SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
หน่วยความจาสารอง
Secondary Storage
หน่วยความจาสารอง (Secondary Storage)
หน่วยความจาสารองคือ อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการเก็บบันทึกข้อมูลและ
โปรแกรมต่างๆแบบถาวร ได้แก่ฮาร์ดดิสก์ ฟล็อปปี้ดิสก์ แผ่นซีดีรอม ฯลฯโดยถ้าเป็น
ข้อมูลที่มีขนาดเล็กและต้องการเคลื่อนย้ายไฟล์ไปที่คอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ก็ใช้ฟล็อป
ปี้ดิสก์แต่ถ้าเป็นข้อมูลที่มีขนาดใหญ่มากๆ ก็จะเก็บลงในฮาร์ดดิสก์ หรือแผ่นซีดีรอม
ซึ่งข้อมูลที่เก็บในฟล็อปปี้ดิสก์หรือฮาร์ดดิสก์เราสามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้และ
บันทึกลงไปใหม่ได้ส่วนแผ่นซีดีรอมไม่สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้
ฟล็อปปี้ดิสก์ (Floppy Disk)
หรือที่นิยมเรียกว่า แผ่นดิสก์ หรือ ดิสเกตต์ (diskette) ฟล็อปปี้ดิสก์เป็นอุปกรณ์เก่าแก่ที่มีมานานับสิบปี ตั้งแต่ก่อนยุค
ของพีซี สร้างขึ้นในปี ค.ศ.1971 เพื่อใช้กับเครื่อง System/370 ของบริษัทไอบีเอ็ม (IBM) สร้างเริ่มจากขนาด 8 นิ้ว
กลายมาเป็น 5.25 นิ้ว และในที่สุดก็มาหยุดอยู่ที่ 3.5 นิ้ว ความจุก็ได้เพิ่มจากไม่กี่ร้อยกิโลไบต์มาเป็น 1.44 และ 2.88 เมกะไบต์ใน
ปัจจุบัน สมัยก่อนโปรแกรมมีขนาดไม่ใหญ่นัก ใช้เนื้อที่จุภายในดิสก์ไม่กี่กิโลไบต์ แต่ปัจจุบันข้อมูลมีปริมาณมากขึ้นพร้อม ๆ กับ
เทคโนโลยีมัลติมีเดีย ทาให้ความจุของดิสก์ไม่เพียงพอกับความต้องการในปัจจุบัน
ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk)
ฮาร์ดดิสก์ หรือ จานบันทึกแบบแข็ง คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน
ฮาร์ดดิสก์ที่มีกลไกแบบปัจจุบันถูกประดิษฐ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2499โดยนักประดิษฐ์ยุคบุกเบิกแห่งบริษัทไอบีเอ็ม โดยมีความจุ
เริ่มแรกที่ 100 กิโลไบต์ มีขนาด 20 นิ้ว ในปี พ.ศ.2523 ฮาร์ดดิสก์ยังเป็นสิ่งที่หายากและราคาแพงมาก แต่หลังจากนั้น
ฮาร์ดดิสก์กลายเป็นมาตรฐานของพีซีและราคาถูกลงมาก
มีลักษณะเป็นจานแม่เหล็กหลายแผ่นวางซ้อนกัน โดยอาจมีจานวนแผ่น 3-11 แผ่น ซึ่งจะไม่เรียกว่าดิสก์ แต่จะเรียกว่า
แพลตเตอร์ (Platter) แทน ซึ่งแต่ละแพลตเตอร์จะสามารถเก็บข้อมูลได้ทั้งสองด้าน เนื่องจากแพลตเตอร์ผลิตจากสารจาพวก
โลหะหรือแก้วบางชนิด จึงไม่สามารถงอไปงอมาได้ เหมือนกับฟล็อปปี้ดิสก์ ทาให้ต้องมีโลหะปิดไว้ทุกด้านเพื่อป้ องกันการ
กระทบกระเทือน ฮาร์ดดิสก์จึงสามารถเก็บข้อมูลได้เป็นจานวนมาก แล้วแต่ความจุของแต่ละรุ่น
CD (Compact Disk)
CD (Compact Disk) เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลสารองที่ได้รับความนิยมกันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน
ลักษณะหนึ่งที่สาคัญของ CD คือจะถูกอ่านด้วยเครื่องอ่าน CD (CD - Rom Drive) ที่มีความเร็วที่แตกต่างกันออกไป ความเร็วใน
การอ่านซีดีจะเขียนอยู่ในรูปของตัวคูณ (x) เช่น เครื่องอ่านซีดี ขนาด 24x ,32x, 52x เป็นต้น ปัจจุบันซีดีแต่ละแผ่นสามารถจุข้อมูล
ได้ประมาณ
700 MB ซีดี สามารถแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ
- CD - Rom (Compact Disk Read - Only Memory) มีลักษณะคล้ายกับซีดีเพลง หรือ ซีดีที่ขายกันอยู่ทั่วไป
คาว่า read - onlyหมายถึง อ่านได้เพียงอย่างเดียว ผู้ใช้ไม่สามารถแก้ไขหรือลบข้อมูลในแผ่นซีดีได้
- CD - R (Compact Disk Recordable ) เป็น ซีดีที่สามารถเขียน บันทึก หรือ write ข้อมูลได้ครั้งเดียว และสามารถอ่านข้อมูล
ได้หลายครั้งแต่ไม่สามารถลบข้อมูลที่อยู่ใน CD - R ได้
- CD - RW (Compact Disk Rewriteable หรือ Erasable Optical Disk) ซีดีประเภทนี้คล้ายกับ
DVD (Digital Versatile Disk)
DVD (Digital Versatile Disk) เป็นแผ่นข้อมูลแบบบันทึกด้วยแสง (Optical DisK) ที่ใช้บันทึกข้อมูลต่างๆ เช่น ภาพยนตร์ โดยให้
คุณภาพของภาพและเสียงที่ดี ดีวีดีถูกพัฒนามาใช้แทนซีดีรอม โดยใช้แผ่นที่มีขนาดเดียวกัน (เส้นผ่าศูนย์กลาง 12 เซนติเมตร) แต่ว่า
ใช้การบันทึกข้อมูลที่แตกต่างกัน และความละเอียดในการบันทึกที่หนาแน่นกว่า เดิมทีดีวีดีมาจากชื่อย่อว่า digital video disc แต่ใน
ภายหลังผู้ผลิตบางรายเห็นว่าควรเปลี่ยนชื่อเป็น Digital Versatile Diskปัจจุบันตามคานิยามอย่างเป็นทางการแล้ว DVD ไม่ได้ย่อมา
จากชื่อเต็มแต่อย่างใด เครื่องเขียนแผ่นดีวีดี (DVD Writer) คือ เครื่องสาหรับการบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นดีวีดี
ในการบันทึก DVD แต่ละชนิดนั้นไม่สามารถใช้งานข้ามชนิดได้ คือไม่สามารถใช้งานข้ามไดร์ฟได้เช่น DVD-RW ไม่สามารถ
ใช้งานในเครื่องบันทึก DVD+RW ได้ต้องเขียนกับเครื่องบันทึก DVD-RW เท่านั้นส่วนการอ่านข้อมูลใน DVD นั้น สามารถอ่าน
กับเครื่องไหนก็ได้ เช่น DVD+RW สามารถอ่านกับเครื่องเล่น DVD-RW ได้ส่วน DVD-RAM เดี๋ยวนี้ไม่นิยมใช้แล้ว
แฟลชไดรฟ์ (Flash Drive)
แฟลชไดรฟ์ หรือ ยูเอสบีไดรฟ์ เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์สาหรับเก็บข้อมูลโดยใช้หน่วยความจาแบบแฟลช ทางานร่วมกับ
ยูเอสบี 1.1 หรือ 2.0 มีลักษณะเล็ก น้าหนักเบาเป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่ไม่ต้องมีตัวขับเคลื่อน (Drive) สามารถพกพาไปไหนได้
โดยต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย Port USB ปัจจุบันความจุของไดร์ฟมีตั้งแต่ 8, 16, 32, 64, 128 จนถึง 1024 เมกะ
ไบต์ ทั้งนี้ยังมีไดร์ฟลักษณะเดียวกัน ในปัจจุบัน (พ.ศ. 2549) บางรุ่นมีความจุสูงถึง16 GB โดยทั่วไปไดรฟ์ จะทางานได้ในหลาย
ระบบปฏิบัติการซึ่งรวมถึง วินโดวส์98/ME/2000/XP แมคอินทอช ลินุกซ์ และยูนิกซ์ แฟลชไดรฟ์ รู้จักกันในชื่อต่างๆ รวมถึง
“ทัมบ์ไดรฟ์ ” “คีย์ไดรฟ์ ” “จัมป์ ไดรฟ์ ” และชื่อเรียกอื่น โดยขึ้นอยู่กับผู้ผลิต
เทคโนโลยี Blu-Ray
บลูเรย์ดิสค์ (Blu-ray Disc) หรือ บีดี (BD) คือรูปแบบของแผ่นออพติคอลสาหรับบันทึกข้อมูลความละเอียดสูง ชื่อของบลูเรย์มา
จาก ช่วงความยาวคลื่นที่ใช้ในระบบบลูเรย์ ที่ 405 nm ของเลเซอร์สี "ฟ้า" ซึ่งทาให้สามารถทาให้เก็บข้อมูลได้มากกว่าดีวีดี ที่มี
ขนาดแผ่นเท่ากัน โดยดีวีดีใช้เลเซอร์สีแดงความยาวคลื่น 650nm
ความจุของบลูเรย์ดิสค์
ซึ่งปกติแผ่นบลูเรย์นั้นจะมีลักษณะคล้ายกับแผ่น ซีดี/ดีวีดี โดยแผ่นบลูเรย์จะมีลักษณะแบบหน้าเดียว และสองหน้า โดยแต่ละ
หน้าสามารถรองรับได้มากถึง 2 เลเยอร์ อาทิ แผ่น BD-R (SL) หมายถึง Blu-Ray Disc ROM แบบ Single Layer แบบหน้าเดียว มี
ความจุ 25 GB แผ่น BD-R (DL) หมายถึง Blu-Ray Disc ROM แบบ Double Layer แบบหน้าเดียว มีความจุ 50 GB แผ่น BD-R
(2DL) หมายถึง Blu-Ray Disc ROM แบบ Double Layer แบบสองหน้า มีความจุ 100 GB โดยปี 2013 สามารถลิต BD-XL ซึ่งมี
ขนาดมากกว่า 100 GB ไปที่ 128 GB ได้แล้ว
เทคโนโลยี HD-DVD
เอชดีดีวีดี (HD DVD - High Definition DVD หรือ High Density DVD) เป็นแผ่นข้อมูลแบบบันทึกด้วยแสง (optical disc) ที่ใช้
บันทึกวิดีโอความละเอียดสูง (high definition) หรือข้อมูลชนิดอื่นๆ ก็ได้HD DVD มีลักษณะใกล้เคียงกับ Blu-ray ซึ่งเป็นแผ่น
บันทึกข้อมูลคู่แข่ง โดยใช้ขนาดแผ่นเท่ากับซีดีรอม (เส้นผ่านศูนย์กลาง 12 ซม.) HD DVD ได้รับการสนับสนุนจากบริษัทขนาด
ใหญ่ในอุตสาหกรรมหลายบริษัท เช่น โตชิบา, NEC, ซันโย, ไมโครซอฟท์ และอินเทล รวมถึงบริษัทภาพยนตร์อย่าง Universal
Studios โตชิบายังได้ออกวางขายเครื่องเล่นแผ่น HD DVD เครื่องแรกเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2549
ในปี พ.ศ. 2551 บริษัทผู้ผลิตในอุตสาหกรรมเริ่มถอนการสนับสนุนต่อระบบนี้ โดยในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ โตชิบาได้ประกาศ
อย่างเป็นทางการว่าจะหยุดพัฒนา ผลิต และจาหน่ายเครื่องเล่นและบันทึก HD DVD และจะหันไปสนับสนุนระบบคู่แข่ง คือ บลู
เรย์ของโซนีแทน และกลุ่มผู้สนับสนุนได้ยกเลิกอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 มีนาคม
Floptical Disk
เป็นการนาเทคโนโลยีด้านแสงเข้ามาช่วยในการบันทึกข้อมูล แต่ไม่ได้ใช้แสงโดยตรง ลักษณะ Floptical disk จะมี
รูปร่างเหมือนฟล็อปปี้ดิสก์ขนาด 3.5 นิ้วทุกประการ แต่มีความจุมากขึ้นเป็น 120 เมกะไบต์ทีเดียว และตัวไดรว์ยังใช้อ่านเขียน
ข้อมูลแผ่นดิสก์ธรรมดาได้ด้วย ชื่อทางการค้าของ Floptical Drive ที่เป็นที่รู้จักกันได้แก่ SuperDisk จาก
บริษัท Imation
หลักการของ Floptical Drive
อาศัยการบันทึกข้อมูลด้วยสนามแม่เหล็กเหมือนฟล็อปปี้ดิสก์ธรรมดา แต่ใช้กลไกการอ่านที่เรียกว่า optical
servo (หรือบางทีเรียกว่า Laser servo)หรือวงจรเลื่อนตาแหน่งหัวอ่านควบคุมด้วยแสง ทาให้สามารถเลื่อนหัวอ่าน/
เขียนได้ตรงกับแทรคที่มีความหนาแน่นกว่าดิสเก็ตธรรมดามาก เช่น ในดิสก์ธรรมดามี 80 แทรค 2480 sector แต่ใน
Floptical disk จะมี ถึง 1,736 แทรค 245,760 sector ทาให้ได้ความจุรวมถึง 120 เมกะไบต์ต่อแผ่น Floptical
disk หมุนด้วยความเร็ว 720 รอบต่อนาที และมีอัตรารับส่งข้อมูล ประมาณ 3.2-5.4 เมกะบิตต่อวินาที
ZIP drive
ใช้เทคโนโลยีคล้ายกับ Floptical Diskแต่รูปแบบต่างกันไป เช่น Zip Drive จากIomega ที่ออกมา
ก่อน Superdisk แต่ได้รับความนิยมมากพอสมควร Zip Drive มีทั้งรุ่นที่ต่อกับParallel port,USB
port และแบบ SCSI และได้เพิ่มความจุจาก 100 เป็น 250 เมกะไบต์Iomega ยังได้ผลิต Jaz Drive ที่มี
ลักษณะเหมือนฮาร์ดดิสก์ถอดได้ โดยจะมีตัวไดรว์เป็นระบบSCSI เท่านั้น และมีแผ่นบรรจุข้อมูลขนาด 1 GB และ 2
GB นิยมใช้สาหรับการสารองข้อมูลย้ายไปมา เนื่องจากมีความเร็วน้อยกว่าฮาร์ดดิสก์ และยังมีราคาแพง
กว่า Zip หรือ Superdisk มาก
เทปแบ็คอัพ ( Tape Backup )
เป็นอุปกรณ์สาหรับการ Backup ข้อมูลโดยเฉพาะ interface ส่วนใหญ่ เป็นแบบ SCISI II, Ultra SCISI ซึ่งเหมาะกับการสารอง
ข้อมูลขนาดใหญ่มาก ๆ ขนาดระดับ 10-100 GB โดยส่วนใหญ่จะใช้สารองข้อมูลในหน่วยงาน บริษัท ต่าง ๆ เพราะว่าผู้ใช้
โดยทั่วไปคงไม่มีความจาเป็นถึงกับต้องการสารองข้อมูลที่ใหญ่ ขนาดนั้น เพราะราคาเครื่องเริ่มต้นค่อนข้างสูงพอสมควร แต่ราคา
ของตัว Tape ที่นามา Backup นั้นราคาต่อขนาดแล้วค่อนข้างต่ากว่าสื่อสารองข้อมูลแบบอื่น ๆ เพราะฉะนั้น Tape backup นี้ยังคง
ไดัรับความนิยมในการนามาใช้สารองข้อมูล ขนาดใหญ่ ๆ
เทปแม่เหล็ก (magnetic tape)
เป็นอุปกรณ์ที่มีการใช้กันมานานแล้ว ลักษณะของเทปเป็นแถบสายพลาสติก เคลือบด้วยสารแม่เหล็กเหมือนเทป
บันทึกเสียง เทปแม่เหล็กใช้สาหรับเก็บข้อมูลจานวนมาก มีการจัดเก็บและเรียกค้นข้อมูลแบบเป็นลาดับ เพราะฉะนั้นการเข้าถึงก็
จะเป็นแบบการเข้าถึงโดยลาดับ (sequential access) เช่น ถ้าต้องการหาข้อมูลที่อยู่ในลาดับที่ 5 บนเทป เราจะต้อง
อ่านข้อมูลลาดับต้นๆ ก่อนจนถึงข้อมูลที่เราต้องการ ส่วนการประยุกต์นั้นเน้นสาหรับใช้สารองข้อมูลเพื่อความมั่นใจ เช่น ถ้า
ฮาร์ดดิสก์เสียหาย ข้อมูลในฮาร์ดดิสก์อาจสูญหายได้ จึงจาเป็นต้องเก็บสารองข้อมูลไว้
การ์ดเมมโมรี ( Memory Card )
เป็นสื่อจัดเก็บข้อมูลประเภทหน่วยความจาสารองแบบ flash memory ประเภทหนึ่ง ซึ่งผู้ใช้สามารถบันทึกข้อมูลลง
ไปได้โดยที่ไม่ต้องใช้แบตเตอรี่ ข้อมูลไม่มีการสูญหายเมื่อปิดสวิตซ์ มีความเร็วสูงในการขนถ่ายเคลื่อนย้ายข้อมูล ส่วนที่ใช้บันทึก
ข้อมูลของเมมโมรี่การ์ดจะเป็นชิป ซึ่งเรียกว่า solid state chips ซึ่งใช้กระบวนการทางไฟฟ้ าในการบันทึกข้อมูล และมี
ตัวควบคุมการอ่านและเขียนในตัว
การ์ดเมมโมรี ( Memory Card ) พัฒนาขึ้นเพื่อนาไปใช้กับอุปกรณ์เทคโนโลยีแบบต่างๆ เช่น กล้องดิจิทัล
คอมพิวเตอร์มือถือ โทรศัพท์มือถือ เป็นต้น
บรรณานุกรม
หน่วยความจาสารอง แหล่งที่มา :
http://truepanya.muslimthaipost.com/main/index.php?page=sub&category=44&id=1
9617
สืบค้นวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ.2557
อุปกรณ์ สื่อบันทึกข้อมูลและเทคโนโลยีบันทึกข้อมูล แหล่งที่มา :
http://www.radompon.com/ictelearning/ contentictm1/u01/u106.html สืบค้นวันที่ 19 มิถุนายน
พ.ศ.2557
Floptical Disk แหล่งที่มา : http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type1/
tech03/18/floppydisk.html สืบค้นวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ.2557
รายชื่อผู้จัดทา
1.นาย ธาราพงศ์ ใจดี ม.4.7 เลขที่ 8
2.นางสาว ธัญวรัตน์ ทองรุ่ง ม.4.7 เลขที่ 14
3.นาย วีรภัทร สอนอาจ ม.4.7 เลขที่ 27
4.นางสาว ชนิดา พลายด้วง ม.4.7 เลขที่ 32
5.นางสาว วรัญญา เรือนสุภา ม.4.7 เลขที่ 33
6.นางสาว จิรัชสุดา กาชัย ม.4.7 เลขที่ 35
7.นางสาว ฐิตาพร กิติยศ ม.4.7 เลขที่ 37
8.นาย ปฏิภาณ จอมราชคม ม.4.7 เลขที่ 45
9.นาย ศุภกฤต ขวัญจริง ม.4.7 เลขที่ 46
10.นาย เกียรติศักดิ์ สุประการ ม.4.7 เลขที่ 49

More Related Content

What's hot

เทอม2คาบ 6ฮาร์ดดิสก์การ์ดจอ
เทอม2คาบ 6ฮาร์ดดิสก์การ์ดจอ เทอม2คาบ 6ฮาร์ดดิสก์การ์ดจอ
เทอม2คาบ 6ฮาร์ดดิสก์การ์ดจอ Mrpopovic Popovic
 
งานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
งานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์งานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
งานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์Fong Chanida
 
ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูล
ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูลใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูล
ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูลAngkan Mahawan
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลGuide Krittika
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลGuide Krittika
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลTonkaw Napassorn
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1namfar05
 
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)Supaksorn Tatongjai
 
บทที่ 5.หน่วยความจำ
บทที่ 5.หน่วยความจำบทที่ 5.หน่วยความจำ
บทที่ 5.หน่วยความจำPokypoky Leonardo
 
สำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอมสำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอมPeerada Chuesook
 
สำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอมสำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอมPeerada Chuesook
 
โหลดลืมโลก เปิดตัว-Micro sd-ขนาด-512-gb
โหลดลืมโลก เปิดตัว-Micro sd-ขนาด-512-gbโหลดลืมโลก เปิดตัว-Micro sd-ขนาด-512-gb
โหลดลืมโลก เปิดตัว-Micro sd-ขนาด-512-gbComputer ITSWKJ
 

What's hot (17)

เทอม2คาบ 6ฮาร์ดดิสก์การ์ดจอ
เทอม2คาบ 6ฮาร์ดดิสก์การ์ดจอ เทอม2คาบ 6ฮาร์ดดิสก์การ์ดจอ
เทอม2คาบ 6ฮาร์ดดิสก์การ์ดจอ
 
Flash Drive
Flash DriveFlash Drive
Flash Drive
 
งานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
งานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์งานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
งานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูล
ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูลใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูล
ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูล
 
Learnning03
Learnning03Learnning03
Learnning03
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Multimedia7
Multimedia7Multimedia7
Multimedia7
 
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)
 
บทที่ 5.หน่วยความจำ
บทที่ 5.หน่วยความจำบทที่ 5.หน่วยความจำ
บทที่ 5.หน่วยความจำ
 
สำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอมสำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอม
 
สำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอมสำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอม
 
It news
It news  It news
It news
 
ฮาร์ดดิสก์
ฮาร์ดดิสก์ฮาร์ดดิสก์
ฮาร์ดดิสก์
 
โหลดลืมโลก เปิดตัว-Micro sd-ขนาด-512-gb
โหลดลืมโลก เปิดตัว-Micro sd-ขนาด-512-gbโหลดลืมโลก เปิดตัว-Micro sd-ขนาด-512-gb
โหลดลืมโลก เปิดตัว-Micro sd-ขนาด-512-gb
 

Similar to หน่วยความจำสำรอง

หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองguest8b6806e
 
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองChinaphop Viriyakit
 
สำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอมสำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอมYanin Raksasap
 
สำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอมสำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอมYanin Raksasap
 
บทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญ
บทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญบทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญ
บทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญArrat Krupeach
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์พ่อ อาชีวะ
 
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์gotemohardy
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Papawin Tunyasitikun
 
การทำงานคอม
การทำงานคอมการทำงานคอม
การทำงานคอมAbdul Mahama
 
Chapter 4 Storage Devices
Chapter 4 Storage DevicesChapter 4 Storage Devices
Chapter 4 Storage DevicesAdul Yimngam
 
ประกอบคอมพิวเตอร์
ประกอบคอมพิวเตอร์ประกอบคอมพิวเตอร์
ประกอบคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์flukiiez
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูลคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สำรองข้อมูลคอมพิวเตอร์อุปกรณ์สำรองข้อมูลคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สำรองข้อมูลคอมพิวเตอร์Cookie Bomber
 
Cent OS-book
Cent OS-bookCent OS-book
Cent OS-booknin9nin9
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์krujee
 
อาการเสียของคอมพิวเตอร์
อาการเสียของคอมพิวเตอร์อาการเสียของคอมพิวเตอร์
อาการเสียของคอมพิวเตอร์Kimery Kamel
 

Similar to หน่วยความจำสำรอง (20)

หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรอง
 
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
 
สำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอมสำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอม
 
สำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอมสำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอม
 
บทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญ
บทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญบทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญ
บทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญ
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
 
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
 
CD-ROM
CD-ROMCD-ROM
CD-ROM
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
การทำงานคอม
การทำงานคอมการทำงานคอม
การทำงานคอม
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Chapter 4 Storage Devices
Chapter 4 Storage DevicesChapter 4 Storage Devices
Chapter 4 Storage Devices
 
ประกอบคอมพิวเตอร์
ประกอบคอมพิวเตอร์ประกอบคอมพิวเตอร์
ประกอบคอมพิวเตอร์
 
H wintegration
H wintegrationH wintegration
H wintegration
 
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูลคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สำรองข้อมูลคอมพิวเตอร์อุปกรณ์สำรองข้อมูลคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สำรองข้อมูลคอมพิวเตอร์
 
Cent OS-book
Cent OS-bookCent OS-book
Cent OS-book
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
อาการเสียของคอมพิวเตอร์
อาการเสียของคอมพิวเตอร์อาการเสียของคอมพิวเตอร์
อาการเสียของคอมพิวเตอร์
 

More from Supaksorn Tatongjai (20)

Work30243 new58
Work30243 new58Work30243 new58
Work30243 new58
 
คำสั่งในโปรแกรมภาษาซี
คำสั่งในโปรแกรมภาษาซีคำสั่งในโปรแกรมภาษาซี
คำสั่งในโปรแกรมภาษาซี
 
7 3 condition
7 3 condition7 3 condition
7 3 condition
 
7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง
 
7 1 dev c++
7 1 dev c++7 1 dev c++
7 1 dev c++
 
Work20253
Work20253Work20253
Work20253
 
Week4-16
Week4-16Week4-16
Week4-16
 
Week4-1
Week4-1Week4-1
Week4-1
 
Week3-14
Week3-14Week3-14
Week3-14
 
Week3-13
Week3-13Week3-13
Week3-13
 
Week3-2
Week3-2Week3-2
Week3-2
 
Week3-1
Week3-1Week3-1
Week3-1
 
Week2-13
Week2-13Week2-13
Week2-13
 
Week2-12
Week2-12Week2-12
Week2-12
 
Week2-2
Week2-2Week2-2
Week2-2
 
Week2-1
Week2-1Week2-1
Week2-1
 
Week1-11
Week1-11Week1-11
Week1-11
 
Week1-1
Week1-1Week1-1
Week1-1
 
M1-Programs1
M1-Programs1M1-Programs1
M1-Programs1
 
Work30243
Work30243Work30243
Work30243
 

หน่วยความจำสำรอง

  • 2. หน่วยความจาสารอง (Secondary Storage) หน่วยความจาสารองคือ อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการเก็บบันทึกข้อมูลและ โปรแกรมต่างๆแบบถาวร ได้แก่ฮาร์ดดิสก์ ฟล็อปปี้ดิสก์ แผ่นซีดีรอม ฯลฯโดยถ้าเป็น ข้อมูลที่มีขนาดเล็กและต้องการเคลื่อนย้ายไฟล์ไปที่คอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ก็ใช้ฟล็อป ปี้ดิสก์แต่ถ้าเป็นข้อมูลที่มีขนาดใหญ่มากๆ ก็จะเก็บลงในฮาร์ดดิสก์ หรือแผ่นซีดีรอม ซึ่งข้อมูลที่เก็บในฟล็อปปี้ดิสก์หรือฮาร์ดดิสก์เราสามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้และ บันทึกลงไปใหม่ได้ส่วนแผ่นซีดีรอมไม่สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้
  • 3. ฟล็อปปี้ดิสก์ (Floppy Disk) หรือที่นิยมเรียกว่า แผ่นดิสก์ หรือ ดิสเกตต์ (diskette) ฟล็อปปี้ดิสก์เป็นอุปกรณ์เก่าแก่ที่มีมานานับสิบปี ตั้งแต่ก่อนยุค ของพีซี สร้างขึ้นในปี ค.ศ.1971 เพื่อใช้กับเครื่อง System/370 ของบริษัทไอบีเอ็ม (IBM) สร้างเริ่มจากขนาด 8 นิ้ว กลายมาเป็น 5.25 นิ้ว และในที่สุดก็มาหยุดอยู่ที่ 3.5 นิ้ว ความจุก็ได้เพิ่มจากไม่กี่ร้อยกิโลไบต์มาเป็น 1.44 และ 2.88 เมกะไบต์ใน ปัจจุบัน สมัยก่อนโปรแกรมมีขนาดไม่ใหญ่นัก ใช้เนื้อที่จุภายในดิสก์ไม่กี่กิโลไบต์ แต่ปัจจุบันข้อมูลมีปริมาณมากขึ้นพร้อม ๆ กับ เทคโนโลยีมัลติมีเดีย ทาให้ความจุของดิสก์ไม่เพียงพอกับความต้องการในปัจจุบัน
  • 4. ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) ฮาร์ดดิสก์ หรือ จานบันทึกแบบแข็ง คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน ฮาร์ดดิสก์ที่มีกลไกแบบปัจจุบันถูกประดิษฐ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2499โดยนักประดิษฐ์ยุคบุกเบิกแห่งบริษัทไอบีเอ็ม โดยมีความจุ เริ่มแรกที่ 100 กิโลไบต์ มีขนาด 20 นิ้ว ในปี พ.ศ.2523 ฮาร์ดดิสก์ยังเป็นสิ่งที่หายากและราคาแพงมาก แต่หลังจากนั้น ฮาร์ดดิสก์กลายเป็นมาตรฐานของพีซีและราคาถูกลงมาก มีลักษณะเป็นจานแม่เหล็กหลายแผ่นวางซ้อนกัน โดยอาจมีจานวนแผ่น 3-11 แผ่น ซึ่งจะไม่เรียกว่าดิสก์ แต่จะเรียกว่า แพลตเตอร์ (Platter) แทน ซึ่งแต่ละแพลตเตอร์จะสามารถเก็บข้อมูลได้ทั้งสองด้าน เนื่องจากแพลตเตอร์ผลิตจากสารจาพวก โลหะหรือแก้วบางชนิด จึงไม่สามารถงอไปงอมาได้ เหมือนกับฟล็อปปี้ดิสก์ ทาให้ต้องมีโลหะปิดไว้ทุกด้านเพื่อป้ องกันการ กระทบกระเทือน ฮาร์ดดิสก์จึงสามารถเก็บข้อมูลได้เป็นจานวนมาก แล้วแต่ความจุของแต่ละรุ่น
  • 5. CD (Compact Disk) CD (Compact Disk) เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลสารองที่ได้รับความนิยมกันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ลักษณะหนึ่งที่สาคัญของ CD คือจะถูกอ่านด้วยเครื่องอ่าน CD (CD - Rom Drive) ที่มีความเร็วที่แตกต่างกันออกไป ความเร็วใน การอ่านซีดีจะเขียนอยู่ในรูปของตัวคูณ (x) เช่น เครื่องอ่านซีดี ขนาด 24x ,32x, 52x เป็นต้น ปัจจุบันซีดีแต่ละแผ่นสามารถจุข้อมูล ได้ประมาณ 700 MB ซีดี สามารถแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ - CD - Rom (Compact Disk Read - Only Memory) มีลักษณะคล้ายกับซีดีเพลง หรือ ซีดีที่ขายกันอยู่ทั่วไป คาว่า read - onlyหมายถึง อ่านได้เพียงอย่างเดียว ผู้ใช้ไม่สามารถแก้ไขหรือลบข้อมูลในแผ่นซีดีได้ - CD - R (Compact Disk Recordable ) เป็น ซีดีที่สามารถเขียน บันทึก หรือ write ข้อมูลได้ครั้งเดียว และสามารถอ่านข้อมูล ได้หลายครั้งแต่ไม่สามารถลบข้อมูลที่อยู่ใน CD - R ได้ - CD - RW (Compact Disk Rewriteable หรือ Erasable Optical Disk) ซีดีประเภทนี้คล้ายกับ
  • 6. DVD (Digital Versatile Disk) DVD (Digital Versatile Disk) เป็นแผ่นข้อมูลแบบบันทึกด้วยแสง (Optical DisK) ที่ใช้บันทึกข้อมูลต่างๆ เช่น ภาพยนตร์ โดยให้ คุณภาพของภาพและเสียงที่ดี ดีวีดีถูกพัฒนามาใช้แทนซีดีรอม โดยใช้แผ่นที่มีขนาดเดียวกัน (เส้นผ่าศูนย์กลาง 12 เซนติเมตร) แต่ว่า ใช้การบันทึกข้อมูลที่แตกต่างกัน และความละเอียดในการบันทึกที่หนาแน่นกว่า เดิมทีดีวีดีมาจากชื่อย่อว่า digital video disc แต่ใน ภายหลังผู้ผลิตบางรายเห็นว่าควรเปลี่ยนชื่อเป็น Digital Versatile Diskปัจจุบันตามคานิยามอย่างเป็นทางการแล้ว DVD ไม่ได้ย่อมา จากชื่อเต็มแต่อย่างใด เครื่องเขียนแผ่นดีวีดี (DVD Writer) คือ เครื่องสาหรับการบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นดีวีดี ในการบันทึก DVD แต่ละชนิดนั้นไม่สามารถใช้งานข้ามชนิดได้ คือไม่สามารถใช้งานข้ามไดร์ฟได้เช่น DVD-RW ไม่สามารถ ใช้งานในเครื่องบันทึก DVD+RW ได้ต้องเขียนกับเครื่องบันทึก DVD-RW เท่านั้นส่วนการอ่านข้อมูลใน DVD นั้น สามารถอ่าน กับเครื่องไหนก็ได้ เช่น DVD+RW สามารถอ่านกับเครื่องเล่น DVD-RW ได้ส่วน DVD-RAM เดี๋ยวนี้ไม่นิยมใช้แล้ว
  • 7. แฟลชไดรฟ์ (Flash Drive) แฟลชไดรฟ์ หรือ ยูเอสบีไดรฟ์ เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์สาหรับเก็บข้อมูลโดยใช้หน่วยความจาแบบแฟลช ทางานร่วมกับ ยูเอสบี 1.1 หรือ 2.0 มีลักษณะเล็ก น้าหนักเบาเป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่ไม่ต้องมีตัวขับเคลื่อน (Drive) สามารถพกพาไปไหนได้ โดยต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย Port USB ปัจจุบันความจุของไดร์ฟมีตั้งแต่ 8, 16, 32, 64, 128 จนถึง 1024 เมกะ ไบต์ ทั้งนี้ยังมีไดร์ฟลักษณะเดียวกัน ในปัจจุบัน (พ.ศ. 2549) บางรุ่นมีความจุสูงถึง16 GB โดยทั่วไปไดรฟ์ จะทางานได้ในหลาย ระบบปฏิบัติการซึ่งรวมถึง วินโดวส์98/ME/2000/XP แมคอินทอช ลินุกซ์ และยูนิกซ์ แฟลชไดรฟ์ รู้จักกันในชื่อต่างๆ รวมถึง “ทัมบ์ไดรฟ์ ” “คีย์ไดรฟ์ ” “จัมป์ ไดรฟ์ ” และชื่อเรียกอื่น โดยขึ้นอยู่กับผู้ผลิต
  • 8. เทคโนโลยี Blu-Ray บลูเรย์ดิสค์ (Blu-ray Disc) หรือ บีดี (BD) คือรูปแบบของแผ่นออพติคอลสาหรับบันทึกข้อมูลความละเอียดสูง ชื่อของบลูเรย์มา จาก ช่วงความยาวคลื่นที่ใช้ในระบบบลูเรย์ ที่ 405 nm ของเลเซอร์สี "ฟ้า" ซึ่งทาให้สามารถทาให้เก็บข้อมูลได้มากกว่าดีวีดี ที่มี ขนาดแผ่นเท่ากัน โดยดีวีดีใช้เลเซอร์สีแดงความยาวคลื่น 650nm ความจุของบลูเรย์ดิสค์ ซึ่งปกติแผ่นบลูเรย์นั้นจะมีลักษณะคล้ายกับแผ่น ซีดี/ดีวีดี โดยแผ่นบลูเรย์จะมีลักษณะแบบหน้าเดียว และสองหน้า โดยแต่ละ หน้าสามารถรองรับได้มากถึง 2 เลเยอร์ อาทิ แผ่น BD-R (SL) หมายถึง Blu-Ray Disc ROM แบบ Single Layer แบบหน้าเดียว มี ความจุ 25 GB แผ่น BD-R (DL) หมายถึง Blu-Ray Disc ROM แบบ Double Layer แบบหน้าเดียว มีความจุ 50 GB แผ่น BD-R (2DL) หมายถึง Blu-Ray Disc ROM แบบ Double Layer แบบสองหน้า มีความจุ 100 GB โดยปี 2013 สามารถลิต BD-XL ซึ่งมี ขนาดมากกว่า 100 GB ไปที่ 128 GB ได้แล้ว
  • 9. เทคโนโลยี HD-DVD เอชดีดีวีดี (HD DVD - High Definition DVD หรือ High Density DVD) เป็นแผ่นข้อมูลแบบบันทึกด้วยแสง (optical disc) ที่ใช้ บันทึกวิดีโอความละเอียดสูง (high definition) หรือข้อมูลชนิดอื่นๆ ก็ได้HD DVD มีลักษณะใกล้เคียงกับ Blu-ray ซึ่งเป็นแผ่น บันทึกข้อมูลคู่แข่ง โดยใช้ขนาดแผ่นเท่ากับซีดีรอม (เส้นผ่านศูนย์กลาง 12 ซม.) HD DVD ได้รับการสนับสนุนจากบริษัทขนาด ใหญ่ในอุตสาหกรรมหลายบริษัท เช่น โตชิบา, NEC, ซันโย, ไมโครซอฟท์ และอินเทล รวมถึงบริษัทภาพยนตร์อย่าง Universal Studios โตชิบายังได้ออกวางขายเครื่องเล่นแผ่น HD DVD เครื่องแรกเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2549 ในปี พ.ศ. 2551 บริษัทผู้ผลิตในอุตสาหกรรมเริ่มถอนการสนับสนุนต่อระบบนี้ โดยในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ โตชิบาได้ประกาศ อย่างเป็นทางการว่าจะหยุดพัฒนา ผลิต และจาหน่ายเครื่องเล่นและบันทึก HD DVD และจะหันไปสนับสนุนระบบคู่แข่ง คือ บลู เรย์ของโซนีแทน และกลุ่มผู้สนับสนุนได้ยกเลิกอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 มีนาคม
  • 10. Floptical Disk เป็นการนาเทคโนโลยีด้านแสงเข้ามาช่วยในการบันทึกข้อมูล แต่ไม่ได้ใช้แสงโดยตรง ลักษณะ Floptical disk จะมี รูปร่างเหมือนฟล็อปปี้ดิสก์ขนาด 3.5 นิ้วทุกประการ แต่มีความจุมากขึ้นเป็น 120 เมกะไบต์ทีเดียว และตัวไดรว์ยังใช้อ่านเขียน ข้อมูลแผ่นดิสก์ธรรมดาได้ด้วย ชื่อทางการค้าของ Floptical Drive ที่เป็นที่รู้จักกันได้แก่ SuperDisk จาก บริษัท Imation หลักการของ Floptical Drive อาศัยการบันทึกข้อมูลด้วยสนามแม่เหล็กเหมือนฟล็อปปี้ดิสก์ธรรมดา แต่ใช้กลไกการอ่านที่เรียกว่า optical servo (หรือบางทีเรียกว่า Laser servo)หรือวงจรเลื่อนตาแหน่งหัวอ่านควบคุมด้วยแสง ทาให้สามารถเลื่อนหัวอ่าน/ เขียนได้ตรงกับแทรคที่มีความหนาแน่นกว่าดิสเก็ตธรรมดามาก เช่น ในดิสก์ธรรมดามี 80 แทรค 2480 sector แต่ใน Floptical disk จะมี ถึง 1,736 แทรค 245,760 sector ทาให้ได้ความจุรวมถึง 120 เมกะไบต์ต่อแผ่น Floptical disk หมุนด้วยความเร็ว 720 รอบต่อนาที และมีอัตรารับส่งข้อมูล ประมาณ 3.2-5.4 เมกะบิตต่อวินาที
  • 11. ZIP drive ใช้เทคโนโลยีคล้ายกับ Floptical Diskแต่รูปแบบต่างกันไป เช่น Zip Drive จากIomega ที่ออกมา ก่อน Superdisk แต่ได้รับความนิยมมากพอสมควร Zip Drive มีทั้งรุ่นที่ต่อกับParallel port,USB port และแบบ SCSI และได้เพิ่มความจุจาก 100 เป็น 250 เมกะไบต์Iomega ยังได้ผลิต Jaz Drive ที่มี ลักษณะเหมือนฮาร์ดดิสก์ถอดได้ โดยจะมีตัวไดรว์เป็นระบบSCSI เท่านั้น และมีแผ่นบรรจุข้อมูลขนาด 1 GB และ 2 GB นิยมใช้สาหรับการสารองข้อมูลย้ายไปมา เนื่องจากมีความเร็วน้อยกว่าฮาร์ดดิสก์ และยังมีราคาแพง กว่า Zip หรือ Superdisk มาก
  • 12. เทปแบ็คอัพ ( Tape Backup ) เป็นอุปกรณ์สาหรับการ Backup ข้อมูลโดยเฉพาะ interface ส่วนใหญ่ เป็นแบบ SCISI II, Ultra SCISI ซึ่งเหมาะกับการสารอง ข้อมูลขนาดใหญ่มาก ๆ ขนาดระดับ 10-100 GB โดยส่วนใหญ่จะใช้สารองข้อมูลในหน่วยงาน บริษัท ต่าง ๆ เพราะว่าผู้ใช้ โดยทั่วไปคงไม่มีความจาเป็นถึงกับต้องการสารองข้อมูลที่ใหญ่ ขนาดนั้น เพราะราคาเครื่องเริ่มต้นค่อนข้างสูงพอสมควร แต่ราคา ของตัว Tape ที่นามา Backup นั้นราคาต่อขนาดแล้วค่อนข้างต่ากว่าสื่อสารองข้อมูลแบบอื่น ๆ เพราะฉะนั้น Tape backup นี้ยังคง ไดัรับความนิยมในการนามาใช้สารองข้อมูล ขนาดใหญ่ ๆ
  • 13. เทปแม่เหล็ก (magnetic tape) เป็นอุปกรณ์ที่มีการใช้กันมานานแล้ว ลักษณะของเทปเป็นแถบสายพลาสติก เคลือบด้วยสารแม่เหล็กเหมือนเทป บันทึกเสียง เทปแม่เหล็กใช้สาหรับเก็บข้อมูลจานวนมาก มีการจัดเก็บและเรียกค้นข้อมูลแบบเป็นลาดับ เพราะฉะนั้นการเข้าถึงก็ จะเป็นแบบการเข้าถึงโดยลาดับ (sequential access) เช่น ถ้าต้องการหาข้อมูลที่อยู่ในลาดับที่ 5 บนเทป เราจะต้อง อ่านข้อมูลลาดับต้นๆ ก่อนจนถึงข้อมูลที่เราต้องการ ส่วนการประยุกต์นั้นเน้นสาหรับใช้สารองข้อมูลเพื่อความมั่นใจ เช่น ถ้า ฮาร์ดดิสก์เสียหาย ข้อมูลในฮาร์ดดิสก์อาจสูญหายได้ จึงจาเป็นต้องเก็บสารองข้อมูลไว้
  • 14. การ์ดเมมโมรี ( Memory Card ) เป็นสื่อจัดเก็บข้อมูลประเภทหน่วยความจาสารองแบบ flash memory ประเภทหนึ่ง ซึ่งผู้ใช้สามารถบันทึกข้อมูลลง ไปได้โดยที่ไม่ต้องใช้แบตเตอรี่ ข้อมูลไม่มีการสูญหายเมื่อปิดสวิตซ์ มีความเร็วสูงในการขนถ่ายเคลื่อนย้ายข้อมูล ส่วนที่ใช้บันทึก ข้อมูลของเมมโมรี่การ์ดจะเป็นชิป ซึ่งเรียกว่า solid state chips ซึ่งใช้กระบวนการทางไฟฟ้ าในการบันทึกข้อมูล และมี ตัวควบคุมการอ่านและเขียนในตัว การ์ดเมมโมรี ( Memory Card ) พัฒนาขึ้นเพื่อนาไปใช้กับอุปกรณ์เทคโนโลยีแบบต่างๆ เช่น กล้องดิจิทัล คอมพิวเตอร์มือถือ โทรศัพท์มือถือ เป็นต้น
  • 15. บรรณานุกรม หน่วยความจาสารอง แหล่งที่มา : http://truepanya.muslimthaipost.com/main/index.php?page=sub&category=44&id=1 9617 สืบค้นวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ.2557 อุปกรณ์ สื่อบันทึกข้อมูลและเทคโนโลยีบันทึกข้อมูล แหล่งที่มา : http://www.radompon.com/ictelearning/ contentictm1/u01/u106.html สืบค้นวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ.2557 Floptical Disk แหล่งที่มา : http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type1/ tech03/18/floppydisk.html สืบค้นวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ.2557
  • 16. รายชื่อผู้จัดทา 1.นาย ธาราพงศ์ ใจดี ม.4.7 เลขที่ 8 2.นางสาว ธัญวรัตน์ ทองรุ่ง ม.4.7 เลขที่ 14 3.นาย วีรภัทร สอนอาจ ม.4.7 เลขที่ 27 4.นางสาว ชนิดา พลายด้วง ม.4.7 เลขที่ 32 5.นางสาว วรัญญา เรือนสุภา ม.4.7 เลขที่ 33 6.นางสาว จิรัชสุดา กาชัย ม.4.7 เลขที่ 35 7.นางสาว ฐิตาพร กิติยศ ม.4.7 เลขที่ 37 8.นาย ปฏิภาณ จอมราชคม ม.4.7 เลขที่ 45 9.นาย ศุภกฤต ขวัญจริง ม.4.7 เลขที่ 46 10.นาย เกียรติศักดิ์ สุประการ ม.4.7 เลขที่ 49