SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
ธาตุและสารประกอบใน
ชีวิตประจำาวัน
การผลิต พลวง
เซอร์โคเนียม และแร่รัตน
ชาติ
การผลิตพลวง(Sb)
แร่พลวงที่พบส่วนใหญ่เป็นแร่พลวง
เงินหรือแร่สติบไนต์ (Sb2S3 ) และแร่
พลวงทอง หรือ แร่สติบิโคไนต์
(Sb2O4.nH2O )  วิธีการถลุงแร่พลวงขึ้น
กับชนิดและคุณภาพของแร่ ถ้าแร่ที่ไม่ใช่
สารประกอบออกไซด์ จะนำามาทำาเป็น
สารประกอบออกไซด์ก่อน โดยวิธีเผาแร่
ในอากาศหรือเรียกว่า การย่างแร่ ดัง
สมการ
     
 
การผลิตพลวง(Sb)
แล้วนำาแร่ที่เผาแล้วมาผสมกับถ่านหินและ
โซเดียมคาร์บอเนต แล้วใส่ลงไปในเตา
ถลุง ใช้อุณหภูมิประมาณ 800900°C ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น
        2C(s) +O2 (g)      →    2CO (g)
         Sb2O3(s) +3CO (g) 
→    2Sb (l) +3CO2 (g)
 
โซเดียมคาร์บอเนตจะรวมตัวกับสาร
ต่างๆเกิดกากตะกอนลอยอยู่บนโละพลวง
การผลิตพลวง(Sb)
ประโยชน์
โลหะ
แบตเตอรี่
ปืน

- ผสม Pb, Sn เป็นตัวพิมพ์
- ผสม Pb เป็นแผ่นตะกั่วใน
- เป็นส่วนผสมของหัวกระสุน
การผลิตเซอร์โคเนียม
(Zr)

โลหะเซอร์โคเนียมพบตามแหล่ง
แร่ดีบกในรูปของแร่เซอร์-คอน (ZrSiO4)
ุ
โดยการนำาหางแร่ดีบกที่มี ZrSiO4  มา
ุ
ถลุงโดยใช้ C เป็นตัวรัดิวซ์ จากนั้นนำา
โลหะ Zr ที่ไม่บริสทธิ์ไปเผาแล้วผ่านแก๊ส
ุ
Cl2
เข้าไปจนได้ไอของ ZrSiO4 และนำาผลึก
ZrCl4 ไปทำาปฏิกิริยากับ Mg หลอมเหลว
จะเกิดปฏิกิริยาดังนี้
การผลิตเซอร์โคเนียม
(Zr)

ประโยชน์

- Zr บริสุทธิ์ที่มีสเทาเงิน ใช้ทำา
ี
โลหะผสมเพื่อหุ้มแท่งเชื้อเพลิง
ยูเรเนียม
- ZrO2 มีลักษณะเป็นผงสีขาว มี
ความแข็งมากใช้เป็น
• ผงขัดและวัสดุทนไฟ
• ใช้เป็นองค์ประกอบของ
แก้ว และเซรามิกส์ที่ทน
กรดและเบส
แร่รัตนชาติ (Gemstone)
รัตนชาติ โดยแท้จริงแล้วหมายถึง
บรรดาแร่ที่มีคุณค่าหรือลักษณะที่เมื่อนำา
มาเจียระไนหรือขัดมันแล้ว สวยงาม เป็น
เครื่องประดับได้ อาจจะมีค่าสูงมากนับ
ตั้งแต่เพชร ทับทิม มรกตลงไปจนถึงราคา
ถูก เช่น นิลตะโกเป็นต้น แร่ควอทซ์บาง
ชนิด เช่นอะเกต(โมรา-โมกุล) บลัดสโตน
แร่เนฟไฟรท์ กับเจไดท์ หรือ เจทหรือที่
เรียกกันว่าหยก และแร่หรือหินบางชนิดที่
มีสเป็นที่นยม นำามาทำาเป็นเครื่องประดับ
ี
ิ
ได้ รวมเรียก หินสี (coloured stone)
1
แร่รัตนชาติ (Gemstone)
0
เพชร  
สีท ี่น ิย ม : สีขาว
แหล่ง ที่พ บ: ประเทศอินเดียเป็นประเทศแรกที่พบเพชร
ปัจจุบันจะพบมากในแถบประเทศแอฟฟริกาใต้
รายละเอีย ด: เพชร (Diamond) แร่รัตนชาติสีขาว
เป็นอัญมณีที่มีความแข็งมากที่สุด มีค่าความแข็ง 10
โมห์สเกล เกิดขึ้นจากการที่หินหนืดหรือแมกมา
(Magma) ได้เปลี่ยนตัวเองจากธาตุคาร์บอนให้กลาย
เป็นผลึกคาร์บอนหรือเพชร ภายใต้พนผิวโลกในระดับ
ื้
ความลึกถึง 150-250  กิโลเมตร ความดันสูงถึง 70,000
กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร อุณหภูมิ 1,700-2,500
องศาเซลเซียส   และถูกนำาขึ้นมาพร้อมกับแมกม่าโดย
แร่รัตนชาติ (Gemstone)

9

ไพลิน
สีท ี่น ิย ม   : สีนำ้าเงินเข้ม
แหล่ง ที่พ บ:  ไทย พม่า เขมร ศรีลังกา บราซิล
โคลัมเบีย มาร์ดากัสกา และออสเตรเลีย
รายละเอีย ด:นิลกาฬหรือไพลิน(Blue Sapphire) แร่
รัตนชาติสีนำ้าเงิน เดิมคนไทยเรียกว่านิลกาฬ แต่ปัจจุบัน
หลายคนจะรู้จักกันดีในชื่อของไพลิน ตามแหล่งที่ผลิต
ในประเทศพม่า นิลกาฬ,ไพลิน หรือ แซฟไฟร์นำ้าเงินนี้
จัดอยู่ในประเภท คอรันดัม เช่นเดียวกับบุษราคัม และมี
ค่าความแข็ง 9 ในโมห์สเกล ความแข็งรองจากเพชร
เช่นเดียวกับทับทิม มีความวาวและความโปรงใสเหมือน
แร่รัตนชาติ (Gemstone)

9

ทับ ทิม
สีท ี่น ิย ม   : สีแดงเข้ม, แดงอมม่วง, แดงอมชมพู
แหล่ง ที่พ บ: ไทย, พม่า, กัมพูชา, เวียดนาม,
ปากีสถาน, อัฟกานิสถาน, ศรีลังกา
รายละเอีย ด: ทับทิม(Ruby) แร่รัตนชาติสีแดงจัดอยู่
ในแร่ตระกูลคอรันดัม (Corundum) มีความแข็งรอง
จากเพชร มีองค์ประกอบทางเคมีคือ อลูมิเนียมออกไซด์
และโครเมียมที่ทำาให้เกิดสีแดง ส่วนไทเทเนียม เหล็ก
และแกลเลียม เป็นธาตุที่มีส่วนช่วยให้เกิดสีแดงใน
ทับทิมแต่มีปริมาณที่น้อย “ทับทิม” เป็นอัญมณีที่เคยได้
รับการขนานนามว่าเป็นสุดยอดแห่งอัญมณี ว่ากันว่า
ทับทิมที่ไร้ตำาหนิและสีสันสวยงาม ราคาสูงเป็นเท่าตัว
แร่รัตนชาติ (Gemstone)

9

บุษ ราคัม  
สีท ี่น ิย ม   : สีเหลืองเหล้าแม่โขง
แหล่ง ที่พ บ: ไทย (จันทบุรี) ศรีลังกา ทวีปแอฟริกา
(ถือว่ามีปริมาณมากเป็นแหล่งใหม่) ออสเตรเลีย
รายละเอีย ด:บุษราคัม(Yellow Sapphire) เเร่รัตน
ชาติสีเหลือง จัดอยู่ในประเภทคอรันดัม เป็นพลอยที่มีค่า
ความแข็ง9 ในโมห์สเกล เป็นพลอยที่คนในแถบเอเชีย
และตะวันออกกลางนิยมมากอีกชนิดหนึ่ง เพราะมีสีสวย
เข้ากับสีผิวคนเอเชียบุษราคัมเป็นพลอยที่มีตำาหนิน้อย
ผลึกแก้วจะใส เมื่อนำามาเจียระไนแล้ว จะส่องประกาย
วาววับ คล้ายเพชร บุษราคัมที่มีคุณภาพดีจะต้องมีสี
8.
แร่รัตนชาติ (Gemstone)
5
ไพฑูร ย์ 
สีท ี่น ิย ม   : สีนำ้าตาลนำ้าผึ้ง สีเหลืองอมเขียวหรือนำ้าตาล
และมีขา (Star)
แหล่ง ที่พ บ: ศรีลังกา
รายละเอีย ด: ไพฑูรย์(Chrysoberyl-cat eye) เป็น
อัญมณีหรือหินสีชนิดหนึ่ง หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า
ตาแมว(cat eye)  มีค่าความแข็งประมาณ 8.5 ตาม
สเกลของโมห์ เป็นอัญมณีที่แตกต่างจากชนิดอื่น เพราะ
เมื่อได้รับการเจียระไนแบบหลังเบี้ยแล้ว จะเกิดเป็นเส้น
แสงพาดกลางพลอยและจะสะท้อนแสงเหลือบไป บาง
แร่รัตนชาติ

7.5(Gemstone)
8.0

มรกต
สีท ี่น ิย ม : สีเขียว
แหล่ง ที่พ บ: ไทย (จันทบุรี) โคลัมเบีย ไซบีเรียรัสเซีย
อินเดียและปากีสถาน
รายละเอีย ด: มรกต (Emerald) แร่รตนชาติสีเขียว
ั
เกิดจากโครเมี่ยมกับเบริลเลียม(Beryllium)ผสมกันจน
ออกมาเป็นแร่ที่มีสีเขียว คุณภาพของมรกตอยู่ที่สี หากมี
สีเขียวทั่วทั้งเม็ดถือว่าคุณภาพดี ตำาหนิต้องน้อย แต่โดย
ธรรมชาติของมรกตแล้ว จะมีตำาหนิและแตกเปราะง่าย
มรกตที่เลื่องชื่อมากที่สุดคือมรกตที่มาจากโคลัมบีย
เพราะเป็นมรกตที่คุณภาพดี สีสวย ตำาหนิน้อย
แร่รัตนชาติ

6.5(Gemstone)
7.5

เพทาย
  สีท ี่น ิย ม   : สีแดงเข้ม
 แหล่ง ที่พ บ : ไทยและกัมพูชาถือได้ว่าเป็นแหล่งผลิต
เพทายแหล่งใหญ่ของโลก
 รายละเอีย ด :เพทายแร่รัตนชาติสีแดงเข้ม
(Hyacinth) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เซอร์คอน
(Zircon) จัดอยู่ในกลุ่มซิลิเกต มีคุณสมบัติโปร่งใส สีที่
พบทั่วไปมักเป็นสีนำ้าตาล และส้มแดง การแบ่งคุณภาพ
ของเพทาย สามารถแบ่งได้ 3 ระดับ คือ สูง กลาง ตำ่า
เพทายเป็นพลอยที่มีค่าดัชนีหักเหสูงสุด เมื่อเทียบกับ
พลอยชนิดอื่น แต่ไม่รวมเพชร ยิ่งอุณภูมิสูงมากขึ้น ก็จะ
แร่รัตนชาติ

6.5(Gemstone)
7.0

โกเมน
สีท ี่น ิย ม   : สีแดงเลือดหมู
แหล่ง ที่พ บ: ไทย (จันทบุรี, ตราด)
รายละเอีย ด:โกเมน(Garnet) แร่รัตนชาติสีเลือดหมู
ชื่อของ Garnet(ภาษาละตินโบราณ )หมายถึง เหมือน
เมล็ด นั้นมาจากการทีแร่ชนิดนี้ฝังตัวอยู่ในหิน ลักษณะ
่
เดียวกับเมล็ดทับทิมที่อยู่ในผล ลักษณะของโกเมนจัด
อยู่ในระบบไอโซ เมตริก ส่วนใหญ่จะประกอบด้วยซิลิ
เกต เหล็ก แมงกานีส และโครเมี่ยม  ก่อนเจียระไน รูป
ร่างผลึกของโกเมนจะ มีลักษณะกลม ๆ คล้ายตะกร้อ ค่า
ความแข็ง7-7.5 ในโมห์สเกล บางครั้งจะพบโกเมนมีสี
แร่รัตนชาติ

6.0(Gemstone)
6.5

มุก ดาหาร
สีท ี่น ิย ม : สีสว่างขาวนวล เน้นที่ความนวลสว่างของหิน
แหล่ง ที่พ บ: พม่า ศรีลงกา (สองแหล่งนี้คูณภาพสูง
ั
ที่สุด) อินเดีย มาดากัสการ์ บราซิล สหรัฐอเมริกา
เม็กซิโก แทนซาเนีย
รายละเอีย ด: มุกดาหารหรือจันทรกานต์
(Moonstone)  แร่รัตนชาติสีหมอกมัว เป็นหินชนิดหนึ่ง
ในตระกูลเฟลสปาร์ มีค่าความแข็งประมาณ 6-6.5 ใน
โมห์สเกล ซึ่งถือว่ามีค่าความแข็งน้อยทีสุดในบรรดาแร่
่
รัตนชาติ ลักษณะของอัญมณีชนิดนี้คือเป็นหินสีขาว
การเพิ่มคุณภาพของแร่รัตน
ชาติ

การเจียระไน

เป็นเทคนิคที่ทำาให้มีความแวววาว
เนื่องจากการหักเหภายในผลึกและ
สะท้อนออกมาด้านนอก
การเพิ่มคุณภาพของแร่รัตน
ชาติ

การเผาหรือการหุงพลอย

ช่วยให้พลอยมีสีสนสวยงามยิ่งขึ้น
ั
เนื่องจากธาตุต่าง ๆในพลอยมีการจัด
เรียงตัวกันใหม่ และมีการเปลี่ยนเลข
ออกซิเดชันและการเปลี่ยนสีอย่าง
ถาวร
การเพิ่มคุณภาพของแร่รัตน
ชาติ

การย้อมเคลือบสี

เป็นวิธที่ทำาให้พลอยมีสีสันสวยงาม
ี
ขึ้น โดยการเผาพลอยกับสารเคมีบาง
ชนิด เช่น ต้องการให้เป็นสีแดงเข้มขึ้น
ก็เผารวมกัน Cr2O3 ต้องการให้เป็น
สีนำ้าเงินเข้มขึ้นก็เผารวมกัน TiO2 และ
Fe2O3 การทำาเช่นนี้จะได้สีเคลือบผิว
พลอยเพียงชัวคราวเท่านั้น
่
การเพิ่มคุณภาพของแร่รัตน
ชาติ

การอาบรังสี

เป็นการเปลี่ยนสีของพลอย และ
กำาจัดจุดด่างดำาของธาตุมลทินได้
ความแตกต่างระหว่างเพชร
สังเคราะห์และเพชรเทียม

เพชรสังเคราะห์
เกิดจาก

 

เพชรที่สงเคราะห์ได้จะมีสมบัติ
ั
เหมือนเพชรแท้ทุกประการ
แต่ค่าใช้จ่ายในการผลิตสูงมาก สูงกว่า
เพชรธรรมชาติในระดับเดียวกัน
ความแตกต่างระหว่างเพชร
สังเคราะห์และเพชรเทียม

เพชรเทียม

เป็นเพชรที่เกืดจากองค์ประกอบ
ของธาตุหลาย ๆชนิด เช่น รูไทล์
สังเคราะห์ (TiO2) สทรอนเทียมไทเท
เนต (SrTiO3) เป็นต้น เพชรเทียมจะมี
สมบัติกระจายแสงสูง แวววาวมาก
หนาแน่นมากกว่าเพชร
จัดทำาโดย
1. น.ส.วิลาวัณย์
ประเสริฐ
เลขที่ 9
2. น.ส.ชฎาพร
เลขที่ 21
3. น.ส.มลิวัลย์
ที่ 27
4. น.ส.กาญจนา
เลขที่ 37

แกงวิริยะ
ขันติวิริยวาณิชย์
จันทร
กิตติสยาม

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.1

เลข
ธาตุและสารประกอบในชีวิตประจำวัน

More Related Content

What's hot

อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์Jariya Jaiyot
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาคPa'rig Prig
 
อุตสาหกรรมเกลือ
อุตสาหกรรมเกลืออุตสาหกรรมเกลือ
อุตสาหกรรมเกลือChantana Yayod
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมTutor Ferry
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีsoysuwanyuennan
 
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์Tao Captain
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsGawewat Dechaapinun
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8Varin D' Reno
 

What's hot (12)

อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
อุตสาหกรรมเกลือ
อุตสาหกรรมเกลืออุตสาหกรรมเกลือ
อุตสาหกรรมเกลือ
 
Iia
IiaIia
Iia
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
 
Chapter 1.1 glaze basics
Chapter 1.1 glaze basicsChapter 1.1 glaze basics
Chapter 1.1 glaze basics
 
Chapter 1.1 glaze basics
Chapter 1.1 glaze basicsChapter 1.1 glaze basics
Chapter 1.1 glaze basics
 
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
 

ธาตุและสารประกอบในชีวิตประจำวัน