SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 1
NBTC Public Forum ครั้งที่ ๖/๒๕๕๘
"บทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับกรณีการตั้งสถานีวิทยุคมนาคมในชุมชน"
๑๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๕.๐๐ น.
ณ แกรนด์ แปซิฟิก ซอฟเฟอริน รีสอร์ท แอนด์ สปา ชะอา เพชรบุรี
วีดีทัศน์ข่าวเชิงสืบสวน
วีดีทัศน์ “ภัยพิบัติการเจ็บตาย” : โทรศัพท์มือถือและสมองของเด็ก
สามารถเปิดดูได้จากลิงค์- https://youtu.be/eDDmN8tsrJs
เอกสารแปลคาบันทึกเสียงเป็นไทย ดาวน์โหลดได้ที่
https://www.scribd.com/user/161078739/Sumeth-Vongpanitlerd
หรือ https://independent.academia.edu/sumethvongpanitlerd
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 2
ความจริงเกี่ยวกับอันตราย ตามข่าวทีวีเชิงสืบสวน
• บริษัทประกันภัย ไม่รับทำประกันควำมเสี่ยง
• คู่มือการใช้มือถือ เตือนให้ผู้ใช้ถือห่ำงจำกร่ำงกำย
• ผู้ป่วยเนื้องอกสมองหลายราย ชี้ว่าเกิดจำกกำรใช้มือถือมากและบ่อย
• ศัลยแพทย์ประสาท กล่าวว่า “....มันเท่ากับกำรย่ำงสมองของเรา”
• ชายหนุ่มที่พกมือถือในกระป๋ ากางเกง มีลูกยำก
• หญิงสาวที่ซุกมือถือในยกทรง เป็นมะเร็งเต้ำนมในลักษณะไม่เคยเห็น
• วุฒิสมาชิก “มะเร็งสมองฆ่ำเด็กๆในประเทศตะวันตกมำกกว่ำอื่นใด”
• แต่ว่า สมาคมอุตสาหกรรมมือถือ ยืนยันว่า(คลื่น)มือถือปลอดภัย!
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 3
บรรยายเรื่อง “คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากสถานีวิทยุ
คมนาคม: อันตรายจริงหรือกระแสตื่นตูม?”
โดย ดร.สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ นักวิชาการอิสระ
27/12/58 4ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ
ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ (มือถือ)
ผู้เรียกต้นทาง ผู้รับปลายทาง
ชุมสาย เสาหรือสถานีฐาน 2เสาหรือสถานีฐาน 1
ฤ
เสารับ-ส่งสัญญาณ
หรือสถานีฐาน
โทรศัพท์เคลื่อนที่
ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 527/12/58
เสาโทรศัพท์หรือสถานีฐาน
การส่งคลื่นระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่
ผู้ใช้รับคลื่นจากเครื่องเฉพาะ
ในช่วงที่ใช้หรือเปิดเครื่องไว้
จึงจะเลือกใช้มากหรือน้อยก็ได้
ผู้อยู่ใกล้เสาฯไม่อาจมีทางเลือก
คลื่นแผ่จากเสาฯจะถูกดูดกลืนสู่
ร่างกายในทุกๆส่วนและอย่าง
ตลอดเวลา
ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 6
โทรศัพท์มือถือ
27/12/58
ผู้สูบมือ 2
ผู้สูบบุหรี่
คลื่นวิทยุจากเสาโทรศัพท์เคลื่อนที่ - อันตรายหรือไม่?
• คดีความศาลแพ่ง (แผนกคดีสิ่งแวดล้อม) รายแรกในไทย:
ศาลต้นได้ตัดสินว่า “คลื่นที่แผ่จากเสาฯจัดเป็นมลพิษตาม
กฎหมายสิ่งแวดล้อมชนิดหนึ่ง เจ้าของต้องรับผิดชอบหาก
เกิดความเสียหาย แม้นว่ำได้ปฏิบัติตำมมำตรฐำน
ควำมปลอดภัยของ กสทช. ก็ตำม”
• คดีกาลังเข้าสู่การพิจารณาโดยศาลฎีกา หลังจากที่ศาล
อุทธรณ์ได้สั่งกลับคาพิพากษาของศาลต้น
27/12/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 7
• หมายถึง เสาอากาศโทรศัพท์เคลื่อนที่ และ สถานีวิทยุและโทรทัศน์
• เครื่องโทรศัพท์มือถือ โทรศัพท์ไร้สาย (ในบ้าน/สานักงาน)
• อุปกรณ์ไร้สาย เช่น ไวไฟเร้าเตอร์ แท็ปแล็ต เบบี้มอนิเตอร์ ฯลฯ
8ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ
คลื่นโทรศัพท์เคลื่อนที่อาจทาให้เป็นมะเร็ง จึง“ไม่ปลอดภัย”
• วันนี้ มีความชัดเจนว่า คลื่นความถี่วิทยุ (RF) แม้ในระดับไม่เกิน
มาตรฐานปลอดภัยของ กสทช. “เสี่ยง” ต่อการเกิดมะเร็งในมนุษย์
(องค์การอนามัยโลก 31 พฤษภาคม 2011)
มีความเสี่ยง => ไม่ปลอดภัย => สัญญาณ สีเหลือง => พึงต้องระวัง !
• ไม่เฉพาะแค่มะเร็ง ยังเสี่ยงต่อ “การแพ้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า (EHS)”
• มาตรฐานปลอดภัยของ ICNIRP ที่หลายๆประเทศอ้างอิงใช้ จึง
“ยังไม่ปลอดภัย” เพียงพอในระยะยาว โดยเฉพาะต่อทารก และเด็ก
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 9
Gro Brundtland, M.D., MPH แพทย์หญิง นักการสาธารณะสุข
อดีตนายกหญิง 3 สมัย ประเทศนอร์เว และอดีตเลขาธิการ องค์การอนามัยโลก
กล่าวว่า “ตนแพ้คลื่น” และ“ไม่ต้องสงสัยอีกเลยว่า คลื่นมีผลต่อสุขภาพ”
27/12/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 10
บาทหลวงเยอรมัน และ น.ร.อังกฤษหญิงวัย 15 ปี ฆ่าตัวตาย
เนื่องจากไม่สามารถอยู่ทนทรมานกับคลื่นวิทยุต่อไป
27/12/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 11
http://manager.co.th/Cyberbiz/ViewNews.aspx?NewsID=9580000133269
สลดสาว 15 ลาโลก เพราะโรคแพ้สัญญาณไว-ไฟ
อาการแพ้คลื่น (EHS) จึงไม่ใช่เรื่อง “คิดไปเอง”
• สวีเดน เป็นประเทศแรกในโลกที่ EHS ถือเป็นความบกพร่องทางกาย
ประเภทหนึ่งซึ่งรัฐฯต้องให้การดูแลรักษา
• ประกาศ 0014/2012 ของสภายุโรปว่าด้วยการแพ้สารเคมีและคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้า ให้ทาบัญชีจานวนผู้แพ้สารเคมี (MCS) และผู้แพ้คลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้า (EHS) เพิ่มลงในสถิติระหว่างประเทศสาหรับโรคและ
ปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง (ICD)
• ล่าสุด 4 กันยายน 2015 นักวิทยาศาสตร์ลงนามเรียกร้องต่อ WHO ให้
ขึ้นทะเบียนการแพ้คลื่น (EHS) และแพ้สารเคมี (MCS) ใน ICD
• ฯลฯ
27/12/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 12
สรุปความเสี่ยงที่พบของผู้อาศัยใกล้สถานีฐาน(เสา)
โทรศัพท์เคลื่อนที่ (ภายใน 400 ม.) จากผลวิจัยทางระบาดวิทยา
• โรคมะเร็งที่ส่วนต่างๆของร่างกาย เสี่ยงเพิ่ม 3 – 4 เท่าตัว
• อาการแพ้ (หรือไวต่อ) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า - EHS
(Electromagnetic hypersensitivity Syndrome)ได้แก่
อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย วิงเวียน นอนไม่หลับ ซึมเศร้า
ฉุนเฉียว ความจาเสื่อม สมาธิสั้น ออติสติก ลมชัก คลื่นไส้ อาเจียน
สั่นกระตุก หัวใจเต้นผิดปกติ เสียงดังในหู สายตาพร่ามัว .....
• อื่นๆ ...
27/12/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 13
กสทช - ผู้ประกอบการ : พวกเขามักอ้างอะไร?
• คลื่นโทรศัพท์ฯเป็นรังสีชนิดทาให้เกิดความร้อนต่อร่างกาย
เหมือนเตาไมโครเวฟ เท่านั้น ซึ่งมาตรฐานปลอดภัยได้กาหนดขึ้น
ไม่ให้คลื่นสามารถทาอันตรายต่อมนุษย์ได้ ......[แต่ทว่าผลวิจัยชี้
ชัดเจนแล้วว่าคลื่นอ่อนๆ ยังมีผลกระทบทางสุขภาพ และทาง
ชีวภาพต่อมนุษย์ และสัตว์ เช่น โคนม นก ผึ้ง ฯลฯ ]
• ลักษณะคลื่นจากเสาแผ่เป็นแนวราบไปข้างหน้า จึงไม่มีผลต่อผู้อยู่
อาศัยในบริเวณใต้และรอบๆที่ตั้งเสา
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 14
X
X
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 15
เส้นสีดา (บน) แสดงความเข้ม E วัดที่
ระดับสูงจากพื้น 15 เมตร
เส้นสีแดง (ล่าง) วัดที่ระดับสูงจากพื้น
1.50 เมตร
วัดตามแนวลาคลื่นหลัก
ที่มา : Electrosmog in the environment. Swiss Agency
for the Environment, Forest and Landscape SAEFL
กสทช - ผู้ประกอบการ : พวกเขามักอ้างอะไร ? (ต่อ)
• การจัดคลื่นฯเป็นสารเสี่ยงต่อมะเร็ง (กลุ่ม 2B) อิงกับผลวิจัยการใช้
(รับคลื่น)มือถือ จึงไม่เกี่ยวกับเสาฯ
• กาแฟ ..ก็กลุ่ม 2B แต่
ไม่กล่าวถึง สารตะกั่ว
ดีดีที ควันเสียรถยนต์
คลอโรฟอร์ม ฯลฯ
(น.พ. พิบูล อิสสระพันธุ์
NBTC Public Forum
ครั้งที่ 4/2557)
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 16
X
กสทช - ผู้ประกอบการ : พวกเขามักอ้างอะไร ? (ต่อ)
• ระดับคลื่นที่แผ่จากเสาฯยังน้อยกว่าจากเครื่องโทรศัพท์ (มือถือ)
เครื่อง(รับ)วิทยุ หรือเครื่อง(รับ)โทรทัศน์ หรือ เตาไมโครเวฟ
• ผลวิจัยในโลก “ไม่พบ” หรือ “ยังไม่ชัดเจน” ในเรื่องนี้ แต่...ยังไม่
เคยอ้างอิงถึงผลการศึกษาวิจัยที่สรุปชัดเจนว่า คลื่นโทรศัพท์
“ปลอดภัย” แน่นอนต่อมนุษย์แม้สักแต่ชิ้นเดียว
[“ไม่พบ” แปลว่า ยังไม่รู้ กล่าวคือ อาจมี หรือ ไม่มี ก็ได้ !]
• งานวิจัยของ สจล. (ไม่เกิน 15 ล้านบาท) ตรวจวัดระดับคลื่นรอบ
เสาฯ 40 แห่ง มีค่าต่ากว่าขีดจากัดตามมาตรฐาน จึงสรุปได้ว่า
“คลื่นสัญญาณที่แผ่จากสถานีฐานทั่วประเทศ จึงปลอดภัย” !
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 17
X
X
X
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 18
สื่อประชาสัมพันธ์ ยืนยันเสาปลอดภัยของ กสทช. มีป้ าย ติดบริเวณ โรงพยาบาล เทคนิค
ศรีสะเกษ จุดที่มีการร้องเรียนการตั้งเสา
สปอตวิทยุ "คลื่นวิทยุจากเสาส่งสัญญาณมือถือ เป็นคลื่นที่มีระดับความแรงต่ากว่า
มาตรฐานความปลอดภัยที่กาหนดอยู่ในประกาศ กสทช หลายร้อยหลายพันเท่า ดังนั้นจึง
ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ คลื่นจากเสาส่งสัญญาณมือถือไม่เป็นภัยอย่างที่คิด
กสทช กากับดูแลเป็นนิตย์เพื่อความสบายใจ"
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 19
• กลยุทธ์ของอุตสาหกรรมต่างๆที่นิยมใช้กัน หรือ
• เหตุผลทางการเมือง-รัฐ ซึ่งมักมีผลประโยชน์ร่วมกับอุตสาหกรรม
• หรือทาการแทรกแซงองค์กรทั้งในและระหว่างประเทศ หรือ...... ???
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 20
กลยุทธ์ที่อุตสาหกรรมใช้ ตามข่าวทีวีเชิงสืบสวน
• ยุทธ์การ “ประวิงเวลา” โดยการสร้างความสับสนขึ้นในสังคม :
- ใช้นักวิชาการ คนดัง และ สื่อหลัก ให้ข้อมูลสวนทางความจริง
- จ้างนักวิจัยทาวิจัยมาลบล้างผลงานนักวิจัยกลุ่มอิสระ
• “เปิดสงคราม” กับตัวนักวิจัยกลุ่มอิสระที่ขัดผลประโยชน์ เช่น
- การดิสเครดิต (โจมตี) หรือ ข่มขู่ ทาร้ายเป็นส่วนตัว
- ใช้อิทธิพลทาการ ตัดทุนวิจัย กระทั่งตกงาน
• ทั้งแทรกแซง บวกกับมีผลประโยชน์ร่วมกันกับ ฝ่ ายการเมือง
หน่วยงานรัฐ และองค์กรที่เกี่ยวข้อง ทั้งในและระหว่างประเทศ
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 21
อุตสาหกรรมแทรกแซง มีผลประโยชน์ร่วมกันกับ
ฝ่ ายการเมือง หน่วยงานรัฐ และองค์กรที่เกี่ยวข้อง
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 22
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 23
จ้างนักวิจัยทาวิจัยมาลบล้างผลงานนักวิจัยกลุ่มอิสระ
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 24
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 25
อ่านได้ที่ https://www.scribd.com/user/161078739/Sumeth-
Vongpanitlerd หรือที่
https://independent.academia.edu/sumethvongpanitlerd
เวทีเสวนา Symposium on Radiofrequency Electromagnetic
Fields and Human Health จัดโดยสนง. กสทช. (17-18 ธ.ค. 2558)
• Dr. Joachim Schuz และ Dr. Emile van Deventer ผู้ให้ข้อมูลใน
หัวข้อสุขภาพ หลักฐานสาธารณะแสดงว่า ต่างมีความสัมพันธ์กับ
อุตสาหกรรม จึงถือได้ว่าเป็นบุคคลที่มีผลประโยชน์ทับซ้อน
http://www.emfacts.com/2014/09/the-scenihr-report-2014-and-the-suppression-of-dr-
lennart-hardells-science/
http://mieuxprevenir.blogspot.com/2012/08/michael-repacholi-continues-to-work.html
• เหตุใด กสทช. ไม่เชิญนักวิชาการอิสระอีกฝ่าย อย่าง Dr. Devra
Davis, Dr. Dariusz Leszczynski หรือ Dr. Martin Blank ฯลฯ มาร่วม
ให้ความเห็น ถือว่าเวทีนักวิชาการนานาชาติของ กสทช.ครั้งนี้ไม่
เป็นกลาง ฟังความแต่ข้างเดียว เป็นการปิดหู-ปิดตาคนไทยได้ไหม?
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 26
ความจริง..สหรัฐฯ และประเทศตะวันตก รวมทั้งไทย ต่างรู้ดี
แต่ปกปิดความจริงในผลต่อสุขภาพมนุษย์ของคลื่นวิทยุ
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 27
19941971
แต่..หลายๆประเทศ เปิดเผย ให้ความรู้และข้อแนะนาต่อสาธารณะ
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 28
www.dot.gov.in/sites/default/files/1.IMC%20Report_0.pdf
https://www.scribd.com/user/161078739/Sumeth-
Vongpanitlerd
http://www.bafu.admin.ch/publikationen/
publikation/00686/index.html?lang=en
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 29
สหภาพครูแห่ง Los Angeles (สมาชิก 40,000)
มีมติไม่ให้ใช้เทคโนโลยีไร้สายในโรงเรียน
สถาบันแพทย์ศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อมแห่งสหรัฐ (AAEM) ศึกษา
ผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมต่อสุขภาพมนุษย์กว่า 50 ปีพบการสัมผัส
คลื่น สัมพันธ์กับโรคมะเร็ง ระบบประสาท การสืบพันธุ์ ภูมิคุ้มกัน
จนถึง EHS http://aaemonline.org/emf_rf_position.html
• ข่าว 18/6/15 กรรมาธิการสาธารณสุข สภาผู้แทนฯประเทศแคนาดา มี
ความเห็นเป็นเอกฉันท์"คลื่นวิทยุการสื่อสารไร้สายทั้งปวง อาจเป็น
สาเหตุของ การเกิดมะเร็ง ปัญหาการสืบพันธ์ ความบกพร่องของสมอง
ในการเรียนรู้ จนกลายเป็นปัญหาใหญ่หลวงทางสาธารณะสุขขึ้นแล้ว
* จาเป็นต้องทาการอบรม :แพทย์ให้รู้ อาการป่วย ที่เกิดจากคลื่นวิทยุ
* ผู้ปกครอง ให้รู้ถึง ความเสี่ยงจากการมีและใช้อุปกรณ์เหล่านี้....
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 30
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 31
นักวิทยาศาสตร์/แพทย์ในโลก ได้เรียกร้องให้ปรับปรุงมาตรฐาน
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 32
Dr. Martin Blank https://vimeo.com/123468632
33ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ27/12/58
44% ประชากรโลกรับคลื่นอ่อนกว่าเราตั้งแต่ 100-ล้านๆเท่า !
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 34
ทาไมเราจึงต้องช่วยกันทาความจริงให้กระจ่างต่อ
สังคม และทาอย่างไร หาไม่แล้วอะไรจะตามมา ?
• เพื่อป้องกันไม่ให้ซ้ารอยประวัติศาสตร์อย่าง กรณีบุหรี่ แร่ใยหิน ....
• หยุดแนวโน้มที่จะตามมา ดังที่เกิดขึ้นในประเทศประชาธิปไตยกลุ่ม
พัฒนาแล้วของโลก เช่น โรคแพ้คลื่น ออติสติก มะเร็ง .....
• ทาได้โดย ติดตาม และ เผยแพร่ อธิบายข้อเท็จจริงให้เป็นที่ประจักษ์
• รู้จัก และตระหนักถึงภัยของแหล่งแผ่คลื่นวิทยุต่างๆ เช่น เสาและ
โทรศัพท์มือถือ โทรศัพท์ไร้สาย แท็ปแล็ต ไว-ไฟ .....
• หลีกเลี่ยง ลดละ หรืออยู่ให้ห่างแหล่งแผ่คลื่นเท่าที่ทาได้ หรือ มีและ
ใช้เท่าที่จาเป็น หรือ ทดแทนด้วยอุปกรณ์ที่ใช้ (มี) สาย ฯลฯ
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 35
27/12/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 36
แนวโน้มจานวนผู้แพ้คลื่น (6 ประเทศ)
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 37
แนวโน้มเด็กออติสติก สัมพันธ์กับ คลื่นวิทยุที่สัมผัส
• ติดตาม ข่าว ข้อมูล ความรู้ และความจริง– ได้ที่ อาทิ
- https://www.facebook.com/sumeth.vongpanitlerd
- https://www.scribd.com/svongpanitlerd
- หนังสือ เรื่อง ผลกระทบต่อสุขภาพจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
- รายงานคณะกรรมการร่วมจากหลายกระทรวง เรื่องการแผ่คลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้า กรมสื่อสารโทรคมนาคม รัฐบาลอินเดีย
- ภัยของการใช้โทรศัพท์มือถือมีจริงไหม กระแสทรรศน์ มติชนรายวัน
วันพุธที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2555
- มาตรการลดความเสี่ยง “มือถือ” คอลัมน์ คิดนอกกรอบ ประชาชาติ
ธุรกิจ ฉบับวันที่ 13-16 ก.ย. 2555
(http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1347444916)
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 38
• ในกรณีที่เราควบคุมเองไม่ได้ เช่นการตั้งเสาใหม่ หรือตั้งเสา
กลางชุมชนหนาแน่นแล้ว :
- ช่วยกันเร่งรัด ให้ปรับปรุงมาตรฐานให้ปลอดภัยมากขึ้น
- หาไม่แล้ว ร้องเรียนให้ย้ายเสายังที่ๆห่างออกไปจากชุมชน
- สุดท้าย ดาเนินคดีกับผู้เกี่ยวข้องต่างๆ,,,,, ดังเช่น
บทเรียนค่ายมือถือ ตั้งเสาไร้ประชาพิจารณ์ สุดท้ายต้องรื้อถอน :
ไทยรัฐออนไลน์ 6 มิ.ย. 2558
ศาลอุทธรณ์ตูนิเซียพบว่าเสาฯมีอันตรายต่อชุมชน
สั่งรื้อถอนเสาโทรศัพท์มือถือที่ตั้งบนหลังคาบ้าน
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 39
: January 25, 2012
เนื่องจากจาก 400 คนในหมู่บ้าน Benajarafe ในสเปน มีผู้ป่วยเป็นมะเร็งสูงถึง
50 ราย โดยได้เสียชีวิตไปแล้ว 30 คนในไม่กี่ปีที่ผ่านมา
http://www.theolivepress.es/spain-news/2012/01/25/cancer-mast-finally-comes-down-in-spai
ศาลสูงสุดของมลรัฐราชสถานในอินเดีย
สั่งถอนเสาทั้งหมดที่ตั้งใกล้สถาบันการศึกษา โรงพยาบาล และ
สนามเด็กเล่นออกไปภายใน 2 เดือน (27 พฤศจิกายน 2012)
VICTORY: Councillor Concepcion Labao
ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 40
ศาลฝรั่งเศสตัดสินการแพ้คลื่น มีจริง !
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 41
เวทีประชาคม 9 ก.ค. ต.ทรงคนอง อ.สามพราน จ.นครปฐม
ชาวบ้านมีมติเป็นเอกฉันท์ ไม่ยอมให้ตั้งเสาฯ หากจะตั้ง
ต้องจัดหาสถานที่ไกลจากแหล่งชุมชนไม่ต่ากว่า 400 เมตร
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 42
บ้านหนองแมงดา ต.พิชัย อ.เมืองลาปาง
สรุป : เป้ าหมายสุดท้าย คือ ลดอันตรายด้วยการลดความ
แรงคลื่นที่แผ่จากเสาโทรศัพท์เคลื่อนที่...ทาได้ไม่ยาก
• ให้รู้ว่า ระยะห่าง เป็นทั้ง มิตร และ ศัตรู : ยิ่งห่าง – ยิ่งดี
• จานวนสายอากาศ บนเสาหนึ่งต้น : ยิ่งมาก – ยิ่งเสี่ยงมาก
=> การใช้เสาร่วมกัน เป็นสิ่งดี แต่ ต้องทาหลังจากได้ ....
• แก้ไข “ประกาศมาตรฐานความปลอดภัย” ให้ความหนาแน่น
กาลังคลื่นที่แผ่ออกต่าลง (เช่นลดลง 10,000 เท่า) คือ
หลักประกันความปลอดภัยที่ได้ผลมากที่สุด อีกทั้งต้อง
ละการตั้งเสาใกล้กับแหล่งการศึกษาและสถานพยาบาล
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 43
....
อดีต ต้องเรียนและจำ .... ขอบคุณ !
27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 44

More Related Content

What's hot

What's hot (8)

NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2558
 
Sports Innovation
Sports InnovationSports Innovation
Sports Innovation
 

Similar to “บทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับกรณีการตั้งสถานีวิทยุคมนาคมในชุมชน”

From er to_community_children_safety
From er to_community_children_safetyFrom er to_community_children_safety
From er to_community_children_safetytaem
 
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...BAINIDA
 
Issues on Social Media Use by Physicians (November 2, 2017)
Issues on Social Media Use by Physicians (November 2, 2017)Issues on Social Media Use by Physicians (November 2, 2017)
Issues on Social Media Use by Physicians (November 2, 2017)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติTeeranan
 
Information Privacy & Social Media Issues in Healthcare
Information Privacy & Social Media Issues in HealthcareInformation Privacy & Social Media Issues in Healthcare
Information Privacy & Social Media Issues in HealthcareNawanan Theera-Ampornpunt
 
TAEM11: ภัยพิบัติฝูงชน (นพ.สันต์)
TAEM11: ภัยพิบัติฝูงชน (นพ.สันต์)TAEM11: ภัยพิบัติฝูงชน (นพ.สันต์)
TAEM11: ภัยพิบัติฝูงชน (นพ.สันต์)taem
 
Social Media for Dental Professionals (September 3, 2021)
Social Media for Dental Professionals (September 3, 2021)Social Media for Dental Professionals (September 3, 2021)
Social Media for Dental Professionals (September 3, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 

Similar to “บทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับกรณีการตั้งสถานีวิทยุคมนาคมในชุมชน” (8)

From er to_community_children_safety
From er to_community_children_safetyFrom er to_community_children_safety
From er to_community_children_safety
 
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
 
Issues on Social Media Use by Physicians (November 2, 2017)
Issues on Social Media Use by Physicians (November 2, 2017)Issues on Social Media Use by Physicians (November 2, 2017)
Issues on Social Media Use by Physicians (November 2, 2017)
 
Homeroom ep2 fake news
Homeroom ep2 fake newsHomeroom ep2 fake news
Homeroom ep2 fake news
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
 
Information Privacy & Social Media Issues in Healthcare
Information Privacy & Social Media Issues in HealthcareInformation Privacy & Social Media Issues in Healthcare
Information Privacy & Social Media Issues in Healthcare
 
TAEM11: ภัยพิบัติฝูงชน (นพ.สันต์)
TAEM11: ภัยพิบัติฝูงชน (นพ.สันต์)TAEM11: ภัยพิบัติฝูงชน (นพ.สันต์)
TAEM11: ภัยพิบัติฝูงชน (นพ.สันต์)
 
Social Media for Dental Professionals (September 3, 2021)
Social Media for Dental Professionals (September 3, 2021)Social Media for Dental Professionals (September 3, 2021)
Social Media for Dental Professionals (September 3, 2021)
 

“บทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับกรณีการตั้งสถานีวิทยุคมนาคมในชุมชน”

  • 1. 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 1 NBTC Public Forum ครั้งที่ ๖/๒๕๕๘ "บทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับกรณีการตั้งสถานีวิทยุคมนาคมในชุมชน" ๑๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๕.๐๐ น. ณ แกรนด์ แปซิฟิก ซอฟเฟอริน รีสอร์ท แอนด์ สปา ชะอา เพชรบุรี วีดีทัศน์ข่าวเชิงสืบสวน
  • 2. วีดีทัศน์ “ภัยพิบัติการเจ็บตาย” : โทรศัพท์มือถือและสมองของเด็ก สามารถเปิดดูได้จากลิงค์- https://youtu.be/eDDmN8tsrJs เอกสารแปลคาบันทึกเสียงเป็นไทย ดาวน์โหลดได้ที่ https://www.scribd.com/user/161078739/Sumeth-Vongpanitlerd หรือ https://independent.academia.edu/sumethvongpanitlerd 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 2
  • 3. ความจริงเกี่ยวกับอันตราย ตามข่าวทีวีเชิงสืบสวน • บริษัทประกันภัย ไม่รับทำประกันควำมเสี่ยง • คู่มือการใช้มือถือ เตือนให้ผู้ใช้ถือห่ำงจำกร่ำงกำย • ผู้ป่วยเนื้องอกสมองหลายราย ชี้ว่าเกิดจำกกำรใช้มือถือมากและบ่อย • ศัลยแพทย์ประสาท กล่าวว่า “....มันเท่ากับกำรย่ำงสมองของเรา” • ชายหนุ่มที่พกมือถือในกระป๋ ากางเกง มีลูกยำก • หญิงสาวที่ซุกมือถือในยกทรง เป็นมะเร็งเต้ำนมในลักษณะไม่เคยเห็น • วุฒิสมาชิก “มะเร็งสมองฆ่ำเด็กๆในประเทศตะวันตกมำกกว่ำอื่นใด” • แต่ว่า สมาคมอุตสาหกรรมมือถือ ยืนยันว่า(คลื่น)มือถือปลอดภัย! 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 3
  • 4. บรรยายเรื่อง “คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากสถานีวิทยุ คมนาคม: อันตรายจริงหรือกระแสตื่นตูม?” โดย ดร.สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ นักวิชาการอิสระ 27/12/58 4ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ
  • 5. ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ (มือถือ) ผู้เรียกต้นทาง ผู้รับปลายทาง ชุมสาย เสาหรือสถานีฐาน 2เสาหรือสถานีฐาน 1 ฤ เสารับ-ส่งสัญญาณ หรือสถานีฐาน โทรศัพท์เคลื่อนที่ ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 527/12/58
  • 6. เสาโทรศัพท์หรือสถานีฐาน การส่งคลื่นระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ ผู้ใช้รับคลื่นจากเครื่องเฉพาะ ในช่วงที่ใช้หรือเปิดเครื่องไว้ จึงจะเลือกใช้มากหรือน้อยก็ได้ ผู้อยู่ใกล้เสาฯไม่อาจมีทางเลือก คลื่นแผ่จากเสาฯจะถูกดูดกลืนสู่ ร่างกายในทุกๆส่วนและอย่าง ตลอดเวลา ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 6 โทรศัพท์มือถือ 27/12/58 ผู้สูบมือ 2 ผู้สูบบุหรี่
  • 7. คลื่นวิทยุจากเสาโทรศัพท์เคลื่อนที่ - อันตรายหรือไม่? • คดีความศาลแพ่ง (แผนกคดีสิ่งแวดล้อม) รายแรกในไทย: ศาลต้นได้ตัดสินว่า “คลื่นที่แผ่จากเสาฯจัดเป็นมลพิษตาม กฎหมายสิ่งแวดล้อมชนิดหนึ่ง เจ้าของต้องรับผิดชอบหาก เกิดความเสียหาย แม้นว่ำได้ปฏิบัติตำมมำตรฐำน ควำมปลอดภัยของ กสทช. ก็ตำม” • คดีกาลังเข้าสู่การพิจารณาโดยศาลฎีกา หลังจากที่ศาล อุทธรณ์ได้สั่งกลับคาพิพากษาของศาลต้น 27/12/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 7
  • 8. • หมายถึง เสาอากาศโทรศัพท์เคลื่อนที่ และ สถานีวิทยุและโทรทัศน์ • เครื่องโทรศัพท์มือถือ โทรศัพท์ไร้สาย (ในบ้าน/สานักงาน) • อุปกรณ์ไร้สาย เช่น ไวไฟเร้าเตอร์ แท็ปแล็ต เบบี้มอนิเตอร์ ฯลฯ 8ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ
  • 9. คลื่นโทรศัพท์เคลื่อนที่อาจทาให้เป็นมะเร็ง จึง“ไม่ปลอดภัย” • วันนี้ มีความชัดเจนว่า คลื่นความถี่วิทยุ (RF) แม้ในระดับไม่เกิน มาตรฐานปลอดภัยของ กสทช. “เสี่ยง” ต่อการเกิดมะเร็งในมนุษย์ (องค์การอนามัยโลก 31 พฤษภาคม 2011) มีความเสี่ยง => ไม่ปลอดภัย => สัญญาณ สีเหลือง => พึงต้องระวัง ! • ไม่เฉพาะแค่มะเร็ง ยังเสี่ยงต่อ “การแพ้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า (EHS)” • มาตรฐานปลอดภัยของ ICNIRP ที่หลายๆประเทศอ้างอิงใช้ จึง “ยังไม่ปลอดภัย” เพียงพอในระยะยาว โดยเฉพาะต่อทารก และเด็ก 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 9
  • 10. Gro Brundtland, M.D., MPH แพทย์หญิง นักการสาธารณะสุข อดีตนายกหญิง 3 สมัย ประเทศนอร์เว และอดีตเลขาธิการ องค์การอนามัยโลก กล่าวว่า “ตนแพ้คลื่น” และ“ไม่ต้องสงสัยอีกเลยว่า คลื่นมีผลต่อสุขภาพ” 27/12/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 10
  • 11. บาทหลวงเยอรมัน และ น.ร.อังกฤษหญิงวัย 15 ปี ฆ่าตัวตาย เนื่องจากไม่สามารถอยู่ทนทรมานกับคลื่นวิทยุต่อไป 27/12/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 11 http://manager.co.th/Cyberbiz/ViewNews.aspx?NewsID=9580000133269 สลดสาว 15 ลาโลก เพราะโรคแพ้สัญญาณไว-ไฟ
  • 12. อาการแพ้คลื่น (EHS) จึงไม่ใช่เรื่อง “คิดไปเอง” • สวีเดน เป็นประเทศแรกในโลกที่ EHS ถือเป็นความบกพร่องทางกาย ประเภทหนึ่งซึ่งรัฐฯต้องให้การดูแลรักษา • ประกาศ 0014/2012 ของสภายุโรปว่าด้วยการแพ้สารเคมีและคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า ให้ทาบัญชีจานวนผู้แพ้สารเคมี (MCS) และผู้แพ้คลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า (EHS) เพิ่มลงในสถิติระหว่างประเทศสาหรับโรคและ ปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง (ICD) • ล่าสุด 4 กันยายน 2015 นักวิทยาศาสตร์ลงนามเรียกร้องต่อ WHO ให้ ขึ้นทะเบียนการแพ้คลื่น (EHS) และแพ้สารเคมี (MCS) ใน ICD • ฯลฯ 27/12/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 12
  • 13. สรุปความเสี่ยงที่พบของผู้อาศัยใกล้สถานีฐาน(เสา) โทรศัพท์เคลื่อนที่ (ภายใน 400 ม.) จากผลวิจัยทางระบาดวิทยา • โรคมะเร็งที่ส่วนต่างๆของร่างกาย เสี่ยงเพิ่ม 3 – 4 เท่าตัว • อาการแพ้ (หรือไวต่อ) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า - EHS (Electromagnetic hypersensitivity Syndrome)ได้แก่ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย วิงเวียน นอนไม่หลับ ซึมเศร้า ฉุนเฉียว ความจาเสื่อม สมาธิสั้น ออติสติก ลมชัก คลื่นไส้ อาเจียน สั่นกระตุก หัวใจเต้นผิดปกติ เสียงดังในหู สายตาพร่ามัว ..... • อื่นๆ ... 27/12/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 13
  • 14. กสทช - ผู้ประกอบการ : พวกเขามักอ้างอะไร? • คลื่นโทรศัพท์ฯเป็นรังสีชนิดทาให้เกิดความร้อนต่อร่างกาย เหมือนเตาไมโครเวฟ เท่านั้น ซึ่งมาตรฐานปลอดภัยได้กาหนดขึ้น ไม่ให้คลื่นสามารถทาอันตรายต่อมนุษย์ได้ ......[แต่ทว่าผลวิจัยชี้ ชัดเจนแล้วว่าคลื่นอ่อนๆ ยังมีผลกระทบทางสุขภาพ และทาง ชีวภาพต่อมนุษย์ และสัตว์ เช่น โคนม นก ผึ้ง ฯลฯ ] • ลักษณะคลื่นจากเสาแผ่เป็นแนวราบไปข้างหน้า จึงไม่มีผลต่อผู้อยู่ อาศัยในบริเวณใต้และรอบๆที่ตั้งเสา 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 14 X X
  • 15. 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 15 เส้นสีดา (บน) แสดงความเข้ม E วัดที่ ระดับสูงจากพื้น 15 เมตร เส้นสีแดง (ล่าง) วัดที่ระดับสูงจากพื้น 1.50 เมตร วัดตามแนวลาคลื่นหลัก ที่มา : Electrosmog in the environment. Swiss Agency for the Environment, Forest and Landscape SAEFL
  • 16. กสทช - ผู้ประกอบการ : พวกเขามักอ้างอะไร ? (ต่อ) • การจัดคลื่นฯเป็นสารเสี่ยงต่อมะเร็ง (กลุ่ม 2B) อิงกับผลวิจัยการใช้ (รับคลื่น)มือถือ จึงไม่เกี่ยวกับเสาฯ • กาแฟ ..ก็กลุ่ม 2B แต่ ไม่กล่าวถึง สารตะกั่ว ดีดีที ควันเสียรถยนต์ คลอโรฟอร์ม ฯลฯ (น.พ. พิบูล อิสสระพันธุ์ NBTC Public Forum ครั้งที่ 4/2557) 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 16 X
  • 17. กสทช - ผู้ประกอบการ : พวกเขามักอ้างอะไร ? (ต่อ) • ระดับคลื่นที่แผ่จากเสาฯยังน้อยกว่าจากเครื่องโทรศัพท์ (มือถือ) เครื่อง(รับ)วิทยุ หรือเครื่อง(รับ)โทรทัศน์ หรือ เตาไมโครเวฟ • ผลวิจัยในโลก “ไม่พบ” หรือ “ยังไม่ชัดเจน” ในเรื่องนี้ แต่...ยังไม่ เคยอ้างอิงถึงผลการศึกษาวิจัยที่สรุปชัดเจนว่า คลื่นโทรศัพท์ “ปลอดภัย” แน่นอนต่อมนุษย์แม้สักแต่ชิ้นเดียว [“ไม่พบ” แปลว่า ยังไม่รู้ กล่าวคือ อาจมี หรือ ไม่มี ก็ได้ !] • งานวิจัยของ สจล. (ไม่เกิน 15 ล้านบาท) ตรวจวัดระดับคลื่นรอบ เสาฯ 40 แห่ง มีค่าต่ากว่าขีดจากัดตามมาตรฐาน จึงสรุปได้ว่า “คลื่นสัญญาณที่แผ่จากสถานีฐานทั่วประเทศ จึงปลอดภัย” ! 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 17 X X X
  • 18. 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 18
  • 19. สื่อประชาสัมพันธ์ ยืนยันเสาปลอดภัยของ กสทช. มีป้ าย ติดบริเวณ โรงพยาบาล เทคนิค ศรีสะเกษ จุดที่มีการร้องเรียนการตั้งเสา สปอตวิทยุ "คลื่นวิทยุจากเสาส่งสัญญาณมือถือ เป็นคลื่นที่มีระดับความแรงต่ากว่า มาตรฐานความปลอดภัยที่กาหนดอยู่ในประกาศ กสทช หลายร้อยหลายพันเท่า ดังนั้นจึง ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ คลื่นจากเสาส่งสัญญาณมือถือไม่เป็นภัยอย่างที่คิด กสทช กากับดูแลเป็นนิตย์เพื่อความสบายใจ" 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 19
  • 20. • กลยุทธ์ของอุตสาหกรรมต่างๆที่นิยมใช้กัน หรือ • เหตุผลทางการเมือง-รัฐ ซึ่งมักมีผลประโยชน์ร่วมกับอุตสาหกรรม • หรือทาการแทรกแซงองค์กรทั้งในและระหว่างประเทศ หรือ...... ??? 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 20
  • 21. กลยุทธ์ที่อุตสาหกรรมใช้ ตามข่าวทีวีเชิงสืบสวน • ยุทธ์การ “ประวิงเวลา” โดยการสร้างความสับสนขึ้นในสังคม : - ใช้นักวิชาการ คนดัง และ สื่อหลัก ให้ข้อมูลสวนทางความจริง - จ้างนักวิจัยทาวิจัยมาลบล้างผลงานนักวิจัยกลุ่มอิสระ • “เปิดสงคราม” กับตัวนักวิจัยกลุ่มอิสระที่ขัดผลประโยชน์ เช่น - การดิสเครดิต (โจมตี) หรือ ข่มขู่ ทาร้ายเป็นส่วนตัว - ใช้อิทธิพลทาการ ตัดทุนวิจัย กระทั่งตกงาน • ทั้งแทรกแซง บวกกับมีผลประโยชน์ร่วมกันกับ ฝ่ ายการเมือง หน่วยงานรัฐ และองค์กรที่เกี่ยวข้อง ทั้งในและระหว่างประเทศ 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 21
  • 22. อุตสาหกรรมแทรกแซง มีผลประโยชน์ร่วมกันกับ ฝ่ ายการเมือง หน่วยงานรัฐ และองค์กรที่เกี่ยวข้อง 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 22
  • 23. 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 23
  • 25. 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 25 อ่านได้ที่ https://www.scribd.com/user/161078739/Sumeth- Vongpanitlerd หรือที่ https://independent.academia.edu/sumethvongpanitlerd
  • 26. เวทีเสวนา Symposium on Radiofrequency Electromagnetic Fields and Human Health จัดโดยสนง. กสทช. (17-18 ธ.ค. 2558) • Dr. Joachim Schuz และ Dr. Emile van Deventer ผู้ให้ข้อมูลใน หัวข้อสุขภาพ หลักฐานสาธารณะแสดงว่า ต่างมีความสัมพันธ์กับ อุตสาหกรรม จึงถือได้ว่าเป็นบุคคลที่มีผลประโยชน์ทับซ้อน http://www.emfacts.com/2014/09/the-scenihr-report-2014-and-the-suppression-of-dr- lennart-hardells-science/ http://mieuxprevenir.blogspot.com/2012/08/michael-repacholi-continues-to-work.html • เหตุใด กสทช. ไม่เชิญนักวิชาการอิสระอีกฝ่าย อย่าง Dr. Devra Davis, Dr. Dariusz Leszczynski หรือ Dr. Martin Blank ฯลฯ มาร่วม ให้ความเห็น ถือว่าเวทีนักวิชาการนานาชาติของ กสทช.ครั้งนี้ไม่ เป็นกลาง ฟังความแต่ข้างเดียว เป็นการปิดหู-ปิดตาคนไทยได้ไหม? 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 26
  • 27. ความจริง..สหรัฐฯ และประเทศตะวันตก รวมทั้งไทย ต่างรู้ดี แต่ปกปิดความจริงในผลต่อสุขภาพมนุษย์ของคลื่นวิทยุ 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 27 19941971
  • 28. แต่..หลายๆประเทศ เปิดเผย ให้ความรู้และข้อแนะนาต่อสาธารณะ 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 28 www.dot.gov.in/sites/default/files/1.IMC%20Report_0.pdf https://www.scribd.com/user/161078739/Sumeth- Vongpanitlerd http://www.bafu.admin.ch/publikationen/ publikation/00686/index.html?lang=en
  • 29. 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 29 สหภาพครูแห่ง Los Angeles (สมาชิก 40,000) มีมติไม่ให้ใช้เทคโนโลยีไร้สายในโรงเรียน สถาบันแพทย์ศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อมแห่งสหรัฐ (AAEM) ศึกษา ผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมต่อสุขภาพมนุษย์กว่า 50 ปีพบการสัมผัส คลื่น สัมพันธ์กับโรคมะเร็ง ระบบประสาท การสืบพันธุ์ ภูมิคุ้มกัน จนถึง EHS http://aaemonline.org/emf_rf_position.html
  • 30. • ข่าว 18/6/15 กรรมาธิการสาธารณสุข สภาผู้แทนฯประเทศแคนาดา มี ความเห็นเป็นเอกฉันท์"คลื่นวิทยุการสื่อสารไร้สายทั้งปวง อาจเป็น สาเหตุของ การเกิดมะเร็ง ปัญหาการสืบพันธ์ ความบกพร่องของสมอง ในการเรียนรู้ จนกลายเป็นปัญหาใหญ่หลวงทางสาธารณะสุขขึ้นแล้ว * จาเป็นต้องทาการอบรม :แพทย์ให้รู้ อาการป่วย ที่เกิดจากคลื่นวิทยุ * ผู้ปกครอง ให้รู้ถึง ความเสี่ยงจากการมีและใช้อุปกรณ์เหล่านี้.... 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 30
  • 31. 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 31 นักวิทยาศาสตร์/แพทย์ในโลก ได้เรียกร้องให้ปรับปรุงมาตรฐาน
  • 32. 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 32 Dr. Martin Blank https://vimeo.com/123468632
  • 35. ทาไมเราจึงต้องช่วยกันทาความจริงให้กระจ่างต่อ สังคม และทาอย่างไร หาไม่แล้วอะไรจะตามมา ? • เพื่อป้องกันไม่ให้ซ้ารอยประวัติศาสตร์อย่าง กรณีบุหรี่ แร่ใยหิน .... • หยุดแนวโน้มที่จะตามมา ดังที่เกิดขึ้นในประเทศประชาธิปไตยกลุ่ม พัฒนาแล้วของโลก เช่น โรคแพ้คลื่น ออติสติก มะเร็ง ..... • ทาได้โดย ติดตาม และ เผยแพร่ อธิบายข้อเท็จจริงให้เป็นที่ประจักษ์ • รู้จัก และตระหนักถึงภัยของแหล่งแผ่คลื่นวิทยุต่างๆ เช่น เสาและ โทรศัพท์มือถือ โทรศัพท์ไร้สาย แท็ปแล็ต ไว-ไฟ ..... • หลีกเลี่ยง ลดละ หรืออยู่ให้ห่างแหล่งแผ่คลื่นเท่าที่ทาได้ หรือ มีและ ใช้เท่าที่จาเป็น หรือ ทดแทนด้วยอุปกรณ์ที่ใช้ (มี) สาย ฯลฯ 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 35
  • 36. 27/12/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 36 แนวโน้มจานวนผู้แพ้คลื่น (6 ประเทศ)
  • 37. 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 37 แนวโน้มเด็กออติสติก สัมพันธ์กับ คลื่นวิทยุที่สัมผัส
  • 38. • ติดตาม ข่าว ข้อมูล ความรู้ และความจริง– ได้ที่ อาทิ - https://www.facebook.com/sumeth.vongpanitlerd - https://www.scribd.com/svongpanitlerd - หนังสือ เรื่อง ผลกระทบต่อสุขภาพจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า - รายงานคณะกรรมการร่วมจากหลายกระทรวง เรื่องการแผ่คลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า กรมสื่อสารโทรคมนาคม รัฐบาลอินเดีย - ภัยของการใช้โทรศัพท์มือถือมีจริงไหม กระแสทรรศน์ มติชนรายวัน วันพุธที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - มาตรการลดความเสี่ยง “มือถือ” คอลัมน์ คิดนอกกรอบ ประชาชาติ ธุรกิจ ฉบับวันที่ 13-16 ก.ย. 2555 (http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1347444916) 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 38
  • 39. • ในกรณีที่เราควบคุมเองไม่ได้ เช่นการตั้งเสาใหม่ หรือตั้งเสา กลางชุมชนหนาแน่นแล้ว : - ช่วยกันเร่งรัด ให้ปรับปรุงมาตรฐานให้ปลอดภัยมากขึ้น - หาไม่แล้ว ร้องเรียนให้ย้ายเสายังที่ๆห่างออกไปจากชุมชน - สุดท้าย ดาเนินคดีกับผู้เกี่ยวข้องต่างๆ,,,,, ดังเช่น บทเรียนค่ายมือถือ ตั้งเสาไร้ประชาพิจารณ์ สุดท้ายต้องรื้อถอน : ไทยรัฐออนไลน์ 6 มิ.ย. 2558 ศาลอุทธรณ์ตูนิเซียพบว่าเสาฯมีอันตรายต่อชุมชน สั่งรื้อถอนเสาโทรศัพท์มือถือที่ตั้งบนหลังคาบ้าน 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 39
  • 40. : January 25, 2012 เนื่องจากจาก 400 คนในหมู่บ้าน Benajarafe ในสเปน มีผู้ป่วยเป็นมะเร็งสูงถึง 50 ราย โดยได้เสียชีวิตไปแล้ว 30 คนในไม่กี่ปีที่ผ่านมา http://www.theolivepress.es/spain-news/2012/01/25/cancer-mast-finally-comes-down-in-spai ศาลสูงสุดของมลรัฐราชสถานในอินเดีย สั่งถอนเสาทั้งหมดที่ตั้งใกล้สถาบันการศึกษา โรงพยาบาล และ สนามเด็กเล่นออกไปภายใน 2 เดือน (27 พฤศจิกายน 2012) VICTORY: Councillor Concepcion Labao ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 40
  • 42. เวทีประชาคม 9 ก.ค. ต.ทรงคนอง อ.สามพราน จ.นครปฐม ชาวบ้านมีมติเป็นเอกฉันท์ ไม่ยอมให้ตั้งเสาฯ หากจะตั้ง ต้องจัดหาสถานที่ไกลจากแหล่งชุมชนไม่ต่ากว่า 400 เมตร 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 42 บ้านหนองแมงดา ต.พิชัย อ.เมืองลาปาง
  • 43. สรุป : เป้ าหมายสุดท้าย คือ ลดอันตรายด้วยการลดความ แรงคลื่นที่แผ่จากเสาโทรศัพท์เคลื่อนที่...ทาได้ไม่ยาก • ให้รู้ว่า ระยะห่าง เป็นทั้ง มิตร และ ศัตรู : ยิ่งห่าง – ยิ่งดี • จานวนสายอากาศ บนเสาหนึ่งต้น : ยิ่งมาก – ยิ่งเสี่ยงมาก => การใช้เสาร่วมกัน เป็นสิ่งดี แต่ ต้องทาหลังจากได้ .... • แก้ไข “ประกาศมาตรฐานความปลอดภัย” ให้ความหนาแน่น กาลังคลื่นที่แผ่ออกต่าลง (เช่นลดลง 10,000 เท่า) คือ หลักประกันความปลอดภัยที่ได้ผลมากที่สุด อีกทั้งต้อง ละการตั้งเสาใกล้กับแหล่งการศึกษาและสถานพยาบาล 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 43
  • 44. .... อดีต ต้องเรียนและจำ .... ขอบคุณ ! 27/12/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 44