SlideShare a Scribd company logo
1 of 51
Download to read offline
www.elifesara.com email:ekkachais@hotmail.com 1
แนวความคิดในการสร้างความ
สมานฉันท์ในสังคมปัจจุบัน
พลเอกเอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
www.elifesara.com
สถานการณ์ภายในประเทศ
กระแสโลกาภิวัฒน์
• การรุกรานด้านประเพณีวัฒนธรรม
• การเปิดเสรีด้านทุน การค้า การเงิน
• สภาวะโลกไร้พรมแดน
•กระแสประชาธิปไตย
•สิทธิมนุษย์ชน
•การค้าเสรี
•การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและธรรมชาติ
•การใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง
•สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
•ปัญหาการล่มสลายของสังคมชนบท
•ยิ่งพัฒนายิ่งต้องพึงต่างชาติมากขึ้น
•เกิดความเสื่อมโทรมของสังคม
•ปัญหาการกระจายรายได้ที่ไม่เป็นธรรม
•ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคเอดส์
การจัดระเบียบโลกใหม่ของมหาอานาจ
ปัญหาในประเทศ
• การก่อการร้ายสากล/ในประเทศ
• อาชญากรรมที่เป็นขบวนการ
• การปะทะทางทหารบริเวณชายแดน
• ภัยจากโจรสลัดและกาลังทางเรือต่างชาติ
• ปัญหาเส้นเขตแดนที่ยังไม่แน่นอน
• ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย
National Securities Issues
• การเมืองที่ขาดการมองผลประโยชน์ของชาติ
• การปกครองยึดรูปแบบเก่าๆ
• ระบบราชการขาดการปรับตัวเข้ากับสภาวะแวดล้อม
ปัญหาการพัฒนาประเทศแบบไม่ยั่งยืน
ปัญหาระบบการศึกษาล้าหลัง
• ขาดจิตสานึกและชาตินิยมความเป็นไทย
• ถูกครอบงาทางความคิด
• ละทิ้งคุณค่าภูมิปัญญาไทย
ปัญหาการเมือง การปกครอง ระบบราชการ
ความท้าทาย: ประชาชาวไทย
4
การเรียนรู้เรื่องความขัดแย้งในสังคมไทย
การใช้กาลังแก้ปัญหา เกิดต้นทุนทางเศรษฐกิจ
สังคมและการเมืองจะสูง
ประสบการณ์ในอดีตจะเป็นคาตอบว่าจะเกิดอะไรใน
อนาคต
ควรศึกษารูปแบบในการจัดการปัญหาที่ผ่านมาใน
อดีตของต่างประเทศและของไทย
www.kpi.ac.th
5
คนไทยส่วนหนึ่งในสังคม
ยังเชื่อว่าความรุนแรงจะแก้ปัญหาได้
Peace in Thailand
www.kpi.ac.th
ความท้าทาย
6
Peace in Thailand
การจัดการความขัดแย้ง ต้องมอง ๓ มิติ
• มิติเชิงป้องกัน
• มิติเชิงแก้ไข
• มิติเชิงปรองดอง เยียวยา สันติสุข
www.kpi.ac.th
สถานการณ์ของสังคมไทยในปัจจุบัน
๗ ปีของกีฬาสีเหลือง สีแดง สีฟ้า สีน้าเงินและหลากสี
ประเทศไทยสูญเสียทางเศรษฐกิจมหาศาลประเมินค่า
ไม่ได้
เสียรัฐธรรมนูญไป 2 ฉบับ
เสียนายกรัฐมนตรีไป 4 คน
เสียนายตารวจ นายทหาร ข้าราชการ ตลอดจน
อาจารย์ที่ดีๆไปหลายคน
วิกฤตที่เกิดขึ้น ยังก่อให้เกิดวิกฤตต่อเนื่องอีก ๔ เรื่อง
๑. ทุกสถาบัน ถูกต่อต้าน ท้าทายกว้างขวาง ทั้งรัฐบาล รัฐสภา
ศาล องค์กรอิสระ องคมนตรี และสถาบันทหาร
๒. วิกฤตทางกฎหมาย ใช้ทาลายฝ่ายตรงกันข้ามทางการเมือง
๓. วิกฤตหลักนิติธรรม ความศักดิ์สิทธิ์ของกฎหมายถูกท้าทาย
โดยกลุ่มต่างๆ ไม่สามารถใช้กฎหมายปกติได้ ต้องใช้กฎหมาย
พิเศษ และองค์กรบังคับใช้กฎหมายอ่อนแอ
๔. วิกฤตการรวมเป็นสังคมเดียว จากการปะทะของกลุ่มสีทาให้
สูญเสียมิตรประเทศเพื่อนบ้าน และอาจเป็นจุดเริ่มต้นของการ
ล่มสลายในอาเซียน และของประเทศชาติ ถ้าไม่จากัดวงขัดแย้ง
ประเทศในอีก ๕ ถึง ๑๐ ปีข้างหน้า
9
“วางเฉย” “ตีกัน”
• เศรษฐกิจล่มสลาย
• ต่างชาติเข้าครอบครอง
เศรษฐกิจไทย
• เป็นเมืองขึ้นทางเศรษฐกิจ
• แตกแยกระหว่างภาค
• แย่งชิงอานาจการปกครอง
ในท้องถิ่น
• เกิดสงครามกลางเมือง
มิคสัญญี
• แนวคิดแบ่งแยกดินแดน
• เปลี่ยนแปลงสถาบันหลัก
• แบ่งแยกชนชั้น
• ต่างคนต่างอยู่
• สงครามแบ่งชิงมวลชน
• ชาติพันธ์/ภูมิภาคนิยม
• ไม่ยอมรับกฎหมาย
• อนาธิปไตย
• เข้าถึงข่าวสารมากยิ่งขึ้น
• เกิดวิกฤตรอบ ๓
• สังคมเกษตรล่มสลาย
• ท่องเที่ยวตกต่า
• คอรัปชั่นเชิงนโยบายมากขึ้น
• ธุรกิจอยู่ในมือทุนต่างชาติ
สังคม
สังคม
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
Peace Country
www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernm
ent.org 1
Indicator
Internal Peace 60%
External Peace 40%
การรับรู้จากความผิดทางอาญาในสังคม(4)
จานวนเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยภายในและตารวจต่อ 100,000 คน(3)
จานวนคดีฆาตกรรมต่อ 100,000 คน (4)
จานวนประชากรจาคุกต่อ 100,000 คน(3)
มีความง่ายต่อการเข้าถึงอาวุธทาลายร้ายแรง(3)
ระดับของความขัดแย้งที่จัด (ภายใน) (5)
โอกาสในการแสดงการใช้ความรุนแรง (3)
ระดับของอาชญากรรมรุนแรง (4)
ความไม่แน่นอนทางการเมือง (4)
ระดับของการทาลายสิทธิมนุษยชน (หวาดกลัวการเมือง) (4)
ปริมาณของการถ่ายโอนจากอาวุธธรรมดาที่สาคัญเป็นผู้รับ(นาเข้า)ต่อ 100,000 คน 1
Indicator
มีสภาพความไม่ปลอดภัยต่อการก่อการร้าย 1
จานวนผู้เสียชีวิตจากความขัดแย้ง (ภายใน) 5
ค่าใช้จ่ายทางทหารเป็นร้อยละ 2 ของ GDP
เงินทุนสาหรับการสหประชาชาติ 2 ภารกิจรักษาสันติภาพ
จานวนรวมของอาวุธหนักต่อ 100,000 คน 3
ปริมาณการเคลื่อนย้ายอาวุธในการจัดจาหน่าย ต่อ 100,000 คน 3
ความสามารถในการทหาร / 2 ความซับซ้อน
จานวนคนพลัดถิ่นเป็นเปอร์เซ็นต์ของประชากร 4
ความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน 5
จานวนของความขัดแย้งทั้งภายในและภายนอกต่อสู้: 2003-08 5
จานวนโดยประมาณของการเสียชีวิตจากความขัดแย้งที่จัด (ภายนอก) 5
1
Rank Country Score
1 Iceland 1.148
2 New Zealand 1.279
3 Japan 1.287
4 Denmark 1.289
5 Czech Republic 1.320
6 Austria 1.337
7 Finland 1.352
8 Canada 1.355
9 Norway 1.356
10 Slovenia 1.358
11 Ireland 1.370
12 Qatar 1.398
13 Sweden 1.401
14 Belgium 1.413
15 Germany 1.416
16 Switzerland 1.421
17 Portugal 1.453
18 Australia 1.455
19 Malaysia 1.467
20 Hungary 1.495
21 Uruguay 1.521
22 Poland 1.545
23 Slovakia 1.576
24 Singapore 1.585
25 Netherlands 1.628
1
Rank Country Score
26 United Kingdom 1.631
27 Taiwan 1.638
28 Spain 1.641
29 Kuwait 1.667
30 Vietnam 1.670
31 Costa Rica 1.681
32 Laos 1.687
33 United Arab Emirates 1.690
34 Bhutan 1.693
35 Botswana 1.695
36 France 1.697
37 Croatia 1.699
38 Chile 1.710
39 Malawi 1.740
40 Romania 1.742
41 Oman 1.743
42 Ghana 1.752
43 Lithuania 1.760
44 Tunisia 1.765
45 Italy 1.775
46 Latvia 1.793
47 Estonia 1.798
48 Mozambique 1.809
49 Panama 1.812
50 South Korea 1.829
51 Burkina Faso 1.832
52 Zambia 1.833
Rank Country Score
53 Bulgaria 1.845
54 Namibia 1.850
55 Argentina 1.852
56 Tanzania 1.858
57 Mongolia 1.880
58 Morocco 1.887
59 Moldova 1.892
60 Bosnia and Hercegovina 1.893
61 Sierra Leone 1.904
62 The Gambia 1.910
63 Albania 1.912
64 Jordan 1.918
65 Greece 1.947
66 Paraguay 1.954
67 Cuba 1.964
68 Indonesia 1.979
69 Ukraine 1.995
69 Swaziland 1.995
71 Cyprus 2.013
72 Nicaragua 2.021
73 Egypt 2.023
74 Brazil 2.040
75 Equatorial Guinea 2.041
76 Bolivia 2.045
77 Senegal 2.047
78 Macedonia 2.048
79 Trinidad and Tobago 2.051
80 China 2.054
81 Gabon 2.059
82 United States of America 2.063
Rank Country Score
83 Bangladesh 2.070
84 Serbia 2.071
85 Peru 2.077
86 Cameroon 2.104
87 Angola 2.109
88 Guyana 2.112
89 Montenegro 2 .113
90 Ecuador 2.116
91 Dominican Republic 2.125
92 Guinea 2.126
93 Kazakhstan 2.137
94 Papua New Guinea 2.139
95 Nepal 2.152
96 Liberia 2.159
96 Uganda 2.159
98 Congo (Brazzaville) 2.165
99 Rwanda 2.185
100 Mali 2.188
101 Saudi Arabia 2.192
102 El Salvador 2.215
103 Tajikistan 2.225
104 Eritrea 2.227
105 Madagascar 2.239
106 Jamaica 2.244
107 Thailand 2.247 1
Rank Country Score
108 Turkmenistan 2.248
109 Armenia 2.260
109 Uzbekistan 2.260
111 Kenya 2.276
112 Belarus 2.283
113 Haiti 2.288
114 Kyrgyz Republic 2.296
115 Cambodia 2.301
116 Syria 2.322
117 Honduras 2.327
119 Iran 2.356
119 Niger 2.356
121 Mexico 2.362
122 Azerbaijan 2.379
123 Bahrain 2.398
124 Venezuela 2.403
125 Guatemala 2.405
126 Sri Lanka 2.407
127 Turkey 2.411
128 Cote d’ Ivoire 2.417
129 Algeria 2.423
130 Mauritania 2.425
131 Ethiopia 2.468
132 Burundi 2.532
133 Myanmar 2.538
134 Georgia 2.558
135 India 2.570
Rank Country Score
136 Philippines 2.574
137 Lebanon 2.597
138 Yemen 2.670
139 Colombia 2.700
140 Zimbabwe 2.722
141 Chad 2.740
142 Nigeria 2.743
143 Libya 2.816
144 Central African Republic 2.869
145 Israel 2.901
146 Pakistan 2.905
147 Russia 2.966
148 Democratic Republic of Congo 3.016
149 North Korea 3.092
150 Afghanistan 3.212
151 Sudan 3.223
152 Iraq 3.296
153 Somalia 3.379
Peace Country Index
2007-105
2008-118
2009-118
2010-124
2011-107-2.247
2012-126-2.303
121-Algeria
122-Eritrea
123-Venezuela
124-Guatemala
125-Mauritania
126-Thailand
127-South Africa
128-Iran
129-Hondurus
130-Turkey
131-Kyrgyzstan
15
ตัวชี้วัดการสร้างสังคมสันติสุข
1
การให้การต้อนรับชาวต่างชาติ(Hospitality to
foreigners)
การรวมกลุ่มในภูมิภาคอย่างลุ่มลึก(Depth of
regional integration)
การมีความสัมพันธ์ที่ดีกับประเทศเพื่อนบ้าน
(Relations with neighbors)
Heart Land and Rim Land Strategy
http://www.tortaharn.net/contents/index.php?option=com_content&task=view&id=63&Itemid=75&ccdate=6-2008
Pivot Area
Eurasia
รูปแบบการทาสงคราม
หนึ่งประเทศสองระบบ
สังคมนิยมคอมมิวนิสต์
มุสลิม/ท้องถิ่นนิยม
www.kpi.ac.th
การใช้เครื่องมือของชาติตามยุคสมัย
การใช้การทหารเป็นตัวนา
การใช้การเมืองเป็นตัวนา
การใช้เศรษฐกิจเป็นตัวนา
การใช้สังคมจิตวิทยาเป็นตัวนา
Media Power
Facebook, Twitter, Vdo link, Mobile Phone,
TV, Radio
การใช้ทรัพยากร
ของชาติ
Global/Local Conflict
Globalization & Localization
Hard Power & Soft Power
Americanization & Islamization
Capitalism & Socialism
High Technology & Low Technology
Tangible & Intangible
Physical & Mental or Spiritual
National Resource
Terrorism Risk Index 2011 ของสถาบัน “เมเปิลครอฟต์”
ประเทศที่เสี่ยงต่อการโจมตีของกลุ่มก่อการร้ายมากที่สุดในโลก
ผลการจัดอันดับ 198 ประเทศทั่วโลกต่อความเสี่ยงด้านการ
ก่อการร้าย ประจาปี 2011
๑. โซมาเลีย
๒. ปากีสถาน
๓. อิรัก
๔. อัฟกานิสถาน
๕. ซูดานใต้
๖. เยเมน
๗. ปาเลสไตน์
๘. สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก
๙. สาธารณรัฐแอฟริกากลาง
๑๐. โคลอมเบีย
๑๑. แอลจีเรีย
๑๒. ไทย
๑๓ .ฟิลิปปินส์
Terrorism Risk Index 2011
ของสถาบัน “เมเปิลครอฟต์”
ประเทศไทยเป็นอับดับ 1 ในระดับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ประเทศตะวันตกถูกระบุมีความเสี่ยงต่อภัยก่อการร้ายมาก
ที่สุดในปีนี้ คือ กรีซ อันดับที่ 27 สหราชอาณาจักร อันดับ
ที่ 38 ฝรั่งเศส อันดับที่ 45 สหรัฐอเมริกา อันดับที่ 61
นอร์เวย์เพิ่งเกิดเหตุสังหารโหด 77 ศพถูกจัดให้มีความ
เสี่ยงต่อภัยก่อการร้ายในอันดับที่ 112 ของโลกจากทั้งหมด
198 ประเทศ เนื่องจากคณะผู้จัดทายังไม่ได้นาเหตุดังกล่าว
มาพิจารณาในปีนี้
องค์กรความโปร่งใสสากลมีเครื่องมือหรือดรรชนีวัดการ
คอรัปชั่นในระดับโลก 5 ตัวด้วยกัน
ดรรชนีภาพลักษณ์คอรัปชั่น (Corruption Perceptions Index – CPI)
เครื่องชี้วัดการคอรัปชั่นทั่วโลก (Global Corruption Barometer –
GCB)
ดัชนีการติดสินบน (Bribe Payers Index – BPI)ผลสารวจการ
คอรัปชั่นของโลก (Global Corruption Report – GCR )
ผลสารวจความโปร่งใสทางการเงิน (Promoting Revenue
Transparency Project)
ผลสารวจการต่อต้านคอรัปชั่น (Transparency in Reporting on Anti-
Corruption – TRAC) 24
อันดับการทุจริตคอรัปชั่น
25
2012:คะแนน 3.7 อันดับ 88
26
3.7
www.kpi.ac.th 27
วงจรความขัดแย้ง
การสื่อสารที่ดี
สร้างการมีส่วนร่วม
การเป็นหุ้นส่วน
แผนที่ความขัดแย้ง
วัฏจักรความขัดแย้ง
รู้สาเหตุความขัดแย้ง
การสานเสวนา
การอานวยการประชุม
การเจรจาต่อรอง
การเจรจาไกล่เกลี่ยคนกลาง
การอนุญาโตตุลาการ
การมีส่วนร่วม
กระบวนการยุติธรรม การฟื้นคืนดี
การขอโทษ
การให้อภัย
การป้องกันและวิเคราะห์
ความขัดแย้ง การจัดการความขัดแย้ง
การปรองดองสู่สันติ
๑
๒
๓
KPI
รากเหง้าและสาเหตุของความขัดแย้ง
ปัญหาความต่างค่านิยม
อุดมการณ์ วัฒนธรรม
ปัญหาความสัมพันธ์
ปัญหาข้อมูล
ความจริงและข่าวสาร
ปัญหาผลประโยชน์
และความต้องการ
ปัญหาโครงสร้าง
www.kpi.ac.th 29
อารมณ์ที่รุนแรง
การรับรู้
คลาดเคลื่อน
สื่อสาร
ทัศนคติตายตัว
ประพฤติเชิงลบ
การแย่งชิงอานาจ
ความไม่เท่าเทียมกัน
ความไม่ยุติธรรม
กฎหมาย
การปกครอง
ปรัชญาความเชื่อไม่ตรงกัน
ค่านิยมต่างกัน
ประสบการณ์
พื้นฐานการศึกษา
วัฒนธรรม ประเพณีต่างกัน
ค่านิยม
ความสัมพันธ์
โครงสร้าง
ข้อมูลน้อย
ผิดพลาด
แปลข้อมูลไม่ตรงกัน
ความแตกต่างในการ
เก็บและศึกษาข้อมูล
แย่งชิงผลประโยชน์
เงินทอง
ทรัพยากร
ความเชื่อ
ความยุติธรรม
วิธีการ
ผลประโยชน์
ยากต่อการเจรจา
เจรจาได้
ประเภทของความขัดแย้ง
30
เวลา
ความรุนแรง
สงคราม การปะทะกันอย่างแท้จริง
การลดลงและหาข้อตกลง
การลดระดับลงของความตึงเครียด
ช่วงหลังความขัดแย้ง
การเพิ่มขึ้นของความตึงเครียด
ความขัดแย้งปรากฎขึ้น
ความขัดแย้งที่ซ่อนเร้นอยู่
ช่วงสันติภาพอย่างแท้จริง
วัฏจักรแห่งความขัดแย้ง
31
ความท้าทาย
ประชาคมโลกจับตาดู
บทบาทแต่ละประเทศ
โลกในกระแสโลกาภิวัตน์ : กฎกติกาของโลก
www. kpi.ac.th
32
สถานการณ์ด้านการรักษาสันติภาพ
แนวโน้มจะใช้กระบวนการทางการเมืองแก้ไขปัญหาแทนการ
สู้รบด้วยอาวุธ
ความขัดแย้งในรูปแบบใหม่ที่เกิดจากหลายปัจจัย เช่นความ
แตกต่างของเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรที่ปะทุขึ้น ต้องมี
มาตรการแก้ไขที่ไม่ให้ขยายขอบเขตกว้างขวาง
กระแสโลกาภิวัฒน์ทาให้เกิดความขัดแย้งในระดับปัจเจก
บุคคลหรือกลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองที่อาจขยายตัวเป็น
ความขัดแย้งขนาดใหญ่ ที่มีผลกระทบต่อสันติภาพและความ
มั่นคงของประเทศต่างๆ
ปัญหาความขัดแย้งภายในประเทศ
ปัญหาความขัดแย้งภายในชาติใดชาติหนึ่ง
อาจมีสาเหตุจากเงื่อนไขหนึ่งหรือหลายประการประกอบกัน
• ความไม่เป็นธรรมในสังคม
• ความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา เผ่าพันธุ์
• การรักษาการปกครองของรัฐ
• กฎหมายหรือองค์กรบังคับใช้กฎหมาย อ่อนแอ
• ภูมิรัฐศาสตร์ที่ไม่เอื้ออานวยให้อานาจการปกครองของ
รัฐบาลกลางสถาปนาครอบคลุมพื้นที่อย่างเต็ม
ประสิทธิภาพ
www.kpi.ac.th
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการสันติภาพด้วยตัวเอง
หนทางที่ ๑ ตามบทบัญญัติที่กาหนดในกฎบัตรสหประชาชาติ
หมวดที่ ๑ Article 2 ข้อ 7
การแก้ปัญหาภายในโดยรัฐใช้กระบวนการสมานฉันท์สองฝ่าย
พยายามป้องกันไม่ให้ปัญหาถูกยกระดับขึ้นสู่สากล
หัวใจสาคัญคือไม่ยอมให้กลุ่มกองกาลังได้รับการยอมรับ
สถานภาพจากประชาคมโลก
ควบคุมการละเมิดสิทธิมนุษยชน ถ้าสามารถควบคุมได้ก็มี
สิทธิที่จะปฏิเสธความพยายามในการแทรกแซงด้วยบทบาท
การรักษาสันติภาพจากประชาคมโลกได้www.kpi.ac.th
ฝากถามถึงสังคมไทยและสังคมโลก
มาถึงวันนี้ความขัดแย้งมีความรุนแรงมากเกินพอ
หรือยัง
ขัดแย้งแล้วเกิดผลดีผลร้ายอย่างไร
แล้วยังจะขัดแย้งกันต่อไปอีกไหม
หากพอแล้วทางออกควรเป็นอย่างไร
สังคมไทยเรามีปัญญาความรู้เพียงพอในการจัดการ
ความขัดแย้งแล้วหรือยัง
36
Thailand:ประสบการณ์ในอดีตไม่เคยเป็นบทเรียน
ภัยพิบัติร้ายแรง ซึนามิ
ไฟไหม้
ตึกถล่ม
รถแก๊ส
น้าท่วม
วิธีแก้ปัญหา มองผลระยะสั้น เปลี่ยนคน เปลี่ยน
องค์กร
ความรุนแรงที่เกิดขึ้นแต่ละครั้งต้องมีผู้ที่รับกรรม
ที่เกิด ไม่มีใครได้อะไรจากความรุนแรง
38
พระราชดารัส ที่พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย ในโอกาสขึ้น
ปีใหม่ 2494 ดังความตอนหนึ่งว่า
“ . ประวัติศาสตร์ได้แสดงให้ปรากฏตลอดมาว่า ชาติใดเสื่อมสูญย่อยยับ
อับปางไป ก็เพราะประชาชาติขาดสามัคคีธรรม แตกแยกเป็นหมู่
คณะ เป็นพรรคเป็นพวก คอยเอารัดเอาเปรียบ ประหัสประหารซึ่ง
กันและกัน บางพรรคบางพวก ถึงกับเป็นไส้ศึกให้ศัตรูมาจู่โจม
ทาลายชาติของตนดังนี้ ข้าพเจ้าจึงขอชักชวนพี่น้องชาวไทยทั้งหลาย ให้
ระลึกถึงพระคุณของบรรพบุรุษ ซึ่งได้กอบกู้รักษาบ้านเกิดเมืองนอนของเรา
มานั้นให้จงหนัก แล้วถือเอาความสามัคคี ความยินยอมเสียสละส่วนตัวเพื่อ
ประโยชน์ยิ่งใหญ่ของประเทศชาติ เป็นคุณธรรมประจาใจอยู่เนืองนิจ จึงขอให้
พี่น้องชาวไทยทั้งหลาย จงบาเพ็ญกรณีกิจของตนแต่ละคนด้วยซื่อสัตย์สุจริต
ขยันหมั่นเพียร อดทนและกล้าหาญ แล้วอุทิศความเสียสละส่วนตัว ความ
เหน็ดเหนื่อยลาบากยากแค้น เป็นพลีบูชาบรรพบุรุษ ผู้ซึ่งได้ก่อสร้างชาติเป็น
มรดกตกทอดมาถึงพวกเราชาวไทยจนบัดนี้”www.kpi.ac.th
สันติเกิดไม่ได้ถ้าไม่มีความยุติธรรม
ความขัดแย้งเป็นเรื่องปกติ อย่านาสันติไปเป็นเครื่งมือเพื่อปราบปราม
ผู้คนโดยอ้างว่าเพื่อความมั่นคงในชาติ
สร้างวัฒนธรรมแห่งสันติ ด้วยให้ความยุติธรรม และสิทธิที่เท่าเทียม
ขจัดความหลงผิดในตัวบุคคล มิใช่มุ่งกาจัดตัวบุคคล
ยิ่งใช้อานาจ ยิ่งเกิดความรุนแรงและการไม่ยอมรับ
ไม่มีใครถูกหรือผิดโดยสมบูรณ์ ความขัดแย้งแก้ได้ด้วยความร่วมมือ
“สันติภาพในโลกจะเกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง ก็เมื่อเราแต่ละคนสร้างสันติ
ภาวะขึ้นได้ภายในใจของเราเองก่อน”(ทะไล ลามะ แห่งธิเบต)
ภาครัฐจะพูดอยู่เสมอว่าทาถูกต้องตามขั้นตอน ตามกฎหมาย
ตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ถ้าทุกคนทาถูกต้อง ทุก
หน่วยงานทาถูกต้อง แล้วทาไมวันนี้จึงยังมีปัญหาอยู่
ตกลงความถูกต้องชอบธรรมตามกฎหมาย นาไปสู่ความ
ยุติธรรมทางสังคมจริงหรือไม่ ความถูกต้องตามกฎหมาย
สร้างให้สังคมเปี่ยมไปด้วยความยุติธรรมจริยธรรมหรือไม่
ทั้งที่ในหลักการแล้วกฎหมายที่ดีก็ควรนาไปสู่ความยุติธรรม
และความมีคุณธรรมจริยธรรมในสังคม ไม่ควรแยกหรือ
แปลกแยกออกจากกัน
“ให้ความยุติธรรมมาก่อนและอยู่เหนือกฎหมาย”
พระบรมราโชวาท
GAM: ในอาเจะห์
www.kpi.ac.th
ประสบการณ์ความขัดแย้งในต่างประเทศ
กรณีศึกษาความขัดแย้ง
Rwanda: รวันดา เป็นประเทศที่กาลังพัฒนา มีการคอรัปชั่น
เหมือนประเทศไทยเรา ประชาชนยากจน อัตราการศึกษาของคนใน
ชาติต่า การแบ่งปันทรัพยากรไม่เป็นธรรม สังคมขาดความ
ยุติธรรม ความขัดแย้งจึงมีขึ้นเป็นระยะ
วิทยุ ซึ่งเป็นสื่อสาคัญของรัฐที่เป็นชาวฮูตู โหมกระพือความ
ขัดแย้ง "ความเกลียดชัง" และ "ความมัวเมาอานาจ"
Africa: การใช้อานาจต้องควบคู่ไปกับความรัก : อดัม คา
เฮน (Adam Kahane) นักสันติวิธีโด่งดังจากการนา
กระบวนการสร้างฉากทัศน์อนาคต (scenario) มาช่วยสร้าง
สันติภาพในประเทศแอฟริกาใต้
North Ireland:
แก้ความขัดแย้งทางการเมืองจากการต่อสู้ด้วยกาลังทหารทั้ง
สองฝ่าย เริ่มต้นจากประชาชนถูกฆ่า 19 คนกลับกลายเป็น
การต่อสู้ที่ทั้งสองฝ่ายต้องสูญเสียเกือบสี่พันคน ใช้เวลาหา
ความจริง ๓๗ ปี
www.kpi.ac.th
South Africa
South Africa
www.kpi.ac.th
“หากกระบวนการเปลี่ยนผ่านเร็วเกินไปก็จะไม่ได้ผล ถามว่า
ถ้ามีรัฐบาลแล้วจะยั่งยืนหรือไม่ มีคนคาดการณ์ว่าสาเร็จและ
ผิดพลาด
แต่สุดท้ายแล้วจะเห็นว่าความสาเร็จที่เกิดขึ้น เริ่มมาจากการ
บินช้าๆ อย่างมีกระบวนการ เป็นการบรรลุอย่างต่อเนื่อง ใน
งานเชิงสร้างสรรค์(เนลสัน แมนดาลา)
South Africa
48
“ความสันติและการรับมือกับความซับซ้อน
ในสังคม จะเกิดขึ้นได้จากการบวนการแก้ไข
อย่างเป็นระบบ การมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย
การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การสานเสวนา
การสร้างสัมผัสร่วม และการผนึกจิตใจ
(ความรัก)และอานาจเข้าร่วมกัน”
Adam Kahene
www.kpi.ac.th
49
อาดัม คาเฮน มองปัญหาเมืองไทย
คาเฮน กล่าวว่า ไม่ใช่แค่ปัญหาเสื้อเหลือง เสื้อแดง เพราะมี
ความซับซ้อนมากกว่านั้นและมีความลึกซึ้ง ไม่ใช่ปัญหาที่จะ
แก้ด้วยนักวิชาการหรือภาครัฐ แต่ต้องสร้างการมีส่วนร่วม
ต้องใช้ทั้งความรักและอานาจ
เพราะต้องไม่ลืมว่าท่ามกลางความขัดแย้งมีความโกรธ การ
แย่งอานาจกัน เมื่อมีการแบ่งขั้วกันชัดเจนต้องหาว่าสิ่งใดดี
ที่สุดที่จะนามาใช้แก้ปัญหา
www.kpi.ac.th
การฟังก็ต้องใส่ใจที่จะฟังในทุกรายละเอียด ไม่ใช่ฟัง
เพื่อตัดสินว่าเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย แต่ต้องพยายาม
สร้างความเข้าใจว่าทาไมถึงคิดแบบนั้น
50
Adam Kahene
ทักษะที่ขาดหาย
www.kpi.ac.th
51
อาดัม คาเฮน มองปัญหาเมืองไทย
คาเฮน กล่าวว่า ไม่ใช่แค่ปัญหาเสื้อเหลือง เสื้อแดง
เพราะมีความซับซ้อนมากกว่านั้นและมีความลึกซึ้ง
ไม่ใช่ปัญหาที่จะแก้ด้วยนักวิชาการหรือภาครัฐ แต่ต้อง
สร้างการมีส่วนร่วม ต้องใช้ทั้งความรักและอานาจ
เพราะต้องไม่ลืมว่าท่ามกลางความขัดแย้งมีความโกรธ
การแย่งอานาจกัน เมื่อมีการแบ่งขั้วกันชัดเจนต้องหา
ว่าสิ่งใดดีที่สุดที่จะนามาใช้แก้ปัญหา
www.kpi.ac.th

More Related Content

More from Taraya Srivilas

จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.Taraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
 

แนวความคิดในการสร้างความสมานฉันท์ในสังคมปัจจุบัน