SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ผ่ า นม า 2 3 0 ปี เพิ่ ง พบ โ ม เล กุ ล “ ออก ซิ เ จน ” ใน อว ก า ศ ครั้ ง แ รก




    โมเลกุลออกซิเจนอาจซ่อนตัวอยู่ในบริเวณที่ดาวกาลังก่อตัว (บีบีซีนิวส์)

       กล้องโทรทรรศน์อวกาศพบหลักฐานโมเลกุล “ออกซิเจน” ในอวกาศ ซึ่งเป็นครั้งแรกที่เราค้นพบ
โมเลกุลออกซิเจนในรูปแบบเดียวกับที่เราใช้หายใจ โดยพบโมเลกุลดังกล่าวในบริเวณที่มีการกาเนิดดาวใน
กลุ่มดาวนายพราน

      ทั้งนี้ ออกซิเจนเป็นธาตุที่มีอยู่มากมายเป็นอันดับ 3 ในจักรวาล รองจากไฮโดรเจนและฮีเลียม โมเลกุล
ของออกซิเจนเกิดขึ้นจากออกซิเจน 2 อะตอมรวมตัวกันด้วยพันธะคู่ (double bond) ซึ่งช่วยในการดารงชีวิต
ของสิ่งมีชีวิตบนโลก แต่เราไม่เคยพบออกซิเจนที่มีรูปแบบโมเลกุลเดียวกันนี้ในอวกาศ




 วิศวกรกาลังง่วนอยู่กับกล้องโทรทรรศน์เฮอร์เชลระหว่างสร้างเมื่อปี 2007 ทั้งนี้กล้องโทรทรรศน์อวกาศ
ของอีซานี้ถูกส่งขึ้นไปเมื่อปี 2009 (เอเอฟพี)
ล่าสุดบีบีซีซีนิวส์และเอเอฟพีรายงานว่า กล้องโทรทรรศน์อวกาศเฮอร์เชล (Herschel) ขององค์การ
อวกาศยุโรป (European Space Agency) หรืออีซา (ESA) พบหลักฐานที่ได้รับการยืนยันเป็นครั้งแรกว่าเป็น
โมเลกุลออกซิเจนในอวกาศ ซึ่งบริเวณที่ค้นพบอยู่ในบริเวณที่ดาวก่อตัวในกลุ่มดาวนายพราน (Orion) และ
รายงานการค้นพบครั้งนี้ได้เผยแพร่ลงวารสารแอสโตรฟิสิคัลเจอร์นัล (Astrophysical Journal)

     “ก๊าซออกซิเจนถูกค้นพบเมื่อทศวรรษ 1770 แต่เราต้องใช้เวลามากกว่า 230 ปีเพื่อจะพูดได้เต็มปากว่า
โมเลกุลที่แสนจะธรรมดานี้มีอยู่ในอวกาศด้วย” เอเอฟพีรายงานคาพูดของ พอล โกลด์สมิธ (Paul
Goldsmith) นักวิทยาศาสตร์ในโครงการกล้องเฮอร์เชล จากห้องปฏิบัติการจรวดขับเคลื่อนความดัน (Jet
Propulsion Laboratory) ขององค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐฯ (นาซา)

      ออกซิเจนในอวกาศมีอยู่ในน้าแข็งที่ปกคลุมพื้นผิวของเม็ดฝุ่นเล็กๆ และเมื่อได้รับความร้อนมากขึ้นระดับ
หนึ่งจะปลดปล่อยน้าและออกซิเจนออก ซึ่งโกลด์สมิธกล่าวว่านั่นเป็นบริเวณที่ออกซิเจนซุกซ่อนอยู่ แต่เราก็ยัง
ไม่พบในปริมาณที่มากนัก และยังไม่เข้าใจถึงความพิเศษของบริเวณที่เราค้นพบโมเลกุลออกซิเจน และเขาได้
สรุปว่าเอกภพนั้นยังคงเก็บงาความลับไว้อีกมาก

    ด้านบีบีซีนิวส์รายงานเพิ่มเติมอีกว่า ทีมวิจัยเลือกค้นหาโมเลกุลออกซิเจนในกลุ่มดาวนายพรานบริเวณที่
ดาวกาลังก่อตัว เพราะเชื่อว่าจะมีออกซิเจนที่ปลดปล่อยออกมาจากน้าแข็งและฝุ่นที่ถูก “เผา” จากบริเวณที่มี
ความร้อนและปั่นป่วนมากในอวกาศ

More Related Content

More from thanakit553

Project based learning design 12
Project based learning design 12Project based learning design 12
Project based learning design 12
thanakit553
 
การนำเสนอผลงาน12
การนำเสนอผลงาน12การนำเสนอผลงาน12
การนำเสนอผลงาน12
thanakit553
 
Project based learning design 12
Project based learning design 12Project based learning design 12
Project based learning design 12
thanakit553
 
3 d prainting for science learner 12
3 d prainting for science learner 123 d prainting for science learner 12
3 d prainting for science learner 12
thanakit553
 
Educational robotics for basic education 12
Educational robotics for basic education 12Educational robotics for basic education 12
Educational robotics for basic education 12
thanakit553
 
3 d prainting วันที่ 13
3 d prainting วันที่ 133 d prainting วันที่ 13
3 d prainting วันที่ 13
thanakit553
 
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51
thanakit553
 

More from thanakit553 (20)

Robotic13
Robotic13Robotic13
Robotic13
 
Project13
Project13Project13
Project13
 
Oral13
Oral13Oral13
Oral13
 
3 d13
3 d133 d13
3 d13
 
Project based learning design 12
Project based learning design 12Project based learning design 12
Project based learning design 12
 
การนำเสนอผลงาน12
การนำเสนอผลงาน12การนำเสนอผลงาน12
การนำเสนอผลงาน12
 
Project based learning design 12
Project based learning design 12Project based learning design 12
Project based learning design 12
 
3 d prainting for science learner 12
3 d prainting for science learner 123 d prainting for science learner 12
3 d prainting for science learner 12
 
Educational robotics for basic education 12
Educational robotics for basic education 12Educational robotics for basic education 12
Educational robotics for basic education 12
 
3 d prainting วันที่ 13
3 d prainting วันที่ 133 d prainting วันที่ 13
3 d prainting วันที่ 13
 
3 d prainting 12
3 d prainting 123 d prainting 12
3 d prainting 12
 
ตารางกำหนดการล่าสุด1
ตารางกำหนดการล่าสุด1ตารางกำหนดการล่าสุด1
ตารางกำหนดการล่าสุด1
 
Educational 13 ประกาศ
Educational 13 ประกาศEducational 13 ประกาศ
Educational 13 ประกาศ
 
Educational 12 (2)
Educational 12 (2)Educational 12 (2)
Educational 12 (2)
 
กำหนดการ58
กำหนดการ58กำหนดการ58
กำหนดการ58
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์
 
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
 
Img004
Img004Img004
Img004
 
Img003
Img003Img003
Img003
 
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51
 

ผ่านมา 230 ปีเพิ่งพบโมเลกุล

  • 1. ผ่ า นม า 2 3 0 ปี เพิ่ ง พบ โ ม เล กุ ล “ ออก ซิ เ จน ” ใน อว ก า ศ ครั้ ง แ รก โมเลกุลออกซิเจนอาจซ่อนตัวอยู่ในบริเวณที่ดาวกาลังก่อตัว (บีบีซีนิวส์) กล้องโทรทรรศน์อวกาศพบหลักฐานโมเลกุล “ออกซิเจน” ในอวกาศ ซึ่งเป็นครั้งแรกที่เราค้นพบ โมเลกุลออกซิเจนในรูปแบบเดียวกับที่เราใช้หายใจ โดยพบโมเลกุลดังกล่าวในบริเวณที่มีการกาเนิดดาวใน กลุ่มดาวนายพราน ทั้งนี้ ออกซิเจนเป็นธาตุที่มีอยู่มากมายเป็นอันดับ 3 ในจักรวาล รองจากไฮโดรเจนและฮีเลียม โมเลกุล ของออกซิเจนเกิดขึ้นจากออกซิเจน 2 อะตอมรวมตัวกันด้วยพันธะคู่ (double bond) ซึ่งช่วยในการดารงชีวิต ของสิ่งมีชีวิตบนโลก แต่เราไม่เคยพบออกซิเจนที่มีรูปแบบโมเลกุลเดียวกันนี้ในอวกาศ วิศวกรกาลังง่วนอยู่กับกล้องโทรทรรศน์เฮอร์เชลระหว่างสร้างเมื่อปี 2007 ทั้งนี้กล้องโทรทรรศน์อวกาศ ของอีซานี้ถูกส่งขึ้นไปเมื่อปี 2009 (เอเอฟพี)
  • 2. ล่าสุดบีบีซีซีนิวส์และเอเอฟพีรายงานว่า กล้องโทรทรรศน์อวกาศเฮอร์เชล (Herschel) ขององค์การ อวกาศยุโรป (European Space Agency) หรืออีซา (ESA) พบหลักฐานที่ได้รับการยืนยันเป็นครั้งแรกว่าเป็น โมเลกุลออกซิเจนในอวกาศ ซึ่งบริเวณที่ค้นพบอยู่ในบริเวณที่ดาวก่อตัวในกลุ่มดาวนายพราน (Orion) และ รายงานการค้นพบครั้งนี้ได้เผยแพร่ลงวารสารแอสโตรฟิสิคัลเจอร์นัล (Astrophysical Journal) “ก๊าซออกซิเจนถูกค้นพบเมื่อทศวรรษ 1770 แต่เราต้องใช้เวลามากกว่า 230 ปีเพื่อจะพูดได้เต็มปากว่า โมเลกุลที่แสนจะธรรมดานี้มีอยู่ในอวกาศด้วย” เอเอฟพีรายงานคาพูดของ พอล โกลด์สมิธ (Paul Goldsmith) นักวิทยาศาสตร์ในโครงการกล้องเฮอร์เชล จากห้องปฏิบัติการจรวดขับเคลื่อนความดัน (Jet Propulsion Laboratory) ขององค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐฯ (นาซา) ออกซิเจนในอวกาศมีอยู่ในน้าแข็งที่ปกคลุมพื้นผิวของเม็ดฝุ่นเล็กๆ และเมื่อได้รับความร้อนมากขึ้นระดับ หนึ่งจะปลดปล่อยน้าและออกซิเจนออก ซึ่งโกลด์สมิธกล่าวว่านั่นเป็นบริเวณที่ออกซิเจนซุกซ่อนอยู่ แต่เราก็ยัง ไม่พบในปริมาณที่มากนัก และยังไม่เข้าใจถึงความพิเศษของบริเวณที่เราค้นพบโมเลกุลออกซิเจน และเขาได้ สรุปว่าเอกภพนั้นยังคงเก็บงาความลับไว้อีกมาก ด้านบีบีซีนิวส์รายงานเพิ่มเติมอีกว่า ทีมวิจัยเลือกค้นหาโมเลกุลออกซิเจนในกลุ่มดาวนายพรานบริเวณที่ ดาวกาลังก่อตัว เพราะเชื่อว่าจะมีออกซิเจนที่ปลดปล่อยออกมาจากน้าแข็งและฝุ่นที่ถูก “เผา” จากบริเวณที่มี ความร้อนและปั่นป่วนมากในอวกาศ