SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
ระบบปฏิบัติการ
Operating System
Operating
System
 เป็นซอฟต์แวร์ที่เอาไว้ใช้สาหรับควบคุมและประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายใน
คอมพิวเตอร์ทั้งหมด ตั้งแต่ซีพียูหน่วยความจา ไปจนถึงส่วนนาเข้าและส่งออก
ผลลัพธ์ ( input/output device )บางครั้งก็นิยมเรียกรวม ๆ ว่า แพลตฟอร์ม
(platform ) คอมพิวเตอร์จะทางานได้จาเป็นต้องมีระบบปฏิบัติการติดตั้งอยู่ใน
เครื่องเสียก่อน ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับบริษัทผู้ผลิตเครื่องนั้นๆ ว่าจะเลือกใช้แพลตฟอร์ม
หรือระบบปฏิบัติการอะไรในการทางาน เราจะพบเห็นระบบปฏิบัติการอยู่ใน
คอมพิวเตอร์แทบจะทุกประเภทตั้งแต่เครื่องขนาดใหญ่อย่างเครื่องเมนเฟรมจนถึง
ระดับเล็กสุด เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์พกพาประเภทพีดีเอ
BIOS
ไบออสเป็นส่วนหนึ่งในกลุ่มคาสั่งที่บรรจุอยู่ใน
หน่วยความจา ROM ซึ่งเก็บข้อมูลอย่างถาวรถึงแม้จะไม่มีไฟฟ้า
หล่อเลี้ยงก็ตาม มีหน้าที่หลักคือ ควบคุมอุปกรณ์มาตรฐานในเครื่อง
เช่น ซีพียูหน่วยความจา ROM และRAM เมนบอร์ด
ฮาร์ดดิสก์ ฟล็อปปี้ ดิสก์ พอร์ตแบบต่างๆเป็นต้น
Basic Input Output System
Boot Up
พาวเวอร์ซับพลายส่งสัญญาณไปให้ซีพรยูเริ่มทางา น
พาวเวอร์ซับพลาย (power supply) ทาหน้าที่จ่ายพล่งงานไปให้
อุปกรณ์ต่างๆภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยจะเริ่มต้นทางานทันทีเมื่อ
ปุ่มกดเปิด(power on) และเมื่อเริ่มทางานก็จะมีสัญญาณส่งไปบอก
ซีพียูด้วย เรียกว่า สัญญาณ Power Good
Boot Up
ซีพียูจะสั่งให้ไบออสทางาน
ทันทีที่มีกระแสไฟฟ้าจ่ายมายังคอมพิวเตอร์และมี
สัญญาณให้เริ่มทางาน หน่วยประมวลผลกลางหรือ
ซีพียูจะพยายามเข้าถึงข้อมูลในไบออสเพื่อทางานตาม
ชุดคาสั่งที่เก็บไว้โดยทันที
Boot Up
เริ่มทางานตามกระบวนการที่เรียกว่า POST เพื่อตรวจเช็คอุปกรณ์
ต่างๆ กระบวนการPOST (power on self test) เป็นโปรแกรมส่วนหนึ่งในไบออส
ซึ่งทาหน้าที่ตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณ์ที่ติดตั้งอยู่ในเครื่อง ไม่ว่าจะเป็น
เมนบอร์ด RAM ซีพียูรวมถึงอุปกรณ์ต่อพวงอื่นๆเช่น คีย์บอร์ดหรือเมาส์
Boot Up
ผลลัพธ์จากกระบวนการ POST จะถูกนาไปเทียบกับข้อมูลที่อยู่ซีมอส
ข้อมูลของอุปกรณ์ต่างๆที่ถูกติดตั้งแล้วในเครื่องหรือค่า configuration จะเก็บ
อยู่ในหน่วยความจาที่เรียกว่า
ซีมอส (CMOS – complementary metal oxide semiconductor)
Boot Up
ไบออสจะอ่านโปรแกรมสาหรับบู๊ตจากฟล็อปปี้ดิสก์ ซีดีหรือฮาร์ดดิสก์
ขั้นถัดไปไบออสจะเข้าไปอ่านโปรแกรมสาหรับบู๊ตระบบปฏิบัติการจาก
เซกเตอร์แรกของฮาร์ดดิสก์ ฟล็อปปี้ ดิสก์หรือซีดีรอม
Boot Up
โปรแกรมส่วนสาคัญจะถูกถ่ายลงหน่วยความจา RAM
เมื่อไบออสรู้จักระบบไฟล์ของไดรว์ที่บู๊ตได้แล้วก็จะไปอ่านโปรแกรมส่วนสาคัญ
ของระบบปฏิบัติการที่เรียกว่า เคอร์เนล (kernel)เข้ามาเก็บในหน่วยความจาหลัก
หรือ RAM ของคอมพิวเตอร์เสียก่อน
Boot Up
ระบบปฏิบัติการในหน่วยความจาเข้าควบคุมเครื่องและแสดงผล
ประเภทของการบู๊ตเครื่อง
1.โคลด์บู๊ต (Cold boot) เป็นบู๊ตเครื่องที่อาศัยการทางานของฮาร์ดแวร์โดยการกด
ปุ่มเปิดเครื่อง (power on) แล้วเข้าสู่กระบวนการทางานโดยทันที
2.วอร์มบู๊ต (Warm boot) เป็นบู๊ตเครื่องโดยการทาให้เกิดกระบวนการบู๊ตใหม่ที่
เรียกว่า การรีสตาร์ทเครื่อง (restart) โดยมากจะใช้ในกรณีที่เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่
สามารถทางานต่อไปได้(เครื่องแฮงค์)ซึ่งจาเป็นต้องการบู๊ตเครื่องกันใหม่
File Management
การจัดการกับไฟล์ (File Management)
ความหมายของไฟล์ (File)
ไฟล์ เป็นหน่วยในการเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจเก็บอยู่ในสื่อเก็บบันทึก
ข้อมูลต่างๆเช่น ฟล็อปปี้ ดิสก์ฮาร์ดดิสก์ หรือซีดีรอม เป็นต้น
Hierarchical File System
ลาดับโครงสร้างไฟล์
เมื่อต้องการเก็บข้อมูลก็จะมีการจัดเก็บไฟล์ที่แยกโครงสร้างออกเป็นส่วนๆ
เหมือนกิ่งกานสาขาต้นไม้แต่ละกิ่งเรียกว่า โฟลเดอร์ (Folder) ซึ่งเป็นที่รวม
ไฟล์ข้อมูลเรื่องเดียวกันเข้าไว้เป็นหมวดหมู่เพื่อให้สามารถเรียกใช้ได้โดยง่าย
แบ่งเป็น 2 ส่วนย่อยดังนี้คือ
 1.ไดเร็คทอรี (Directory) เป็นโฟล์เดอร์สาหรับจัดหมวดหมู่ไฟล์ขั้นสูงสุดใน
ระบบ บางครั้งอาจเรียกว่า root directory ซึ่งบางระบบปฏิบัติการจะรวมทุกทุก
ไดรว์ไว้ในไดเร็คทอรีเดียวกัน
 2.ซับ ไดเร็คทอรี (sub Directory) เป็นโฟล์เดอร์ย่อยที่ถูกแบ่งและจัดเก็บไว้
ออกมาอีกชั้นหนึ่ง โดยที่เราสามารถเอาข้อมูลและไฟล์จัดลงในซับไดเร็คทอรี
ได้เช่นเดียวกัน นอกจากนี้ยังสามารถสร้างซับไดเร็คทอรีย่อยๆลงไปอีกได้ไม่
จากัด
Memory Management
การจักการหน่วยความจา
ในการประมวลผลกับข้อมูลที่ปริมาณมากหรือทางานหลายๆโปรแกรมพร้อมๆกัน
หน่วยความจาหลักประเภท RAM อาจมีเนื้อที่ไม่สาหรับเก็บข้อมูลในขณะประมวลผลได้
ระบบปฏิบัติการจะแก้ไขปัญหานี้โดยวิธีที่เรียกว่า หน่วยจาเสมือน (VIM – virtual
memory) โดยใช้เนื้อที่ของหน่าวเก็บข้อมูลสารอง เช่น ฮาร์ดดิสก์ (เรียกว่า สว็อปไฟล์–
swap file) และแบ่งเนื้อที่เหล่านั้นออกเป็นส่วนๆเรียกว่า เพจ (page) ซึ่งมากรกาหนด
ขนาดไว้แน่นอนจากนั้นระบบปฏิบัติการจะเลือกโหลดเอาเฉพาะข้อมูลในเพจที่กาลังจะ
ใช้นั้นเข้าสู่หน่วยความจา RAM จนกว่าจะเต็ม หลังจากนั้นหากยังมีความการใช้เนื้อที่
ของ RAM เพิ่มอีก ก็จะจัดการถ่ายเทข้อมูลบางเพจที่ยังไม่ได้ใช้ในขณะนั้นกลับออกไปไว้
ในหน่วยความจาสารองเพื่อให้แรมมีเนื้อที่เหลือว่างสาหรับนาข้อมูลเพจใหม่ที่จะต้องใช้
ในขณะนั้นเข้ามาแทนและสามารถทางานต่อไปได้ วิธีการนี้ช่วยให้สามารถจดสรร
หน่วยความจาที่มีจากัดมาใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
I/O Device Management
การจัดการอุปกรณ์นาเข้าและแสดงผลข้อมูล
ในการทางานของระบบคอมพิวเตอร์นั้น อุปกรณ์นาเข้ามากกว่าหนึ่งตัวสามารถ
ส่งข้อมูลไปยังระบบปฏิบัติการได้พร้อมๆกัน และในขณะนั้นระบบปฏิบัติการก็
อาจต้องการส่งข้อมูลจากหลายๆโปรแกรมไปยังอูปกรณ์แสดงผลด้วยเช่นกัน แต่
เนื่องจากอัตราการรับส่งข้อมูลของแต่ละอุปกรณ์มีความเร็วต่ากว่าซีพียูมาก
ระบบปฏิบัติการจึงได้เตรียมพื้นที่ส่วนหนึ่ง จะเป็นในหน่วยความจาหรือ
ฮาร์ดดิสก์ก็ตาม เรียกว่า บัฟเฟอร์ (buffer)เพื่อเป็นที่พักรอของข้อมูลที่อ่านเข้ามา
เตรียมส่งออกไปยังอุปกรณ์แสดงผลต่างๆ
CPU Management
การจัดการกับหน่วยประมวลผลกลาง
ในระบบคอมพิวเตอร์ที่ต้องทางานหลายๆงานพร้อมกันหรือที่
เรียกว่า multi-tasking นั้น ระบบปฏิบัติการจาเป็นต้อมีการแบ่งเวลา
ของซีพียู เพื่อประมวลผลต่างๆเหล่านั้นด้วย เนื่องจากซีพียูสามารถ
ทางานได้เพียงทีละ หนึ่งคาสั่งเท่านั้น โดยจะสลับการทางานไปมา
ระหว่างโปรแกรมของแต่ละงาน ผู้จึงมองเห็นเสมือนว่าหลายๆ
โปรแกรมทางานได้ในเวลาเดียวกัน
Multi – Tasking
 คือ ความสามารถในการทางานได้หลาย ๆ งาน หรือหลาย ๆ โปรแกรมในเวลา
เดียวกัน เช่น พิมพ์รายงานควบคู่ไปกับการท่องเว็บซึ่งในสมัยก่อนการทางาน
ของระบบปฏิบัติการจะอยู่ในรูปแบบที่เรียกว่า single-tasking ซึ่งจะทางานที
ละโปรแกรมคาสั่ง ผู้ใช้ไม่สามารถที่จะสลับงานไประหว่างโปรแกรมหรือ
ทางานควบคู่กันได้แต่สาหรับในปัจจุบันจะพบเห็นลักษณะการทางานแบบนี้
มากขึ้น เช่น ในระบบปฏิบัติการ Windows รุ่มใหม่ ๆ ซึ่งทาให้การใช้งานได้
สะดวกและทางานได้หลาย ๆ โปรแกรม
Multi – User
 ในระบบการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าไว้ด้วยกันแบบเครือข่าย
ระบบปฏิบัติการที่ทาหน้าที่ควบคุมจะมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งที่เรียกว่า multi-
user หรือความสามารถในการทางานกับผู้ใช้ได้หลาย ๆ คน ขณะที่มีการ
ประมวลผลของงานพร้อม ๆ กัน ทาให้กระจายการใช้ได้ทั่วถึงมากยิ่งขึ้น
Dos
Disk Operating System
 เป็นชื่อเรียกระบบปฏิบัติการหลายตัวที่พัฒนาโดยไอบีเอ็มและไมโครซอฟท์
ในช่วงปี พ.ศ. 2524-พ.ศ. 2538 (โดยถ้ารวมดอสในวินโดวส์ จะนับถึงปี พ.ศ.
2543) ตัวอย่างของระบบปฏิบัติการนี้เช่น PC-DOS, MS-DOS, FreeDOS, DR-
DOS, Novell-DOS, OpenDOS, PTS-DOS, ROM-DOS เนื่องจากดอสมีผู้ผลิต
หลายเจ้า เช่น PC-DOS จากไอบีเอ็ม และ MS-DOS จากไมโครซอฟท์ เป็นต้น
และดอสอื่นๆ ระบบปฏิบัติการดอสส่วนมากทางานภายใต้เครื่องไอบีเอ็มพีซี
เสมือน ที่ใช้ซีพียู อินเทล x86
ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่ง สร้างขึ้นโดยบริษัท
ไมโครซอฟต์ เนื่องจากความยากในการใช้งานดอสทาให้บริษัท ไมโครซอฟต์ได้
มีการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่เรียกว่า Windows ที่มีลักษณะเป็น GUI (Graphic-User
Interface) ที่นารูปแบบของสัญลักษณ์ภาพกราฟิกเข้ามาแทนการป้อนคาสั่งทีละ
บรรทัด ซึ่ง ใกล้เคียงกับ แมคอินทอชโอเอส เพื่อให้การใช้งานดอสทาได้ง่ายขึ้น
แต่วินโดวส์จะยัง ไม่ใช่ระบบปฏิบัติการจริง ๆ เนื่องจากมันจะทางานอยู่ภายใต้
การควบคุมของดอสอีกที กล่าวคือจะต้องมีการติดตั้งดอสก่อนที่จะติดตั้ง
ระบบปฏิบัติการ Windows และผู้ใช้จะสามารถเรียกใช้คาสั่งต่าง ๆ ที่มีอยู่ในดอส
ได้โดยผ่านทางWindows ซึ่ง Windows จะง่ายต่อการใช้งานมากกว่าดอส
ระบบปฏิบัติการ windows ใช้หลักการแบ่งงานเป็นส่วน เรียกว่า หน้าต่างงาน
(windows) ที่แสดงผลลัพธ์แต่ละโปรแกรม มีการผลิตและจาหน่ายหลายรุ่น
Window
Mac OS X
เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้ติดตั้งลงบนเครื่องคอมพิวเตอร์อย่าง
Macbook และ iMac หากท่านเคยได้ทดลองใช้แล้วรับรองว่า
จะต้องชอบ เพราะว่ามันมีความเร็ว เสถียร ใช้งานง่าย และ สบายตา
ไวรัสมีน้อย ความสามารถครบครัน อีกทั้งซอร์ฟแวร์บางอย่างยังมี
ใช้ได้แค่บนระบบปฏิบัติการนี้เท่านั้น หากว่าคุณจาเป็นที่จะต้องใช้
งานด้านมัลติมีเดียอยู่เป็นประจา Mac ตอบโจทย์ได้ดีที่สุด เพราะ
ทั้งเครื่อง Mac และ OSX ได้ออกแบบมาเพื่อสิ่งนี้อยู่แล้ว
iOS
เป็นระบบ บนเครื่องพกพาเคลื่อนที่อย่าง iPhone, iPad และ iPod
รูปร่างหน้าตาของ iOS นั้นก็คงจะเป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่าน่าใช้
ขนาดไหน แต่ต้องมองลึกเข้าไปถึงด้านใน คุณจะเจอแอปพลิเคชั่น
มากมายให้เลือกใช้กันแทบไม่หมด ไม่ว่าจะเป็นเกมส์ การทางาน
เอกสาร การสนทนา การถ่ายรูป และอื่นๆ แอปพลิเคชั่นเหล่านี้มีให้
เลือกทั้งแบบฟรีและแบบซื้อ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะและ
ความสามารถของการใช้งาน ใครที่เคยได้ใช้ iOS บน iPhone หรือ
iPad แล้วจะรู้สึกได้ทันทีเลยว่ามันลื่นมาก แถมยังไม่มีอาการงอแง
ค้าง หรือกระตุกเลย นั่นเป็นเพราะการทางานระหว่างฮาร์ดแวร์และ
ซอร์ฟแวร์เข้ากันได้อย่างดีเยี่ยมนั่นเอง
Android
เป็นระบบปฏิบัติการที่มีพื้นฐานอยู่บนลินุกซ์ ถูกออกแบบมา
สาหรับอุปกรณ์ที่ใช้จอสัมผัส เช่นสมาร์ตโฟน และแท็บเล็ต
คอมพิวเตอร์ ถูกคิดค้นและพัฒนาโดยบริษัทแอนดรอยด์
 (Android, Inc.) ซึ่งต่อมา กูเกิล ได้ทาการซื้อต่อบริษัทในปี พ.ศ.
2548 แอนดรอยด์ถูกเปิดตัวเมื่อ ปี พ.ศ. 2550 พร้อมกับการก่อตั้ง
โอเพนแฮนด์เซตอัลไลแอนซ์ ซึ่งเป็นกลุ่มของบริษัทผลิตฮาร์ดแวร์,
ซอฟต์แวร์ และการสื่อสารคมนาคม ที่ร่วมมือกันสร้างมาตรฐาน
เปิด สาหรับอุปกรณ์พกพาโดยสมาร์ตโฟนที่ใช้ระบบปฏิบัติการ
แอนดรอยด์เครื่องแรกของโลกคือ เอชทีซี ดรีม วางจาหน่ายเมื่อปี
พ.ศ. 2551
รายชื่อ คณะผู้จัดทา
5831280002 นาย ณัฐดนัย มั่นนุช เลขที่ 2
5831280003 นาย ภัทรพงศ์ คล้ายสุวรรณ เลขที่ 3
5831280005 นายวิชชากร ศีราวงค์ เลขที่ 5
5831280010 นายอัครพนธ์ พรหมบุญ เลขที่ 10

More Related Content

What's hot

ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการrunjaun
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์อยู่ไหน เหงา
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์อยู่ไหน เหงา
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์อยู่ไหน เหงา
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการNaritsa Charoensi
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการNaritsa Charoensi
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์Worapod Khomkham
 
ระบบปฏิบั..[1]
ระบบปฏิบั..[1]ระบบปฏิบั..[1]
ระบบปฏิบั..[1]Pheeranan Thetkham
 
ระบบปฏิบั..[1] แมว
ระบบปฏิบั..[1] แมวระบบปฏิบั..[1] แมว
ระบบปฏิบั..[1] แมวPheeranan Thetkham
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์Pokypoky Leonardo
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการJewely Slsnt
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการWirot Chantharoek
 
ระบบปฏิบั..[1] ขาว
ระบบปฏิบั..[1] ขาวระบบปฏิบั..[1] ขาว
ระบบปฏิบั..[1] ขาวMilkSick
 
ระบบปฏิบั..[1] ขาว
ระบบปฏิบั..[1] ขาวระบบปฏิบั..[1] ขาว
ระบบปฏิบั..[1] ขาวMilkSick
 
ระบบปฏิบัติการ1
ระบบปฏิบัติการ1ระบบปฏิบัติการ1
ระบบปฏิบัติการ1Paveenut
 

What's hot (15)

ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
ระบบปฏิบั..[1]
ระบบปฏิบั..[1]ระบบปฏิบั..[1]
ระบบปฏิบั..[1]
 
ระบบปฏิบั..[1] แมว
ระบบปฏิบั..[1] แมวระบบปฏิบั..[1] แมว
ระบบปฏิบั..[1] แมว
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบั..[1] ขาว
ระบบปฏิบั..[1] ขาวระบบปฏิบั..[1] ขาว
ระบบปฏิบั..[1] ขาว
 
ระบบปฏิบั..[1] ขาว
ระบบปฏิบั..[1] ขาวระบบปฏิบั..[1] ขาว
ระบบปฏิบั..[1] ขาว
 
ระบบปฏิบัติการ1
ระบบปฏิบัติการ1ระบบปฏิบัติการ1
ระบบปฏิบัติการ1
 

Similar to ระบบปฏิบัติการ edit01

Work3-ศวิตา40
Work3-ศวิตา40Work3-ศวิตา40
Work3-ศวิตา40savimint
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการSakonwan947
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการSakonwan947
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการSakonwan947
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการSakonwan947
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการRawiwan Kashornchan
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการwannuka24
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการwannuka24
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการwannuka24
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt onthicha1993
 
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt onthicha1993
 
ระบบปฏิบัติการ1
ระบบปฏิบัติการ1ระบบปฏิบัติการ1
ระบบปฏิบัติการ1Paveenut
 
ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์Ammarirat
 
ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์Ammarirat
 
ของกชกร
ของกชกรของกชกร
ของกชกรgotchagon
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการJoMaZa03
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 

Similar to ระบบปฏิบัติการ edit01 (20)

Work3-ศวิตา40
Work3-ศวิตา40Work3-ศวิตา40
Work3-ศวิตา40
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
it-05-11
it-05-11it-05-11
it-05-11
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
Work3
Work3Work3
Work3
 
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 
ระบบปฏิบัติการ1
ระบบปฏิบัติการ1ระบบปฏิบัติการ1
ระบบปฏิบัติการ1
 
ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์
 
ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์
 
ของกชกร
ของกชกรของกชกร
ของกชกร
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 

ระบบปฏิบัติการ edit01