SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
• ผู้ที่ทาหน้าที่ศึกษาปัญหาและความต้องการขององค์กรในการกาหนดบุคคล
(People) ข้อมูล (Data) การประมวลผล (Process) การสื่อสาร
(Communication) และเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information
Technology) ว่าจะจัดการหรือปรับปรุงอย่างไร
เพื่อสามารถพัฒนาระบบธุรกิจไปสู่ความสาเร็จได้
• บุคคลที่มีหน้าที่วิเคราะห์และออกแบบระบบ โดยศึกษาปัญหา รวบรวมความ
ต้องการ ของระบบ วิเคราะห์ระบบงานธุรกิจ ตรวจสอบว่าจะนาระบบ
สารสนเทศมาใช้หรือไม่ หรือควร ปรับปรุงระบบเดิมเขียนข้อกาหนดและ
รายละเอียด(Specification) ของระบบใหม่ เลือกฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ใด
ที่เหมาะสมกับองค์กร มีการวิเคราะห์ต้นทุนว่าคุ้มกับการ ที่จะลงทุนเปลี่ยนระบบใหม่หรือไม่ หรือมีทางใดที่จะช่วยให้
ระบบสามารถสนับสนุน ความต้องการองค์กรได้เป็นอย่างดี
บทบาทหน้าที่ของ นักวิเคราะห์ระบบ (Systems Analyst: SA)
- นักวิเคราะห์ระบบจะเหมือนกับเป็นที่ปรึกษา บุคคลที่จะทาหน้าที่นี้ได้ดีควรเป็นบุคคลในองค์กรเพราะจะรู้ถึง
ลักษณะขององค์กรได้ดี
เนื่องจากจะรู้โดยละเอียดว่า การทางานในระบบนั้น ๆ เป็นอย่างไร และอะไรคือ
ความต้องการของระบบ ถ้าเป็นบุคคลภายนอกองค์กร ถึงแม้จะไม่รู้ละเอียดเกี่ยวกับธุรกิจได้ดี แต่ก็อาจจะมีมุมมอง
ใหม่ๆที่คนในองค์กรไม่มี และสามารถวิเคราะห์ระบบได้เช่นเดียวกัน โดยการศึกษาสอบถามผู้ใช้และวิธีการอื่น ๆ
- นักวิเคราะห์ระบบจะเหมือนกับเป็นส่วนช่วยสนับสนุนผู้เชี่ยวชาญต่างๆทาหน้าที่
ให้คาแนะนา ควรมีความรู้ด้าน Hardware, software, network และจะมองเห็นข้อดีข้อเสีย ของระบบได้เป็นอย่าง
ดี - นักวิเคราะห์ระบบจะเหมือนกับเป็นตัวแทนการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากการทา
ระบบใหม่ จะทาให้การทางานของผู้ใช้งานบางคนต้องเปลี่ยนไป นักวิเคราะห์ระบบ ก็จะทาหน้าที่เป็นคนที่กระตุ้นให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น ซึ่งจะเป็นผลดี หรือผลทางบวก
ในองค์กร
ตัวอย่างคุณสมบัตินักวิเคราะห์ระบบ
• มีความรู้ทางระบบงานธุรกิจเพื่อนามาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ระบบ
• มีความเป็นผู้นา เพราะนักวิเคราะห์ระบบจะต้องทาหน้าที่ควบคุมและ เป็นผู้นาทีม เพื่อเปลี่ยนแปลง
องค์กรให้มีการพัฒนาที่ดีขึ้น
• มีความสามารถในการแก้ปัญหา เพื่อให้การทางานสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี
• เป็นคนที่มองปัญหาว่าเป็นเรื่องท้าทาย เพราะการเปลี่ยนระบบก็คือปัญหาที่
ต้องการการแก้ไข
นางสาวณัฎฐา ขุนบารุง ม.6/5 เลขที่ 24
อาชีพทางด้านเทคโนโลยี
นักวิเคราะห์ระบบ
อาชีพทางด้านเทคโนโลยี

More Related Content

Similar to อาชีพทางด้านเทคโนโลยี

ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศPetch Boonyakorn
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
Ch5_DigitalFirm_52.ppt
Ch5_DigitalFirm_52.pptCh5_DigitalFirm_52.ppt
Ch5_DigitalFirm_52.pptPasiriRiyakul1
 
BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้
BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้
BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้SUMETRATPRACHUM1
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศPrakaywan Tumsangwan
 
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารPrakaywan Tumsangwan
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการskiats
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]orathai
 
งานบทที่2 มนต์นภา คำผุย
งานบทที่2 มนต์นภา คำผุยงานบทที่2 มนต์นภา คำผุย
งานบทที่2 มนต์นภา คำผุยNok Le Dy
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISsiriporn pongvinyoo
 

Similar to อาชีพทางด้านเทคโนโลยี (20)

M
MM
M
 
M
MM
M
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Chapter 02
Chapter 02Chapter 02
Chapter 02
 
Project Sky
Project SkyProject Sky
Project Sky
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
 
Ch5_DigitalFirm_52.ppt
Ch5_DigitalFirm_52.pptCh5_DigitalFirm_52.ppt
Ch5_DigitalFirm_52.ppt
 
Sdlc
SdlcSdlc
Sdlc
 
Dss pp
Dss ppDss pp
Dss pp
 
Erp present
Erp presentErp present
Erp present
 
BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้
BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้
BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้
 
Group1
Group1Group1
Group1
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการ
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]
 
งานบทที่2 มนต์นภา คำผุย
งานบทที่2 มนต์นภา คำผุยงานบทที่2 มนต์นภา คำผุย
งานบทที่2 มนต์นภา คำผุย
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
 

อาชีพทางด้านเทคโนโลยี

  • 1. • ผู้ที่ทาหน้าที่ศึกษาปัญหาและความต้องการขององค์กรในการกาหนดบุคคล (People) ข้อมูล (Data) การประมวลผล (Process) การสื่อสาร (Communication) และเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ว่าจะจัดการหรือปรับปรุงอย่างไร เพื่อสามารถพัฒนาระบบธุรกิจไปสู่ความสาเร็จได้ • บุคคลที่มีหน้าที่วิเคราะห์และออกแบบระบบ โดยศึกษาปัญหา รวบรวมความ ต้องการ ของระบบ วิเคราะห์ระบบงานธุรกิจ ตรวจสอบว่าจะนาระบบ สารสนเทศมาใช้หรือไม่ หรือควร ปรับปรุงระบบเดิมเขียนข้อกาหนดและ รายละเอียด(Specification) ของระบบใหม่ เลือกฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ใด ที่เหมาะสมกับองค์กร มีการวิเคราะห์ต้นทุนว่าคุ้มกับการ ที่จะลงทุนเปลี่ยนระบบใหม่หรือไม่ หรือมีทางใดที่จะช่วยให้ ระบบสามารถสนับสนุน ความต้องการองค์กรได้เป็นอย่างดี บทบาทหน้าที่ของ นักวิเคราะห์ระบบ (Systems Analyst: SA) - นักวิเคราะห์ระบบจะเหมือนกับเป็นที่ปรึกษา บุคคลที่จะทาหน้าที่นี้ได้ดีควรเป็นบุคคลในองค์กรเพราะจะรู้ถึง ลักษณะขององค์กรได้ดี เนื่องจากจะรู้โดยละเอียดว่า การทางานในระบบนั้น ๆ เป็นอย่างไร และอะไรคือ ความต้องการของระบบ ถ้าเป็นบุคคลภายนอกองค์กร ถึงแม้จะไม่รู้ละเอียดเกี่ยวกับธุรกิจได้ดี แต่ก็อาจจะมีมุมมอง ใหม่ๆที่คนในองค์กรไม่มี และสามารถวิเคราะห์ระบบได้เช่นเดียวกัน โดยการศึกษาสอบถามผู้ใช้และวิธีการอื่น ๆ - นักวิเคราะห์ระบบจะเหมือนกับเป็นส่วนช่วยสนับสนุนผู้เชี่ยวชาญต่างๆทาหน้าที่ ให้คาแนะนา ควรมีความรู้ด้าน Hardware, software, network และจะมองเห็นข้อดีข้อเสีย ของระบบได้เป็นอย่าง ดี - นักวิเคราะห์ระบบจะเหมือนกับเป็นตัวแทนการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากการทา ระบบใหม่ จะทาให้การทางานของผู้ใช้งานบางคนต้องเปลี่ยนไป นักวิเคราะห์ระบบ ก็จะทาหน้าที่เป็นคนที่กระตุ้นให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น ซึ่งจะเป็นผลดี หรือผลทางบวก ในองค์กร ตัวอย่างคุณสมบัตินักวิเคราะห์ระบบ • มีความรู้ทางระบบงานธุรกิจเพื่อนามาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ระบบ • มีความเป็นผู้นา เพราะนักวิเคราะห์ระบบจะต้องทาหน้าที่ควบคุมและ เป็นผู้นาทีม เพื่อเปลี่ยนแปลง องค์กรให้มีการพัฒนาที่ดีขึ้น • มีความสามารถในการแก้ปัญหา เพื่อให้การทางานสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี • เป็นคนที่มองปัญหาว่าเป็นเรื่องท้าทาย เพราะการเปลี่ยนระบบก็คือปัญหาที่ ต้องการการแก้ไข นางสาวณัฎฐา ขุนบารุง ม.6/5 เลขที่ 24 อาชีพทางด้านเทคโนโลยี นักวิเคราะห์ระบบ