SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
Hyper Text Transfer Protocol
(HTTP)
Tanapat limaiprom
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
#TanapatLim
1
Hyper Text Transfer Protocol: HTTP
• เอชทีทีพี ( Hyper Text Transfer Protocol: HTTP)
คือโพรโทคอลในระดับชั้นโปรแกรมประยุกต์เพื่อการแจกจ่ายและการ
ทางานร่วมกันกับสารสนเทศของสื่อผสม ใช้สาหรับการรับทรัพยากรที่
เชื่อมโยงกับภายนอก ซึ่งนาไปสู่การจัดตั้งเวิลด์ไวด์เว็บ
2
• การพัฒนาเอชทีทีพีเป็นการทางานร่วมกันของเวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์
เทียม (W3C) และคณะทางานเฉพาะกิจด้านวิศวกรรม
อินเทอร์เน็ต (IETF) ซึ่งมีผลงานเด่นในการเผยแพร่เอกสารขอ
ความเห็น (RFC) หลายชุด เอกสารที่สาคัญที่สุดคือ RFC
2616 (เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2542) ได้กาหนด HTTP/1.1 ซึ่งเป็น
รุ่นที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน
Hyper Text Transfer Protocol: HTTP
3
• HTTP เอชทีทีพีเป็นมาตรฐานในการร้องขอและการตอบรับระหว่างเครื่องลูกข่ายกับเครื่อง
แม่ข่าย ซึ่งเครื่องลูกข่ายคือผู้ใช้ปลายทาง (end-user) และเครื่องแม่ข่ายคือ
เว็บไซต์ เครื่องลูกข่ายจะสร้างการร้องขอเอชทีทีพีผ่านทางเว็บเบราว์เซอร์ เว็บครอว์เลอร์หรือ
เครื่องมืออื่น ๆ ที่จัดว่าเป็น ตัวแทนผู้ใช้ (user agent) ส่วนเครื่องแม่ข่ายที่ตอบรับ ซึ่ง
เก็บบันทึกหรือสร้าง ทรัพยากร (resource) อย่างเช่นไฟล์เอชทีเอ็มแอลหรือรูปภาพ จะ
เรียกว่า เครื่องให้บริการต้นทาง (origin server)
• ในระหว่างตัวแทนผู้ใช้กับเครื่องให้บริการต้นทางอาจมีสื่อกลางหลายชนิด อาทิพร็อกซี เกต
เวย์ และทุนเนล
• HTTP เอชทีทีพีไม่ได้จากัดว่าจะต้องใช้ชุดเกณฑ์วิธีอินเทอร์เน็ต (TCP/IP) เท่านั้น
แม้ว่าจะเป็นการใช้งานที่นิยมมากที่สุดบนอินเทอร์เน็ตก็ตาม
• HTTP เอชทีทีพีสามารถ "นาไปใช้ได้บนโพรโทคอลอินเทอร์เน็ตอื่น ๆ หรือบนเครือข่ายอื่น
ก็ได้" เอชทีทีพีคาดหวังเพียงแค่การสื่อสารที่เชื่อถือได้ นั่นคือโพรโทคอลที่มีการรับรองเช่นนั้น
ก็สามารถใช้งานได้
Hyper Text Transfer Protocol: HTTP
4
HTTP การทางาน
• ปกติเครื่องลูกข่ายเอชทีทีพีจะเป็นผู้เริ่มสร้างการร้องขอก่อน โดยเปิด
การเชื่อมต่อด้วยเกณฑ์วิธีควบคุมการขนส่งข้อมูล (TCP) ไปยังพอร์ต
เฉพาะของเครื่องแม่ข่าย (พอร์ต 80 เป็นค่าปริยาย) เครื่องแม่ข่ายเอชที
ทีพีที่เปิดรอรับอยู่ที่พอร์ตนั้น จะเปิดรอให้เครื่องลูกข่ายส่งข้อความร้อง
ขอเข้ามา เมื่อได้รับการร้องขอแล้ว เครื่องแม่ข่ายจะตอบรับด้วย
ข้อความสถานะอันหนึ่ง ตัวอย่างเช่น "HTTP/1.1 200 OK" ตาม
ด้วยเนื้อหาของมันเองส่งไปด้วย เนื้อหานั้นอาจเป็นแฟ้ มข้อมูลที่ร้องขอ
ข้อความแสดงข้อผิดพลาด หรือข้อมูลอย่างอื่นเป็นต้น
5
• ทรัพยากรที่ถูกเข้าถึงด้วย http จะถูกระบุโดยใช้ตัวระบุแหล่งทรัพยากรสากล
(URL)
• หรือเจาะจงลงไปก็คือ ตัวชี้แหล่งในอินเทอร์เน็ต (URL) โดยใช้ http: หรือ
https: เป็นแผนของตัวระบุ (URL scheme) อ้างอิงเช่น
: http://th.wikipedia.org/wiki/Http
6
HTTP Protocol
• http (HyperText Transfer Protocol: HTTP)
คือโพรโทคอลในระดับชั้นโปรแกรมประยุกต์เพื่อการแจกจ่ายและการทางาน
ร่วมกันกับสารสนเทศของสื่อผสม ใช้สาหรับการรับทรัพยากรที่เชื่อมโยงกับ
ภายนอก ซึ่งนาไปสู่การจัดตั้งเวิลด์ไวด์เว็บ การพัฒนา http เป็นการทางาน
ร่วมกัน
7
W3C
• เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม (W3C) และคณะทางานเฉพาะกิจด้าน
วิศวกรรมอินเทอร์เน็ต (IETF) ซึ่งมีผลงานเด่นในการเผยแพร่เอกสาร
ขอความเห็น (RFC) หลายชุด
• เอกสารที่สาคัญที่สุดคือ RFC 2616 (เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2542) ได้
กาหนด HTTP/1.1 ซึ่งเป็นรุ่นที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน
8
END
9

More Related Content

Similar to What is HTTP

อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตsaranya40
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ตการติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ตKantida SilverSoul
 
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet11.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1Mevenwen Singollo
 
บริการเวิร์ลไวด์เว็บ
บริการเวิร์ลไวด์เว็บบริการเวิร์ลไวด์เว็บ
บริการเวิร์ลไวด์เว็บJoykorawan
 
บริการเวิร์ลไวด์เว็บ
บริการเวิร์ลไวด์เว็บบริการเวิร์ลไวด์เว็บ
บริการเวิร์ลไวด์เว็บJoykorawan
 
วิชาคอมพรีเซ็นเรื่อง วิวัฒนาการอินเตอร์เน็ตของโลก
วิชาคอมพรีเซ็นเรื่อง วิวัฒนาการอินเตอร์เน็ตของโลกวิชาคอมพรีเซ็นเรื่อง วิวัฒนาการอินเตอร์เน็ตของโลก
วิชาคอมพรีเซ็นเรื่อง วิวัฒนาการอินเตอร์เน็ตของโลกnutziip
 
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-www
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-wwwใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-www
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-wwwSamorn Tara
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2Ton TC Tmsb
 
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Htmlการสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา HtmlFair Kung Nattaput
 
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตguest832105
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 

Similar to What is HTTP (16)

อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
โปรโตคอล
โปรโตคอลโปรโตคอล
โปรโตคอล
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ตการติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
 
Joomla
JoomlaJoomla
Joomla
 
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet11.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
 
บริการเวิร์ลไวด์เว็บ
บริการเวิร์ลไวด์เว็บบริการเวิร์ลไวด์เว็บ
บริการเวิร์ลไวด์เว็บ
 
บริการเวิร์ลไวด์เว็บ
บริการเวิร์ลไวด์เว็บบริการเวิร์ลไวด์เว็บ
บริการเวิร์ลไวด์เว็บ
 
Protocol1
Protocol1Protocol1
Protocol1
 
วิชาคอมพรีเซ็นเรื่อง วิวัฒนาการอินเตอร์เน็ตของโลก
วิชาคอมพรีเซ็นเรื่อง วิวัฒนาการอินเตอร์เน็ตของโลกวิชาคอมพรีเซ็นเรื่อง วิวัฒนาการอินเตอร์เน็ตของโลก
วิชาคอมพรีเซ็นเรื่อง วิวัฒนาการอินเตอร์เน็ตของโลก
 
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-www
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-wwwใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-www
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-www
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Htmlการสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 

More from ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม

More from ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม (20)

Tanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdf
Tanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdfTanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdf
Tanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdf
 
Tanapat-AWS-certificate-1-5.pdf
Tanapat-AWS-certificate-1-5.pdfTanapat-AWS-certificate-1-5.pdf
Tanapat-AWS-certificate-1-5.pdf
 
AWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
AWS Identity and access management , tanapat limsaipromAWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
AWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
 
AWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
AWS Technical Essential , Tanapat LimsaipromAWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
AWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
 
AWS Amazon DynamoDB
AWS Amazon DynamoDB AWS Amazon DynamoDB
AWS Amazon DynamoDB
 
Hr clinic2
Hr clinic2Hr clinic2
Hr clinic2
 
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
 
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
 
Mt60307 ch7-data visulization
Mt60307 ch7-data visulizationMt60307 ch7-data visulization
Mt60307 ch7-data visulization
 
Chapter 6 predictive Analytics
Chapter 6 predictive AnalyticsChapter 6 predictive Analytics
Chapter 6 predictive Analytics
 
Ch4 e retailing strategy v62-a4
Ch4 e retailing strategy v62-a4Ch4 e retailing strategy v62-a4
Ch4 e retailing strategy v62-a4
 
Chapter5 descriptive statistic
Chapter5 descriptive statisticChapter5 descriptive statistic
Chapter5 descriptive statistic
 
Ch2 bi gdata
Ch2 bi gdataCh2 bi gdata
Ch2 bi gdata
 
Chapter 2 : Data Management
Chapter 2 : Data ManagementChapter 2 : Data Management
Chapter 2 : Data Management
 
Ch1 Business Information foundation concept
Ch1 Business Information foundation conceptCh1 Business Information foundation concept
Ch1 Business Information foundation concept
 
Chapter2 e-retailing
Chapter2 e-retailingChapter2 e-retailing
Chapter2 e-retailing
 
Chapter2 module 4 Peopleware
Chapter2 module 4 PeoplewareChapter2 module 4 Peopleware
Chapter2 module 4 Peopleware
 
Chapter 2 Module 2 Hardware
Chapter 2 Module 2 HardwareChapter 2 Module 2 Hardware
Chapter 2 Module 2 Hardware
 
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 febChapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
 
Tv Rating
Tv RatingTv Rating
Tv Rating
 

What is HTTP

  • 1. Hyper Text Transfer Protocol (HTTP) Tanapat limaiprom ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม #TanapatLim 1
  • 2. Hyper Text Transfer Protocol: HTTP • เอชทีทีพี ( Hyper Text Transfer Protocol: HTTP) คือโพรโทคอลในระดับชั้นโปรแกรมประยุกต์เพื่อการแจกจ่ายและการ ทางานร่วมกันกับสารสนเทศของสื่อผสม ใช้สาหรับการรับทรัพยากรที่ เชื่อมโยงกับภายนอก ซึ่งนาไปสู่การจัดตั้งเวิลด์ไวด์เว็บ 2
  • 3. • การพัฒนาเอชทีทีพีเป็นการทางานร่วมกันของเวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์ เทียม (W3C) และคณะทางานเฉพาะกิจด้านวิศวกรรม อินเทอร์เน็ต (IETF) ซึ่งมีผลงานเด่นในการเผยแพร่เอกสารขอ ความเห็น (RFC) หลายชุด เอกสารที่สาคัญที่สุดคือ RFC 2616 (เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2542) ได้กาหนด HTTP/1.1 ซึ่งเป็น รุ่นที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน Hyper Text Transfer Protocol: HTTP 3
  • 4. • HTTP เอชทีทีพีเป็นมาตรฐานในการร้องขอและการตอบรับระหว่างเครื่องลูกข่ายกับเครื่อง แม่ข่าย ซึ่งเครื่องลูกข่ายคือผู้ใช้ปลายทาง (end-user) และเครื่องแม่ข่ายคือ เว็บไซต์ เครื่องลูกข่ายจะสร้างการร้องขอเอชทีทีพีผ่านทางเว็บเบราว์เซอร์ เว็บครอว์เลอร์หรือ เครื่องมืออื่น ๆ ที่จัดว่าเป็น ตัวแทนผู้ใช้ (user agent) ส่วนเครื่องแม่ข่ายที่ตอบรับ ซึ่ง เก็บบันทึกหรือสร้าง ทรัพยากร (resource) อย่างเช่นไฟล์เอชทีเอ็มแอลหรือรูปภาพ จะ เรียกว่า เครื่องให้บริการต้นทาง (origin server) • ในระหว่างตัวแทนผู้ใช้กับเครื่องให้บริการต้นทางอาจมีสื่อกลางหลายชนิด อาทิพร็อกซี เกต เวย์ และทุนเนล • HTTP เอชทีทีพีไม่ได้จากัดว่าจะต้องใช้ชุดเกณฑ์วิธีอินเทอร์เน็ต (TCP/IP) เท่านั้น แม้ว่าจะเป็นการใช้งานที่นิยมมากที่สุดบนอินเทอร์เน็ตก็ตาม • HTTP เอชทีทีพีสามารถ "นาไปใช้ได้บนโพรโทคอลอินเทอร์เน็ตอื่น ๆ หรือบนเครือข่ายอื่น ก็ได้" เอชทีทีพีคาดหวังเพียงแค่การสื่อสารที่เชื่อถือได้ นั่นคือโพรโทคอลที่มีการรับรองเช่นนั้น ก็สามารถใช้งานได้ Hyper Text Transfer Protocol: HTTP 4
  • 5. HTTP การทางาน • ปกติเครื่องลูกข่ายเอชทีทีพีจะเป็นผู้เริ่มสร้างการร้องขอก่อน โดยเปิด การเชื่อมต่อด้วยเกณฑ์วิธีควบคุมการขนส่งข้อมูล (TCP) ไปยังพอร์ต เฉพาะของเครื่องแม่ข่าย (พอร์ต 80 เป็นค่าปริยาย) เครื่องแม่ข่ายเอชที ทีพีที่เปิดรอรับอยู่ที่พอร์ตนั้น จะเปิดรอให้เครื่องลูกข่ายส่งข้อความร้อง ขอเข้ามา เมื่อได้รับการร้องขอแล้ว เครื่องแม่ข่ายจะตอบรับด้วย ข้อความสถานะอันหนึ่ง ตัวอย่างเช่น "HTTP/1.1 200 OK" ตาม ด้วยเนื้อหาของมันเองส่งไปด้วย เนื้อหานั้นอาจเป็นแฟ้ มข้อมูลที่ร้องขอ ข้อความแสดงข้อผิดพลาด หรือข้อมูลอย่างอื่นเป็นต้น 5
  • 6. • ทรัพยากรที่ถูกเข้าถึงด้วย http จะถูกระบุโดยใช้ตัวระบุแหล่งทรัพยากรสากล (URL) • หรือเจาะจงลงไปก็คือ ตัวชี้แหล่งในอินเทอร์เน็ต (URL) โดยใช้ http: หรือ https: เป็นแผนของตัวระบุ (URL scheme) อ้างอิงเช่น : http://th.wikipedia.org/wiki/Http 6
  • 7. HTTP Protocol • http (HyperText Transfer Protocol: HTTP) คือโพรโทคอลในระดับชั้นโปรแกรมประยุกต์เพื่อการแจกจ่ายและการทางาน ร่วมกันกับสารสนเทศของสื่อผสม ใช้สาหรับการรับทรัพยากรที่เชื่อมโยงกับ ภายนอก ซึ่งนาไปสู่การจัดตั้งเวิลด์ไวด์เว็บ การพัฒนา http เป็นการทางาน ร่วมกัน 7
  • 8. W3C • เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม (W3C) และคณะทางานเฉพาะกิจด้าน วิศวกรรมอินเทอร์เน็ต (IETF) ซึ่งมีผลงานเด่นในการเผยแพร่เอกสาร ขอความเห็น (RFC) หลายชุด • เอกสารที่สาคัญที่สุดคือ RFC 2616 (เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2542) ได้ กาหนด HTTP/1.1 ซึ่งเป็นรุ่นที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน 8