตตา ไมทรงสอนเรื่องพระเจาผูสรางโลก สิ่งทั้งหลายยอมเกิดขึ้นตามปจจัยและตามธรรมชาติ และสิ่งใดมีเหตุมีปจจัย สิ่งนั้นยอมไมเที่ยง และเมื่อสิ่งใด ไมเที่ยง สิ่งนั้นก็เปนทุกข ความเวียนวายตายเกิดในโลกนั้น เรียกวา “วัฏฏสงสาร” เปนทุกข การที่พูดเชนนี้ ไมใชมองดูโลกในแงราย มีใครบางที่เกิดมาแลวสามารถประกาศวาตนไมเคยมีทุกขเลย จนกระทั่งวันตาย ทานไมทุกขมาก ก็ทุกขนอย แมพระพุทธเจาเมื่อสมัยพระองคยังไมไดตรัสรู พระองคก็เคย พบกับความทุกขมาแลว หากพระองคมีพระปรีชา ไมใชรูวาทุกขแลวก็หยุดไวแคนั้น พระองคทรงพยายาม คนควาสาวหาตนเหตุของมันวามาจากไหน และทรงรีบดับลงเสียได จนพระองคไดตรัสรูเปนพระพุทธเจา และ
  • 6. 6 ทรงสอนผูอื่นใหรูดวย ความทุกขยากตาง ๆ ที่เราไดรับนี้ ตนเหตุที่มาก็คือตัณหา ความอยากนั่นเอง และความ อยากอันนี้เปนเหตุใหเกิดอุปาทาน ความยึดมั่นในตัวตนวา ของเรา, เปนเรา, เมื่อเกิดความยึดถือในตัวแลว สิ่ง ภายนอกอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับตัวก็พลอยยึดไวดวย ทีนี้ถาตัวมีความอยากในสิ่งใด แตไมสมอยาก ก็เกิดความ ทุกข ตลอดจนสิ่งภายนอกของตัวเองดวย ความจริงรูปรางของเรานี้ ประกอบขึ้นดวยธาตุ ดิน, น้ํา, ลม, ไฟ, และขันธ, อายตนะ, ไมมีสิ่งใดที่จะเรียกไดวา เปนตัวตน ถาเราแยกมันออกมาทีละชิ้น เหมือนกับการแยกสวนตาง ๆ ของรถ เชน ดินสวนดิน, น้ําสวนน้ํา, ฯลฯ แลว ก็มีผลวา มันวางเปลา แตที่เห็นเปนรูปเปนราง ก็เพราะสวนตาง ๆ เหลานี้มาคุมกันเขาถูกสวน และ มีจิตบงการใหรูสึกนึกคิดเทานั้น ความจริงแยกออกแลวไมมีอะไร นอกจากความสูญ, วางเปลา, ไมมีตัวตน ฉะนั้นการที่เราหลงยึดเอาความวางเปลานี้มาเปนตัวตนเขา ก็เทากับวา เราไปหาทุกขมาใสตัวของเราเอง ใคร สามารถละความยึดมั่นไดเทาไร ก็มีทุกขนอยลงตามลําดับ จนที่สุด ถาไมยึดมั่นอะไรไวเลย ผลก็คือความเปนผู ไมมีทุกขอะไรเลย ดังเชนพระพุทธเจาและพระอรหันตทั้งหลาย ขอใหพวกเราหนุม ๆ พิจารณาดูวา พระพุทธศาสนานั้น สมควรจะเปนศาสนาสากลหรือไม และสมควรที่จะรับ ปฏิบัติไดแลวหรือยัง ? เราจะหาศาสนาไหนอีกเลาที่เหมาะสมกับชีวิตจิตใจ ตลอดจนความเปนอยูของเรา เชน พระพุทธศาสนา เราจะเห็นวา พระพุทธศาสนาเทานั้นที่เปนศาสนาสากล และพระพุทธศาสนาเทานั้นที่ไมขัด กับหลักวิทยาศาสตร พระพุทธศาสนาเทานั้นที่ควรไดรับความยกยอง ทีนี้ขาพเจาขอพูดถึงมติสวนตัวของขาพเจาบางเล็กนอย วาธรรมะในพระพุทธศาสนานั้น ควรจะไดรับการบรรจุ ไวในหลักสูตรการเรียนตามโรงเรียน เมื่อสมัยกอนเคยมีอยูพักหนึ่ง แตทําไมกลับเลิกไป? หลักสูตรศีลธรรมชั้น มัธยมก็มีเคาจากธรรมะในพระพุทธศาสนา เชน ใน สิงคาโลวาทสูตร เปนตน เราควรจะจัดใหมีการเรียนธรรมะโดยตรง เชน พุทธประวัติ - คิหิปฏิบัติ ไวในชั่วโมงเรียนศีลธรรม ปจจุบัน เด็กหนุมของเราโดยมาก ไมรูจักแมเพียงประวัติของพระพุทธเจา ขาพเจาเคยไดยินเขาเลามาเรื่องหนึ่ง วา มีเด็กไทยที่ไปเรียนตางประเทศ ถูกนักบวชตางศาสนาถามวา พระพุทธเจาคือใคร ? เขาตอบไมได ทั้ง ๆ ที่ เขาบอกวาเขาเปนพุทธศาสนิก นี่เปนขออับอายเหลือประมาณในการที่เขาเปนคนไทยซึ่งบูชาพระพุทธศาสนา เปนศาสนาประจําชาติ เราจงดูตัวอยางของโรงเรียนในยุโรป หรือโรงเรียนของพวกมิชชันนารีในประเทศเรา การเรียนคัมภีรไบเบิลเปนหลักสูตรสําคัญของโรงเรียนอยางยิ่ง มีบางคนเลาวา เรียนไปทําไม ธรรมะธรรมโม ไมเห็นมีประโยชน เรียนไปแลวก็ไปประกอบอาชีพอะไรไมได เรา อยาลืมวา ศาสนาเปนบอเกิดแหงคุณธรรม ศาสนาเปนบอเกิดของความเจริญทางจิตใจ ศาสนาจะทําใหการ เห็นแกตัวลดนอยลง และสามารถปลูกฝงศีลธรรมอันดีไว อยาลืมวาชาติจะตองอาศัยพลเมือง ถาพลเมืองมี ศีลธรรม มนุษยธรรมดีแลว ชาติก็ยอมหวังความเจริญ และทายที่สุดก็คือ ศาสนาสามารถทําลายความริษยา เกลียดชังระหวางชาติได เปนการตัดเหตุแหงสงคราม นี่แหละคือผลแหงศาสนาละ
  • 7. 7 ฉะนั้นเราจึงควรหันมาสนใจในศาสนา ชาติไทยเรามีพระพุทธศาสนาเปนศาสนาประจําชาติ นับวาเปนบุญลาภ อันยิ่งใหญของเรา เราทั้งหลายจงบํารุงรักษาสมบัติอันยิ่งใหญกวาสมบัติใด ๆ ไว และจงศึกษาธรรมะอัน ประกอบไปดวยเหตุผล ซึ่งสมเด็จพระศรีศากยมุนีบรมศาสดาของเราไดทรงบรรลุ ณ ควงไมโพธิพฤกษนั้นเถิด. .....................................
  • 8. 8 เสียงแหงเมตตากรุณา โดย เสถียร กมลมาลย (จากธรรมจักษุ เลม ๓๑ ตอนที่ ๑ - ๔ ประจํา ตุลาคม ๒๔๘๘ - มกราคม ๒๔๘๙) ......................................... เราไดเสนอบทความเรื่อง “พระพุทธศาสนากับคนหนุม” ของยุวชน อายุ ๑๗ ปผูนี้ในธรรมจักษุฉบับสันติภาพ แลว ในฉบับนี้ ทานจะไดอานเรื่อง “เสียงแหงเมตตากรุณา” ของเขาตอไป อนึ่ง เราขอแจงใหทราบวา ยุวชนผู นี้ ไดเขียนเรื่องสงใหเราแลวหลายเรื่อง ซึ่งเราจะไดนําลงเสนอผูอานตามโอกาสอันควร สพฺเพ สตฺตา สุขี โหนฺตุ ขอสรรพสัตวทั้งหลายจงมีสุขเถิด เสียงอันไพเราะ เต็มไปดวยความรักใครเอ็นดูในสรรพสัตว ไดเปลงออกจากโอษฐของพุทธศาสนิกชน ทั้งหลาย ในฐานะที่เปนสาวกของพระสัมมาสัมพุทธะ เจาแหงมหาเมตตามหากรุณา ไมเพราะความเมตตา กรุณาอันนี้หรือที่พระศรีศากยมุนีในชาติหนึ่ง เปนดาบสชื่อ สุเมธะ ไดตั้งปณิธานอันยิ่งใหญ เฉพาะพระพักตร พระทีปงกรพุทธเจาวา จะขอยอมตนลําบากในการสรางสมอบรมความดีตาง ๆ เพื่อใหไดบรรลุถึงพระ อภิสัมโพธิญาณ แลวจะไดชวยสรรพสัตวใหพนทุกข หลังจากไดฟนฝาอุปสรรคเครื่องขัดขวางการบรรลุวิโมกข ธรรมของพระองคสําเร็จแลว พระองคก็ไดทรงแสดงธรรมที่ ไพเราะในเบื้องตน, ไพเราะในทามกลาง, ไพเราะ ในที่สุด ปลุกสรรพสัตวใหตื่นจาก “กิเลสนิทรา” และประทานฝนอมฤตตกลงดับเพลิง คือ ราคะ, โทสะ, โมหะ, ใหมอดดับไป รอยแหงเมตตากรุณาของพระองค เราจะเห็นไดจากเรื่องชาดก อันเปนประวัติบรรยายถึงความดี ตาง ๆ ประการที่พระองคไดทํามา นอกจากนี้ เรายังจะพบรอยแหงเมตตากรุณาของพระองคอีกในประวัติศาสตรแหงภารตวรรษ (อินเดีย) สมัย เมื่อพระพุทธเจายังไมอุบัติ ประชาชนสวนมากตกเปนทาสของคําสอนอันปราศจากความกรุณาของพวก พราหมณ ผูเปนศาสดาจารยแหงลัทธิพิธีที่ตองใชการฆาสัตวกระทําพลี สัตวตาง ๆ มีแพะ แกะ หรือ บางทีก็มี มนุษยเปนเครื่องพลีที่ดีที่สุด ใครจะทําพลีหรือลางบาป ก็ตอง “บูชายัญดวยชีวิต” โลหิตวารีไดไหลนองทวมทน ทั้งแผนดิน เสียงคร่ําครวญของเหลาสัตวที่จะถูกฆาก็ระงมไปทั่ว แตเมื่อพระพุทธเจาอุบัติขึ้นแลว ตรัสวจนะนี้วา “สัตวทั้งหลายยอมหวาดตออาชญาทั้งสิ้น ชีวิตเปนที่รักของ สัตวทั้งหมด คนควรทําตนใหเปนอุปมาแลว ไมควรประหารเอง ไมควรใชใหประหาร” และในสมัยนั้น พวก พราหมณเรียกตนเองวา อริยะ แปลวาผูเจริญ แตพระพุทธเจาตรัสวา “บุคคลยังเบียดเบียนสัตวทั้งหลายอยู เพราะเหตุใด จะชื่อวาเปนอริยะเพราะเหตุนั้นหามิได บุคคลที่เราเรียกวาอริยะ เพราะความไมเบียดเบียนสัตว ทั้งปวง” และพระองคไดวางกฎไวสําหรับสาวกของพระองค ขอแรกที่สุด (หมายถึงศีล ๕) วา “ไมประหารชีวิต
  • 9. 9 สัตวใหลวง” ดวยพุทธวจนะอันศักดิ์สิทธิ์นี้เอง ไดชวยชีวิตสัตวทั้งหลายใหพนจากการถูกประหาร โลหิตวารีได ถูกน้ําแหงมหาเมตตากรุณาชําระลางแลว เสียงคร่ําครวญกลับกลายเปนเสียงเสดงความรื่นรมยแลว อีกขอหนึ่งคือเรื่องวรรณะ พวกพราหมณไดแบงชั้นของมนุษยออกโดยสวนใหญ ๆ ๔ ชั้นดวยกัน คือ ชั้น กษัตริย, พราหมณ, พอคาวาณิช, กรรมกรหรือศูทร และอีกพวกหนึ่งซึ่งมีสภาพเกือบไมใชเปนมนุษย คือ จัณฑาล พวกศูทร กับ จัณฑาลเปนพวกที่นาสงสารที่สุด ไมไดรับเสรีภาพชนิดที่มนุษยจะพึงมี ที่อยูตองอยูกัน เปนพวก ๆ ไมกลาปะปนกับพวกวรรณะสูงกวา บางที่ตองไปตั้งหลักแหลงกันนอกเมือง จะไปไหนมาไหน ตอง มีเครื่องหมายแสดงใหเขารูวาตนเปนศูทร หรือ จัณฑาล เวลาเดินไปมา ตองระวังไมใหถูกตองกับพวกวรรณะ สูง โดยเฉพาะพวกพราหมณเห็นพวกนี้ไมได ถือวาไมเปนมงคล และถาบังเอิญไปถูกพวกนี้เขา ก็ตองมีการชําระ ลางมลทินกันใหญโต พวกเหลานี้เวลาจะซื้อของกินของใชจากพวกวรรณะสูงกวา ตองใหเขาโยนใหดังนี้ แตมาถึงสมัยพระพุทธเจา พระพุทธเจาตรัสวา คนเราจะสูงต่ํา ไมใชอยูที่วรรณะเลย ที่แมอยูที่ความประพฤติ ตางหากถาพวกพราหมณหรือพวกวรรณะอื่น ๆ ที่ประพฤติตนเลวทราม ก็ต่ํายิ่งกวาพวกศูทรหรือจัณฑาลที่ ประพฤติดีเสียอีก พระองคเคยโตตอบปญหาเรื่องวรรณะกับหัวหนาพราหมณหลายคน จนพวกพราหมณยอม แพ บางคนถึงกับขอบวชเปนภิกษุก็มี ผูที่จะมาสูธรรมวินัยของพระพุทธเจาตองไมถือชั้นวรรณะ ตัวอยาง พระพุทธเจาทรงบัญญัติใหภิกษุผูมีอาวุโสนอย ตองเคารพออนนอมตอภิกษุชั้นเถระที่มีอาวุโสสูงกวา พวกศูทร และจัณฑาลจึงไดรับเสรีภาพและสมภาพสมบูรณขึ้น ยังอีกเรื่องหนึ่ง คือเรื่องทาส พระพุทธเจาทรงบัญญัติไมใหภิกษุคาทาส ทรงชี้ความไมดีของการคาทาสวาชั่ว เพียงไร และทรงจัดการคาทาสนี้เปนมิจฉาอาชีวะ อันพุทธศาสนิกไมควรทํานี้ดวย นี้คือรอยแหงเมตตากรุณา ของพระศากยมุนีพุทธเจาที่ไดทรงประทับไวใหแกโลก เราจะคนหารอยของเมตตากรุณาไดอีกในประวัติศาสตร นักศึกษาประวัติศาสตรทุกคนเชื่อวาคงมีความทึ่งในการที่ พระเจาอโศกมหาราช แหงปาฏลีบุตร ผูมีอาณาเขต กวางขวางใหญโต ทําสงครามชนะแทบทุกแควนในอินเดีย ไดยอมสละอาวุธ หันมาดําเนินตามวิถีของ พระพุทธเจา เหตุที่เปลี่ยนใจของมหาราชองคนี้ เราจะพบในศิลาจารึกดังนี้ “เมื่อพระเจาเทวานัมปริยทรรศิน (อโศก) ราชาภิเศกแลวแปดป ก็ปราบไดแควนกลิงค ไดเชลยจากที่นั้น หนึ่งแสนหาหมื่น ฆาเสียที่นั้นหนึ่งแสน และหลายเทา คนมากหลายไดตาย ตั้งแตไดแควนกลิงคจนตราบเทา ณ บัดนี้ พระเจาเทวานัมปริยก็นอมแนวสู ธรรม, ใครธรรม, และธรรมานุศาสน นั้นคือความกําสรวลสลดของพระเจาเทวานัมปริยที่ไดปราบกลิงค “ที่แท การพิฆาตฆา ความตายและการจับคราซึ่งประชาชน อันพึงมีเมื่อประเทศไมถูกปราบไดถูกปราบนั้น พระเจาเท วานัมปริยทรงตระหนักวาเดือดรอนและนาสังเวชแสนสาหัส” .....พระเจาเทวานัมปริยทรงปรารถนาใหแกสรรพสัตว ซึ่งความไมประทุษราย ความสังวรตน ความประพฤติ สม่ําเสมอและความสุภาพ รอยแหงเมตตากรุณาของมหาราชองคนี้ เราก็จะไดพบในศิลาจารึกตอไปวา “ทุกหน ทุกแหงในราชอาณาจักรของสมเด็จพระปยะและธีรมหาราชา และทั้งดินแดนของผูที่อยูติดพระราชอาณาเขต ของพระองค... ทุกหนทุกแหง มีสถานที่ทําการรักษาโรคของสมเด็จพระปยะและธีรมหาราชา ๒ ชนิด คือการ รักษาโรค จัดทําไวสําหรับคน และการรักษาโรคทําไวสําหรับสัตว ยาสมุนไพรดวย ยาสมุนไพรสําหรับทั้งคน และสัตว แหงใดไมมี ก็ไดนําเขาไปและปลูกขึ้นไว, รากเหงาดวย, และลูกไม ณ ที่ใดขาดแคลน ก็ไดนําเขาไป และปลูกขึ้นไวตามถนนหนทางเหมือนกัน ไดจัดการขุดบอน้ําและปลูกตนไมสําหรับความสําราญของคนและ สัตว ลูกไม ณ ที่ใดขาดแคลน ก็ไดนําเขาไปและปลูกขึ้นไวตามถนนหนทางเหมือนกัน ไดจัดการขุดบอน้ําและ
  • 10. 10 ปลูกตนไมสําหรับความสําราญของคนและสัตว (ขอความในศิลาจารึกคัดจากเรื่อง เมืองทอง ของ ขุนศิริวัฒน อาทร และของ พระยาประมวลวิชาพูล) นอกจากนี้ พระเจาอโศกยังทรงเปนอัครศาสนูปถัมภกในการ สังคายนาพระไตรปฎกครั้งที่ ๓ ดวย นี้คือการแผอานุภาพซึ่งจะเอาชนะใจของชาวโลกทั้งหมดได มีบางคนกลาววา คนที่มีเมตตากรุณา คือคนออนแอ คอยเปนผูแพ ไมมีลักษณะของความกลาหาญ ขอใหผู เขาใจดังนี้จงเขาใจเสียใหม คําวาเมตตาหมายความวา เราปรารถนาที่จะใหสรรพสัตวมีความสุขสบาย สวน กรุณาหมายถึง ถาสรรพสัตวมีความทุกขยาก เราจะชวยเหลือปลดเปลื้องความทุกขใหหมดไป ไมมีขอใดแสดง ความออนแอหรือไมกลาหาญเลย ผูที่จะอบรมความดีเพื่อการบรรลุพุทธภูมินั้น ในบรรดาความดีทั้งหมด ก็ตองมีขอเมตตาบารมีดวย ซึ่งนัยเปน ความดีขอที่ ๙ และในขณะเดียวกันก็ปรากฏวา มีวิริยบารมี ความขยันหมั่นเพียรเปนที่ ๕ ขันติบารมี ความอด กลั้นตอสิ่งทั้งปวงเปนขอที่ ๖ สัจจบารมี การพูดจริง เปนขอที่ ๗ และอธิษฐานบารมี ความตั้งใจมั่นคง เปนขอ ที่ ๘ ดังนี้ จะหาวา พระโพธิสัตวทานออนแอ ทอแทไดอยางไร ? มนุษยที่ออนแอคนไหนบางที่สามารถอดทน เพียรกอสรางบารมีตาง ๆ ซึ่งตองใชเวลานานถึง ๔ อสงไขยแสน กัลป บางครั้งถึงกับตองสละชีวิตเพื่อรักษาความดีนั้น ๆ ไว ถาหากไมใชคนกลาหาญใจเด็ดเดี่ยวเชนพระมหา สัตว คนที่มีเมตตากรุณา คือ คนไมเห็นแกตัว เขาจะทําสิ่งไร ๆ ลงไป เขาจะตองมองดูผลของมันกอน วาจะ เปนผลดีหรือไมดี ตอคนทั่วไปหรือไม จะทําใหเขาตองรอนตัว รอนใจหรือไม ถาผลไมดีเขาก็ไมทํา เขาทําแตสิ่ง ที่มีผลดีมีประโยชน ทานผูหนึ่งไดแปลสุภาษิตฝรั่งบทหนึ่ง ผูเขียนไดอานพบดังนี้วา “คนกลาหาญที่สุด ยอมออนหวานที่สุด คนที่ เปนผูดีที่สุด ยอมออนโยนที่สุด” (The bravest is tenderest. The noblest is humblest.) คนมีเมตตา กรุณา ก็คือคนที่ออนโยน หวานเสมอ ไมรูจักโกรธ, ใจหนักแนน, หรือมีน้ําใจเปนนักกีฬาแท, ไมเอารัดเอา เปรียบเพื่อนมนุษยดวยกัน นี้คือลักษณะผูมีเมตตากรุณา มีคนถามวา คุณประโยชนของเมตตากรุณามีอะไรบาง ? ขอตอบวา ประโยชนนะหรือ มีมากมายเหลือเกิน แต ประโยชนขออื่นจงยกไวกอน เรามาพิจารณาดูประโยชนของขอที่วา เมตตากรุณา คําสองคํานี้ สามารถหาม สงครามหรือทําใหโลกไมตองมีสงครามได มหาสงครามโลกครั้งที่สองนี้ เปนบทเรียนที่ดีของพวกผูนําแตละ ประเทศ เปนบทเรียนที่ดีของพวกชอบสงคราม และเปนบทเรียนที่ดีของมนุษยทั้งหมดดวย เพียงแตความ ทะเยอทะยานของมนุษยไมกี่คน ไดพาโลกทั้งโลกตองลุกเปนไฟประลัยกัลปขึ้น ตามปกติมนุษยเราก็ถูกไฟ ภายใน คือ ราคะ, โทสะ, โมหะ เผาอยูทุกวันแลว ยังจะถูกไฟภายนอกมาเผาทับอีก สงครามทุก ๆ ครั้ง มีผลที่ ไดอยางแนแททั้งฝายผูแพหรือผูชนะ คือ พอจากลูก, ลูกจากแม, สามีจากภรรยา ฯลฯ และเสียงคร่ําครวญของ แมที่ร่ํารองถึงบุตรที่ตายไป, ภรรยาคร่ําครวญถึงสามี, บุตรคร่ําครวญถึงบิดา, คร่ําครวญถึงญาติพี่นอง, ถึง ทรัพยสมบัติตาง ๆ ที่ไดเสียหายไป พวกชนะก็กอเวร พวกแพก็ทุกขตรอมใจ (ตามนัยสุภาษิต) นี่คือผลของ สงคราม อาจมีผูแยงวา ผลสงครามของฝายชนะ คือไดดินแดน ทรัพยสมบัติ, เกียรติ ฯลฯ แตเราตองตรองดูวา ดินแดน ทรัพยสมบัติ ตลอดจนเกียรติยศ, เกียรติศักดิ์, ชื่อเสียงอะไรเหลานี้นะ เราเชื่ออยางแนนอนแลวหรือวา เปนของเราตลอดไปไมมีวันเปลี่ยนแปลงไดเลย ? ทุกสิ่งในโลกเปนอนิจจัง วันนี้ชื่อเสียงเกียรติยศเปนของเรา พรุงนี้อาจเปนของเขา วันนี้เรามีอํานาจที่จะสั่งใหตัดหัวคนได พรุงนี้เราอาจกลายเปนคนที่จะถูกตัดหัวเอง
  • 11. 11 ประวัติศาสตรเปนตัวอยางที่ดีที่สุดในเรื่องนี้ ประเทศตาง ๆ ที่มีความเจริญในสมัยโบราณกาล ปจจุบันนี้เปน อยางไร ? กาวแรกเราจงระลึกถอยหลังไปสูอดีต เมื่อสมัย ๖,๐๐๐ ป สมัยที่บานเมืองแถบลุมแมน้ําไตกริสกับยู เฟรตีส และลุมแมน้ําไนลกําลังรุงเรือง เชน อียิปต, สุเมอเรียน, บาบิโลน, อัสสิเรียน, เฟนิเชียน เราไมลืมสมัย เจริญของพระเจาฮัมมูราบีแหงบาบิโลน, ไมลืมรัชสมัยของพระเจาไซรัสแหงเปอรเซีย ไมลืมกรีกและบุคคล สําคัญอีกคนหนึ่งของกรีก คือ พระเจาอเล็กซานเดอรมหาราช ผูมีอาณาเขตอันกวางใหญไพศาล ไมลืมจีนในรัช สมัยพระเจาฉิงสื่อหวง ผูสรางกําแพงยักษ, ไมลืมพระเจาถางไถจง และดินแดนตาง ๆ ที่พระองคตีได ไมลืมทัพ อันมีพลานุภาพพิเศษของพระเจาออคโกไดขาน และกุบไลขาน (เวี๋ยนสือจู) ทัพมงโกลของพระองคสามารถตีได เปอรเซีย, จีน, อินเดียภาคเหนือ, อาฟกานิสถาน, ตุรกีสถาน อาหรับและบุกเขาไปถึงยุโรป ไดรัสเซีย, ฮังการี, จนจดแดนเยอรมันและจดฝงทะเลเอเดรียติค ไมลืมความรุงโรจนของอินเดียสมัยพระเจาอโศกมหาราช, พระ เจาศีลาทิตย, พระเจาอักบาร, ไมลืมพระเจานโปเลียนของฝรั่งเศส, ใกลเขามา เราไมลืมความรุงโรจนของสุ มาตราในสมัยกรุงศรีวิชัย, ไมลืมอํานาจของเขมรในสมัยนครธม, นครวัต, จนที่สุดเราไมลืมความสามารถของ พระเจาอโนรธา, บุเรงนอง, และอลองพญาของพมา แตมาบัดนี้ สิ่งเหลานี้ไดผานไปอยางไมมีความเที่ยงแท เปนแตเพียงประวัติที่เขาบันทึกลงไวสําหรับใหชาวโลกในกาลตอมาไดรูไดเห็น หลังจากการสิ้นพระชนมของ พระเจาอเล็กซานเดอรมหาราช ดินแดนตาง ๆ ที่พระองคตีไดเปนอยางไร ? ใครเลยจะนึกบางวา พระเจานโป เลียนมหาราชของฝรั่งเศสตองถูกจับขังไวบนเกาะ และสิ้นพระชนมในที่คุมขัง ณ บนเกาะนั้น เขมร พมาเดี๋ยวนี้ เปนอยางไร ? การที่จะซื้อเอาชื่อเสียง เกียรติยศหรือดินแดน ทรัพยสินตาง ๆ ซึ่งเปนของไมเที่ยง บางทีมีไมตลอดชีวิตของเรา ดวยการเอาชีวิตมนุษยไปพลาเลน แลกเอามานั้นเปนของนาติเพียงไร มนุษยเราขาดหลักสําคัญคือความเมตตา กรุณาไปเสีย จึงไดมีการรบราฆาฟนกัน ถาเรามีเมตตากรุณาตอกันและกัน รูจักการใหอภัย ไมอาฆาตจองเวร คอยชวยเหลือซึ่งกัน เห็นมนุษยทั้งหลายเปนพี่นองญาติสาโลหิตเดียวกัน ไมมีศัตรูเพราะไมมีผูใดเปนศัตรูเรา และเมื่อใดผูนําของประเทศตาง ๆ ไดยอมละการแผอํานาจแบบเดชานุภาพ มาเปนแผแบบความรักอันไมมี ขอบเขตจํากัดคือเมตตานี้ และเมื่อใดที่รัฐประศาสนทั้งหมดไดดําเนินไปตามหลักของพระพุทธศาสนา ก็เปนอัน หวังไดอยางแนนอนวา สงครามจะไมมีแลว โลกอันกอปรไปดวยเพลิงทุกข ความเห็นแกตัวก็จะลดนอยสงบลง กวาแตกอนมาก ดังพระพุทธภาษิตวา “ความไมเบียดเบียนคือความสํารวมในสัตวทั้งหลาย เปนสุขในโลก” และทานนิจิเร็นโชนิน คณาจารยเอกของนิกายเท็นได ไดกลาววา “เมื่อใดกฎหมายของรัฐแกไขไปจนตรงกับ หลักธรรมในพระพุทธศาสนา ในขณะนั้นจะบรรลุรุงอรุณแหงสุวรรณสมัย” ขอมนุษยทั้งหลายจงชวยกันปาว ประกาศเสียงแหงเมตตากรุณาดังนี้วา “ขอสัตวทั้งปวง จงเปนผูมีสุข มีความเกษม มีตนถึงความสุขเถิด สัตวมีชีวิตทั้งหลายเหลาใดเหลาหนึ่งมีอยู ยัง เปนผูสะดุง (คือมีตัณหา) หรือ เปนผูมั่นคง (คือไมมีตัณหา) ทั้งหมดไมเหลือเหลาใด ยาวหรือใหญ หรือปาน กลาง หรือสั้น หรือผอมพี เหลาใดที่เราเห็นแลว หรือมิไดเห็น เหลาใดอยูในที่ไกล หรือที่ไมไกล ที่เกิดแลว หรือ กําลังแสวงหาความเกิดก็ดี ขอสัตวทั้งปวงเหลานั้น จงเปนผูมีตนถึงความสุขเถิด สัตวอื่นอยาพึงขมเหงสัตวอื่น อยาพึงดูหมิ่นอะไร ๆ ที่เขาในที่ไร ๆ เลย ไมควรปรารถนาทุกขแกกันและกัน เพราะความกริ้วโกรธและเพราะ ความคุมแคน มารดาถนอมลูกคนเดียว ผูเกิดในตน ดวยยอมพราชีวิตไดฉันใด พึงเจริญเมตตามีในใจไมมี ประมาณในสัตวทั้งปวงแมฉันนั้น” (จากกรณียเมตตสูตร สวดมนตแปล ฉบับมหามกุฎราชวิทยาลัย)
  • 12. 12 “ดวงชีพทั้งหลาย ! ขอทานทั้งปวงจงมีเมตตากรุณาในสรรพสัตวทั้งหลายเถิด ทานจงละความอาฆาตจองเวร เสีย อยาไดผูกโกรธกับผูใดเลย เพราะการผูกโกรธโดยคิดวา เราจะตองแกแคนเขาดังนี้ นักปราชญทั้งหลาย มี พระพุทธเจาเปนตน ยอมไมสรรเสริญ เวรานุเวรใด ๆ ในโลกนี้ จะสงบลงไปได ก็ดวยการไมจองเวร ดวงชีพทั้งหลายเอย ! ทานอยาไดเบียดเบียนสัตวทั้งหลายผูเปนเพื่อนรวมโลกของทานเลย ในสังสารวัฏฏอัน ไมมีที่สิ้นสุดนี้ ทานและเขาไดถูกหมุนเวียนไปเรื่อย ชีวิตเปนของนอยอยูแลวดวยถูกความเจ็บความตายคอย ประหารอยู ไมควรที่จะชวยตัดรอนใหมันสั้นเขาอีก ทานมีความหวาดกลัว ในเมื่อทานจะถูกประหาร หรือทาน มีความคับแคนใจในเมื่อทานถูกเบียดเบียนฉันใด สัตวทั้งหลายก็ฉันนั้นเหมือนกัน ทานตองการมีความสุขฉันใด สัตวทั้งหลายก็ฉันนั้น ดวงชีพทั้งหลาย ! เพราะเหตุนั้นแล ทานทั้งปลายจงแผความรักที่เปนธรรม คือเมตตา กรุณาในเขาเหลานั้น ตลอดถึงศัตรูของทานดวย และแลวสรรพสัตวในโลกทั้งหมดก็คือภราดรของทานเอง แลว นั่นคือกาวแรกที่ทานไดกาวขึ้นสู ‘วิถีแหงสัจจธรรม’ ซึ่งสมเด็จพระศรีศากยมุนีพุทธเจาผูเปนนาถะแหงไตร โลกไดตรัสไว” ๑๒ กันยายน ๒๔๘๘ ............................................
  • 13. 13 ประวัติพระไตรปฎก ฉบับจีนพากย เรียบเรียงโดย อ.เสถียร โพธินันทะ ...................................................... เมื่อประเทศไทยไดประกอบรัฐพิธีเฉลิมฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษ รัฐบาลของพระบาทสมเด็จพระ เจาอยูหัว ไดเชิญผูแทนพุทธบริษัทนานาชาติทั่วโลก มารวมอนุโมทนาในมหากุศลกรรมนี้โดยพรอมเพรียงกัน ผูแทนพุทธบริษัทจีนคณะชาติที่ไตหวัน มีพระสมณาจารยกานจูฮูตุกตู ชาวมงโกล เปนประธาน พระสมณะอิน สุ อาจารยใหญแหงสํานักปริยัติ ธรรมฟูเยนฯ เปนรองประธานพรอมดวยคณะผูติดตามอีก ๗ ทาน ไดอัญเชิญ พระไตรปฎกฉบับจีน ๒ จบมาดวย และไดทําพิธีมอบเปนธรรมบรรณาการ แกสภาการศึกษามหามกุฏราช วิทยาลัยจบหนึ่ง มอบแกมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดมหาธาตุอีกจบหนึ่ง ในฐานะเปนสถาบันศึกษา พระพุทธศาสนาสูงสุด ๒ แหงของประเทศไทย พระไตรปฎก ฉบับนี้เปนของถายพิมพจากฉบับญี่ปุน ไดเริ่ม พิมพเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๘ โดยสํานักวัฒนธรรมพุทธศาสนาแหงประชาชาติจีนเมืองไทเป จบหนึ่งมี ๒,๒๓๖ คัมภีร คิดเปนผูกได ๙,๐๐๖ ผูก เปนสมุดพิมพ ขนาดเอ็นไซโคลปเดีย ๕๕ เลมใหญหนามาก นับวาพระไตรปฎกฉบับ นี้ เปนผลงานของชาวพุทธบริษัทฝายมหายานที่ใหมที่สุด ถึงแมวาอาศัยถายพิมพมาจากฉบับญี่ปุนคือฉบับ ไดโช ก็จริง แตพระไตรปฎกฉบับญี่ปุนคือไตรปฎกจีนนั่นเอง เพราะญี่ปุนรับพระพุทธศาสนาไปจากจีน ชนิด ถายเอาตัวอักษรไปดวย แตโดยที่ญี่ปุน เขาใจเก็บรวบรวมเกงกวาจีน ฝายจีนซึ่งเปนเจาของเดิม จึงกลับตองไป อาศัยของเขามาถายพิมพ ผูเขียนซึ่งมีหนาที่บรรยายวิชาประวัติศาสตรพระพุทธศาสนาสากล และโดยเฉพาะ ลัทธิมหายานในสภาการศึกษาฯ จะขอถือโอกาสคนควาประวัติปฎกจีนพากยฉบับนี้มาเลาสูกันฟง เมื่อพระพุทธศาสนาไดแพรหลายออกไปในนานาประเทศ เริ่มแตรัชสมัยพระเจาอโศกมหาราช และ ขยับขยายแพรหลายตอเนื่องกันตอมาจนกระทั่งพระพุทธศาสนาสิ้นสูญจากอินเดีย ประเทศตางๆ ซึ่งยังรับชวง พระสัทธรรม กลับปรากฏวาเปนแหลงเจริญของพระพุทธศาสนาแทนที่มาติภูมิ แกนสําคัญของ พระพุทธศาสนาที่จะเปนเหตุใหเจริญตั้งมั่นอยูไดก็อยูที่พระธรรมวินัย ปรากฏวาพระธรรมวินัยที่แพรหลายไป ในดินแดนตางๆ หาได เสมอเหมือนกันไม จําแนกออกเปน ๓ ประเภทใหญๆ คือ ๑. พระธรรมวินัยที่ถือภาษามคธ หรือบาลีเปนหลัก มีลัทธิเถรวาทในพระพุทธศาสนาฝายสาวก ยานเปนฝายประกาศเจริญแพรหลายในลังกา, ไทย, พมา, เขมร และลาว พระไตรปฎกของ ประเทศทั้ง ๕ จึงเหมือนกัน ๒. พระธรรมวินัยที่ถือภาษาสันสกฤตเปนหลัก มีลัทธิมหายานและนิกายสรวาสติวาทิน ซึ่งเปน นิกายหนึ่งของฝายสาวกยานเปนฝายประกาศเจริญแพรหลายในประเทศจีน แตจีนมิไดรักษา ตนภาษาเดิมไว เอามาแปลถายไวในภาษาจีนหมด แลวจึงแพรหลายตอออกไปในเกาหลี, ญี่ปุน และญวน ๓. พระธรรมวินัยที่ถือภาษาสันสกฤตเปนหลักเหมือนประเภทที่ ๒ และเปนลัทธิมหายานดุจกัน แตประกาศหนักไปในนิกายมนตรยาน อันเปนสาขาหนึ่งของมหายาน เจริญแพรหลายใน
  • 14. 14 ประเทศธิเบต และแปลสูภาษาธิเบตแลวหมด จากธิเบตจึงแพรตอออกไปในมงโกเลีย และ มานจูเรีย พระธรรมวินัยทั้ง ๓ ประการนี้ ถาจะวาโดยชัดแจงแลว กลาวไดวาคือพระไตรปฎกภาษาบาลี, พระไตรปฎกภาษาจีน และพระไตรปฎกภาษาธิเบตนั่นเอง พระไตรปฎกภาษาจีนมีลักษณะพิเศษกวางขวาง โอบอุมเอาคติธรรมตางๆ ในพระไตรปฎกบาลีกับธิเบตไว ดวยคือมีปกรณลัทธินิกายสําคัญในพระพุทธศาสนา ไมจํากัดเฉพาะลัทธิมหายานเทานั้น ลักษณะนี้พระไตรปฎกบาลีหามีไม สวนพระไตรปฎกธิเบตถึงมีอยูบางก็ยัง นอยกวาฝายจีน ฉะนั้น พระไตรปฎกจีนจึงเปนธรรมสาครอันยิ่งใหญที่สุดของพระพุทธศาสนา ในที่นี้จะยก อุทาหรณปกรณสําคัญของตางนิกายที่มีในพระไตรปฎกจีนมากลาว เชนหมวดพระวินัยปฎก มี: ๑. ทศภาณวารสรวาสติวาทวินัย ๖๐ ผูก พระวินัยปฎกของนิกายสรวาสติวาทิน แปลสูภาษาจีนโดย พระปุณยาตระ, พระกุมารชีพ, พระธรรมรุจิ, พระวิมลรักษ รวม ๔ รูป เมื่อ พ.ศ. ๙๔๗ - ๙๕๐ ตอมาสมณะอี้ จิงไดแปลวินัยปกรณของนิกายนี้อีก ๑๕ ปกรณ ซึ่ง สวนมากเปนเรื่องปลีกยอย วาดวยเรื่องอุปสมบทกรรม, การจําพรรษา, เภสัชชะและเรื่อง สังฆเภทเปนตน ๒. จตุรอัธยายธรรมคุปตวินัย ๖๐ ผูก พระวินัยปฎกของนิกายธรรมคุปตแปลสูภาษาจีน โดยพระ พุทธยศ เมื่อ พ.ศ. ๙๕๓ ๓. มหาสังฆิกวินัย ๓๐ ผูก พระวินัยปฎกของนิกายมหาสังฆิกะ แปลสูภาษาจีนโดย พระพุทธภัทรกับ สมณะฟาเหียน เมื่อ พ.ศ. ๙๖๓ - ๙๖๕ ๔. ปญจอัธยายมหิศาสกวินัย ๓๐ ผูก พระวินัยปฎกของนิกายมหิศาสกะ แปลสูภาษาจีน โดย พระ พุทธชีวะ กับ สมณะเตาเซง เมื่อ พ.ศ. ๙๖๖ ๕. สมันตปาสาทิกาวินัยอรรถกถา ๑๘ ผูก เปนอรรถกถา พระวินัยปฎกนิกายเถรวาท แปลสู ภาษาจีนโดยพระสังฆภัทร เมื่อ พ.ศ. ๑๐๓๒ แตเปนฉบับยอไมมีพิสดาร เชน ตนฉบับบาลี ๖. ปาฏิโมกขศีลสูตร ของนิกายกาศยปยะ เปนเพียงหนังสือสั้นๆ มิใชพระวินัยปฎกทั้งหมด หมวดพระสุตตันตปฎก ถือตามมติของศาสตราจารยเหลียงฉีเชา ก็มี: ๑. เอโกตตราคม ๕๑ ผูก คือ อังคุตตรนิกายของนิกายสรวาสติวาทิน แปลสูภาษาจีนโดยพระธรรม นันทิ เมื่อ พ.ศ. ๙๒๗ ๒. มัธยามาคม ๖๐ ผูก มัชฌิมนิกาย ของนิกายสรวาสติวาทิน แปลสูภาษาจีนโดย พระสังฆรักษกับ พระสังฆเทวะ เมื่อ พ.ศ. ๙๔๑ ๓. ทีรฆาคม ๒๒ ผูก ทีฆนิกายของนิกายธรรมคุปต แปลสูภาษาจีน โดยพระพุทธยศเมื่อ พ.ศ. ๙๕๖
  • 15. 15 ๔. สังยุกตาคม ๕๐ ผูก สังยุตตนิกายของนิกายมหิศาสกะ แปลสูภาษาจีน โดยพระคุณภัทรเมื่อ พ.ศ. ๙๘๖ สวนประเภทพระอภิธรรมปฎก และคัมภีรประเภทศาสตรหรือปกรณวิเศษของนิกายตางๆ ก็มีอุดม เชน อภิธรรมสังคีติบรรยายปาทศาสตร ๒๐ ผูก, อภิธรรมสกันธปาทศาสตร ๑๒ ผูก, อภิธรรมวิชญานกายปาท ศาสตร ๑๖ ผูก, อภิธรรมปกรณะปาทศาสตร ๑๘ ผูก, อภิธรรมมหาวิภาษาศาสตร ๒๐๐ ผูก, อภิธรรมนยายนุ สารศาสตร ๘๐ ผูก, อภิธรรมปกรณศาสนศาสตร ๔๐ ผูก, อภิธรรมหฤทัยศาสตร ๔ ผูก, สังยุกตาภิธรรมหฤทัย ศาสตร ๑๑ ผูก, ปกรณเหลานี้เปนของนิกายสรวาสติวาทิน, อภิธรรมโกศศาตร ๒๐ ผูก, คัมภีรนี้ระคนดวยลัทธิ ในนิกายสรวาสติวาทิน กับนิกายเสาตรันติกวาทิน, สารีปุตราภิธรรม ๓๐ ผูก ของนิกายวิภัชวาทิน, อภิธรรม สัตยสิทธิวยกรณศาสตร ๑๖ ผูก ของนิกายมหาสังฆิกะหรือนิกายเสาตรันติก หรือนิกายพหุสุตวาทยังไม แนนอน จตุราริยสัจจปกรณ ๔ ผูก, และคัมภีรวิมุตติมรรค ๑๒ ผูก คัมภีรนี้เปนของนิกายเถรวาทมีเคาโครง อยางเดียวกับคัมภีรวิสุทธิมรรคมาก ขาพเจาไดเขียนวิจารณไวในหนังสือเรื่องนารู ๑๕ เรื่องแลว คุณวิภังคนิ ทเทศศาสตร ๓ ผูก ของนิกายมหาสังฆิกะ, สัมมิติยะศาสตร ๒ ผูก ของนิกายสัมมิติ ยะ ฯลฯ เฉพาะคัมภีรฝายมหายานซึ่งตนฉบับสันสกฤตที่ตกคางเหลืออยูในปจจุบันมีไมถึง ๑ ใน ๑๐ เพราะ เมื่อพวกขาศึกตางศาสนารุกรานเขามาในอินเดียไดเที่ยวเผาวัดวาอารามของพระพุทธศาสนา ทําลาย พระไตรปฎกเสียมากกวามาก มหาวิทยาลัยนาลันทาและมหาวิทยาลัยวิกรมศิลา ซึ่งเปนสถาบันศึกษา พระพุทธศาสนาสูงสุดในสมัยนั้น ก็ถูกเผาเสียปนป คัมภีรตางๆ จึงสูญหายไปมาก ที่ยังเหลือตกคางอยูบาง ก็ เปนดวยภิกษุสงฆพาหนีไป กับหลบทารุณภัยเขาไปอยูในเนปาลบาง ในธิเบตบาง ประกอบทั้งเมื่อสมัย พระพุทธศาสนาแพรหลายเขาไปในประเทศเหลานี้อยูทั้งในเนปาลบาง ในธิเบตบาง ประกอบทั้งเมื่อสมัย พระพุทธศาสนาแพรหลายเขาไปในประเทศเหลานี้ไดพาคัมภีรสันสกฤตมาเปนตนฉบับ จึงพอจะหาไดบางก็ที่ ตกคางเหลืออยูในเนปาล, ธิเบต, จีน และญี่ปุน แตหาพบในเนปาลกับธิเบตมากกวาแหงอื่น และสวนใหญเปน คัมภีรนิกายมันตรยาน โชคดีที่คัมภีรสันสกฤตของลัทธิมหายานไดถูกแปลถายไวในภาษาจีนเปนอันมาก การศึกษาลัทธิมหายานจึงจําเปนตองผานทางภาษาจีน ในหนังสือประมวลสารัตถะพระไตรปฎก แตงครั้ง ราชวงศหงวน ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ไดบอกจํานวนคัมภีรในพระไตรปฎกจีนพากยไวดังนี้ ๑. พระสูตรฝายมหายาน ๘๙๗ คัมภีร ๒,๙๘๐ ผูก ๒. พระวินัยฝายมหายาน ๒๘ คัมภีร ๕๖ ผูก ๓. ศาสตรฝายมหายาน ๑๑๘ คัมภีร ๖๒๘ ผูก ๔. พระสูตรฝายสาวกยาน ๒๙๑ คัมภีร ๗๑๐ ผูก ๕. พระวินัยฝายสาวกยาน ๖๙ คัมภีร ๕๐๔ ผูก ๖. ศาสตรฝายสาวกยาน ๓๘ คัมภีร ๗๐๘ ผูก รวมทั้งสิ้นเปน ๑,๔๔๑ คัมภีร ๕,๕๘๖ ผูก แตจํานวนคัมภีรในพระไตรปฎกจีนพากยนี้ ชําระกันหลาย ครั้งหลายคราว จํานวนคัมภีรกับจํานวนผูกเปลี่ยนแปลงไมเสมอกันทุกคราว ในหนังสือวาดวยสารัตถะความรู จากการศึกษาพระไตรปฎก แตงครั้งราชวงศเหม็ง ไดแบงหมวดพระไตรปฎก เพื่อสะดวกแกการศึกษาดังนี้