SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
เครื่องมือที่ใช้ในงานปักแบบอิสระได้แก่
1. จักรเย็บผ้า
ใช้จักรเย็บผ้าธรรมดา เนื่องจากมีใช้กันอยู่ทั่วไป
ราคาถูก หาซื้อได้ง่าย สามารถใช้ได้ทั้งเย็บและปัก
รูปที่ 1 จักรเย็บผ้าธรรมดา ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
2. สะดึง
รูปที่ 2 สะดึงประเภทต่าง ๆ ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
สะดึง เป็นสะดึงที่ทําด้วยไม้หรือพลาสติก จะมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ตั้งแต่ 3 - 13นิ้ว เหมาะ
สําหรับงานปักที่มีขนาดเล็ก เพราะเป็นสะดึงที่มีนํ้าหนักเบา สามารถพกพาได้สะดวก และสามารถจับด้วย
มือข้างเดียวได้ สะดึงแบบกลม จะมีส่วนประกอบ 2 ส่วน ดังนี้
วงด้านนอก จะมีสกรูไว้สําหรับปรับความตึงของผ้า
วงด้านใน จะเป็นวงกลมเรียบมีขนาดเล็กกว่าวงด้านนอก เมื่อนํามาซ้อนกับวงกลมด้าน
นอกจะซ้อนกันได้พอดี
เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้ผ้าที่บางเสียหาย และเป็นการทําให้ผ้ายึดแน่นไม่เคลื่อนไปมา ควร
ใช้ผ้าเทป หรือ ผ้าเฉลียงพันรอบวงด้านในของสะดึง และเย็บปลายผ้าให้เรียบร้อยก่อนจะนําไป ใช้งาน
3. กระสวยจักร (กระโหลกกระสวย)
ใช้ใส่ไส้กระสวยที่กรอด้ายล่างใส่ในกระสวยจักร
ดึงด้ายให้เข้าร่องปีกกระสวยจักร
รูปที่ 3 กระสวยจักร ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
4. ไส้กระสวย
ใช้สําหรับนําด้ายล่างมากรอใส่ไส้กระสวย การ
เลือกใช้จะต้องเลือกให้มีขนาดพอดีกับกระสวยจักร
รูปที่ 4 ไส้กระสวยจักร ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
5. ไหมปักจักร
เป็นไหมที่เส้นเล็กกว่าด้ายเย็บผ้า เพราะไหมปักจักร
จะมีเบอร์ 120 ขณะที่ด้ายเย็บผ้าเบอร์60 ไหมปักจักร
เป็นไหมที่มีความมันและมีสีต่าง ๆ ให้เลือกมีขนาด
ของนํ้าหนัก 20 กรัม และ25กรัม สําหรับที่ใช้ใน
งานอุตสาหกรรมจะมีขนาดของนํ้าหนักมากกว่า25
กรัมขึ้นไป
รูปที่ 5 ไหมปักจักร ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
6. ด้ายเย็บผ้า
ควรเป็นด้ายเนา หรือด้ายที่เปื่อยหรือด้ายเย็บผ้าก็ได้
สําหรับงานปักทั่วไปจะใช้ด้ายล่างเป็นด้ายเย็บผ้าสี
อะไรก็ได้แต่ถ้าเป็นงานปักฉลุแล้วควรใช้ด้ายล่างสี
เดียวหรือสีใกล้เคียงกับไหมปักจักร
รูปที่ 6 ด้ายเย็บผ้า ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
7. เข็มจักร
ใช้เข็มจักรเย็บผ้า เบอร์ 9 หรือ เบอร์ 11 สําหรับผู้
ฝึกหัดปักใหม่ควรใช้เบอร์ 11
รูปที่ 7 เข็มจักร ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
8. ผ้าเนื้อละเอียด
สําหรับฝึกหัดปัก ใช้ผ้าฝ้ายเนื้อละเอียดสีขาวหรือสี
อ่อน ๆ ตัดเป็นชิ้น ขนาด 15 x 15 นิ้ว
รูปที่ 8 ผ้าเนื้อละเอียด ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
9. ฝาครอบฟันจักร
ใช้เฉพาะงานปักจักร มีลักษณะเป็นแผ่นโลหะครึ่ง
วงกลมมีส่วนนูนเล็กน้อยตรงกลางแผ่นโลหะ มีรู
สําหรับเข็มจักรผ่าน ใช้ครอบฟันจักรสําหรับจักรที่
ไม่สามารถลดฟันจักรลงได้หรือสําหรับงานปักฉลุ
เพื่อไม่ให้ฟันจักรถูกกับผ้าที่ปักและดึงไหมขาด
รูปที่ 9 ฝาครอบฟันจักร ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
10. กรรไกรตัดผ้า
มีขนาดตั้งแต่ 7 – 10 นิ้ว ใช้สําหรับตัดผ้าไม่ควร
นําไปตัดกระดาษ หรือวัสดุอื่น ๆ เพราะจะทําให้
กรรไกรเสียคม
รูปที่ 10 กรรไกรตัดผ้า ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
11. กรรไกรตัดกระดาษ
มีขนาดเล็กกว่ากรรไกรตัดผ้า ใช้สําหรับตัดกระดาษ
เช่นกระดาษสร้างแบบ ,กระดาษไขเขียนแบบ
สําหรับลอกลาย เท่านั้น
รูปที่ 11 กรรไกรตัดกระดาษ ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
12. กรรไกรปลายงอน
ใช้สําหรับงานฉลุผ้าหรือขลิบริมโค้งมีขนาด4–5 นิ้ว
ในการใช้กรรไกรนี้ควรระวังอย่าให้ตกพื้น
เพราะจะทําให้ ปลายกรรไกรหักหรืองอได้
รูปที่ 12 กรรไกรปลายงอน ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
1 3. กรรไกรก้ามปู หรือ กรรไกรตัดด้าย
จะใช้ตัดด้ายหลังจากงานเย็บหรือปักเสร็จแล้ว เพื่อ
ความเรียบร้อยของงาน
รูปที่ 13 กรรไกรก้ามปู ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
14. เข็มเลาะด้าย
ใช้สําหรับเลาะด้ายส่วนที่ไม่ต้องการทิ้งทําจากโลหะ
ปลายแหลม ควรเลือกชนิดที่คมและไม่เป็นสนิม มี
ปลอกสวม
รูปที่ 14 เข็มเลาะด้าย ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
2. วัสดุที่ใช้ในการลอกลาย
ในงานปักจักรทั่วไปจะมีการลอกลายต่างๆ ลงบนผ้า เพื่อเป็นแบบในการปัก ผู้ปักควรจัด หาวัสดุ
ที่ใช้สําหรับการลอกลาย ได้แก่
1. กระดาษกดรอย
ใช้สําหรับกดรอยจากกระดาษลอกลายที่ลอกลายไว้
ลงบนผ้าสําหรับปัก ควรเลือกสีให้เหมาะสมกับสี
ของผ้า ไม่ควรใช้กระดาษคาร์บอนที่ใช้รองเขียน
หรือ รองพิมพ์เพราะซักไม่ออกทําให้ผ้าสกปรกได้
รูปที่ 15 กระดาษกดรอย ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
2. กระดาษลอกลาย หรือ กระดาษไขเขียนแบบ
ใช้สําหรับลอกลายต่าง ๆ ที่ต้องการปัก กระดาษ
ลอกลายที่ดีควรจะสีขาว หรือ สีขาวขุ่น มีความหนา
เล็กน้อย และสามารถนําไปลอกลายได้หลายครั้ง
รูปที่ 16 กระดาษลอกลาย ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
3. ปากกาเคมีหรือ ปากกาเจล
ใช้สําหรับลอกลายหรือเขียนลายลงบนกระดาษลอก
ลาย หรือกระดาษไขเขียนแบบ เพราะจะทําให้เห็นลาย
ได้ชัดเจน และมือไม่เปื้อนในขณะที่ลอกลายลงบนผ้า
รูปที่ 17 ปากกาเคมี ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
4. ดินสอ
ใช้สําหรับขีดเส้น หรือ วาดลายก่อนที่จะลอกลายลง
บนกระดาษลอกลาย
รูปที่ 18 ดินสอ ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
5. ยางลบ
ยางลบ ใช้ ลบดินสอในส่วนที่เขียนลายผิดและต้อง
ลบให้สะอาด
รูปที่ 19 ยางลบ ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
6. ไม้บรรทัด
ใช้ขนาด 12 นิ้วหรือ 24 นิ้ว ควรใช้ชนิดใส ไม่หัก
ง่ายมีตัวเลขและขีดแบ่งช่องชัดเจน
รูปที่ 20 ไม้บรรทัด ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
7. เข็มหมุด
ใช้สําหรับกลัดตึงผ้ากับกระดาษลอกลายที่ต้องการ
ลอกลายลงบนผ้า
รูปที่ 21 เข็มหมุด ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
8 . เข็มมือ หรือ เข็มสอย
ใช้สําหรับการเนาหรือสอยส่วนต่าง ๆ ของงานปัก
จักรตามต้องการ
รูปที่ 22 เข็มมือ หรือ เข็มสอย ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
9. ครามลงผ้า
ใช้สําหรับเช็ดลาย ในลายที่ใหญ่ และต้องการเก็บ
ลายไว้ใช้หลาย ๆ ครั้ง ซึ่งจะต้องใช้ครามผสมกับ
นํ้ามันก๊าด
รูปที่ 23 ครามลงผ้า ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
10. นํ้ามันก๊าด
ใช้สําหรับผสมกับครามในการเช็ดลาย และยัง
สามารถใช้นํ้ามันก๊าดทําความสะอาดจักรเพื่อล้าง
ฝุ่นละอองที่เราไม่สามารถเช็ดทําความสะอาดให้
สะอาดได้
รูปที่ 24 นํ้ามันก๊าด ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
11. สําลี
ใช้สําหรับชุบครามที่ผสมกับนํ้ามันก๊าดเช็ดลายลง
บนผ้าที่ต้องการปักโดยชุบแล้วบีบพอหมาด ๆ เช็ด
ลงบนกระดาษลอกลายที่ปุลายแล้ว ลายที่ต้องการ
ปักจะปรากฏที่ผ้าเป็นจุดระยะห่างเท่ากันตามที่เราปุ
ลายไว้
รูปที่ 25 สําลี ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
3. วัสดุที่ใช้ในการบํารุงรักษาจักร
จักรเย็บผ้าที่ใช้สําหรับปักควรมีการบํารุงรักษาจักรอยู่อย่างสมํ่าเสมอ เพื่อให้จักรอยู่ในสภาพ
พร้อมใช้งานอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะเรื่องความสะอาดบริเวณฟันจักร และจุดเคลื่อนไหวต่าง ๆ ของจักร
ควรหมั่นหยอดนํ้ามันจักรเป็นประจํา การทําความสะอาดมีอุปกรณ์
1. แปรงเล็ก
ใช้สําหรับปัดฝุ่นทําความสะอาดจักรตามส่วนต่าง ๆ
ที่แปรงใหญ่เข้าไปไม่ถึงเมื่อต้องการทําความสะอาดจักร
รูปที่ 26 แปรงเล็ก ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
2. ไขควง
ควรมีหลายขนาดเพื่อเลือกใช้ เช่นไขควงเล็ก ใช้
สําหรับขันสกรูกระสวยจักร (กะโหลก) เพื่อให้
กระสวยจักรแน่นหรือหลวมตามต้องการ
รูปที่ 27 ไขควง ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
3. นํ้ามันจักร
ใช้สําหรับหยอดจักรตามจุดต่าง ๆ โดยเฉพาะตาม
ข้อเหวี่ยงที่มีการเคลื่อนไหวอยู่เสมอ และควรใช้
นํ้ามันจักรชนิดที่มีคุณภาพ
รูปที่ 28 นํ้ามันจักร ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
4 . นํ้ามันก๊าด
ทําความสะอาดจักรเพื่อล้างฝุ่นละอองที่เราไม่
สามารถเช็ดทําความสะอาดให้สะอาดได้ และใช้
ผสมกับครามเพื่อเช็ดลายสําหรับลอกลายลงบนผ้า
รูปที่ 29 นํ้ามันก๊าด ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2
Natsima Chaisuttipat
 
ใบงานท 11 เร__อง กำหนดและลำด_บข__นตอนการปฏ_บ_ต_
ใบงานท   11 เร__อง กำหนดและลำด_บข__นตอนการปฏ_บ_ต_ใบงานท   11 เร__อง กำหนดและลำด_บข__นตอนการปฏ_บ_ต_
ใบงานท 11 เร__อง กำหนดและลำด_บข__นตอนการปฏ_บ_ต_
Sineenart Phromnin
 
ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16
Pond Phuwanat
 

What's hot (9)

ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2
 
ใบงานท 11 เร__อง กำหนดและลำด_บข__นตอนการปฏ_บ_ต_
ใบงานท   11 เร__อง กำหนดและลำด_บข__นตอนการปฏ_บ_ต_ใบงานท   11 เร__อง กำหนดและลำด_บข__นตอนการปฏ_บ_ต_
ใบงานท 11 เร__อง กำหนดและลำด_บข__นตอนการปฏ_บ_ต_
 
หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น (ครูสอนดีอุดรธานี)
หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น (ครูสอนดีอุดรธานี)หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น (ครูสอนดีอุดรธานี)
หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น (ครูสอนดีอุดรธานี)
 
สื่อการสอน บทที่ 2 การดูแลรักษาเสื้อผ้า
สื่อการสอน บทที่ 2 การดูแลรักษาเสื้อผ้าสื่อการสอน บทที่ 2 การดูแลรักษาเสื้อผ้า
สื่อการสอน บทที่ 2 การดูแลรักษาเสื้อผ้า
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
ผ้า
ผ้าผ้า
ผ้า
 
บทที่ 9 -16
บทที่ 9 -16บทที่ 9 -16
บทที่ 9 -16
 
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
 
ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16
 

เครื่องมือที่ใช้ในงานปักแบบอิสระ

  • 1. เครื่องมือที่ใช้ในงานปักแบบอิสระได้แก่ 1. จักรเย็บผ้า ใช้จักรเย็บผ้าธรรมดา เนื่องจากมีใช้กันอยู่ทั่วไป ราคาถูก หาซื้อได้ง่าย สามารถใช้ได้ทั้งเย็บและปัก รูปที่ 1 จักรเย็บผ้าธรรมดา ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550 2. สะดึง รูปที่ 2 สะดึงประเภทต่าง ๆ ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550 สะดึง เป็นสะดึงที่ทําด้วยไม้หรือพลาสติก จะมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ตั้งแต่ 3 - 13นิ้ว เหมาะ สําหรับงานปักที่มีขนาดเล็ก เพราะเป็นสะดึงที่มีนํ้าหนักเบา สามารถพกพาได้สะดวก และสามารถจับด้วย มือข้างเดียวได้ สะดึงแบบกลม จะมีส่วนประกอบ 2 ส่วน ดังนี้ วงด้านนอก จะมีสกรูไว้สําหรับปรับความตึงของผ้า วงด้านใน จะเป็นวงกลมเรียบมีขนาดเล็กกว่าวงด้านนอก เมื่อนํามาซ้อนกับวงกลมด้าน นอกจะซ้อนกันได้พอดี เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้ผ้าที่บางเสียหาย และเป็นการทําให้ผ้ายึดแน่นไม่เคลื่อนไปมา ควร ใช้ผ้าเทป หรือ ผ้าเฉลียงพันรอบวงด้านในของสะดึง และเย็บปลายผ้าให้เรียบร้อยก่อนจะนําไป ใช้งาน
  • 2. 3. กระสวยจักร (กระโหลกกระสวย) ใช้ใส่ไส้กระสวยที่กรอด้ายล่างใส่ในกระสวยจักร ดึงด้ายให้เข้าร่องปีกกระสวยจักร รูปที่ 3 กระสวยจักร ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550 4. ไส้กระสวย ใช้สําหรับนําด้ายล่างมากรอใส่ไส้กระสวย การ เลือกใช้จะต้องเลือกให้มีขนาดพอดีกับกระสวยจักร รูปที่ 4 ไส้กระสวยจักร ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550 5. ไหมปักจักร เป็นไหมที่เส้นเล็กกว่าด้ายเย็บผ้า เพราะไหมปักจักร จะมีเบอร์ 120 ขณะที่ด้ายเย็บผ้าเบอร์60 ไหมปักจักร เป็นไหมที่มีความมันและมีสีต่าง ๆ ให้เลือกมีขนาด ของนํ้าหนัก 20 กรัม และ25กรัม สําหรับที่ใช้ใน งานอุตสาหกรรมจะมีขนาดของนํ้าหนักมากกว่า25 กรัมขึ้นไป รูปที่ 5 ไหมปักจักร ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550 6. ด้ายเย็บผ้า
  • 3. ควรเป็นด้ายเนา หรือด้ายที่เปื่อยหรือด้ายเย็บผ้าก็ได้ สําหรับงานปักทั่วไปจะใช้ด้ายล่างเป็นด้ายเย็บผ้าสี อะไรก็ได้แต่ถ้าเป็นงานปักฉลุแล้วควรใช้ด้ายล่างสี เดียวหรือสีใกล้เคียงกับไหมปักจักร รูปที่ 6 ด้ายเย็บผ้า ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550 7. เข็มจักร ใช้เข็มจักรเย็บผ้า เบอร์ 9 หรือ เบอร์ 11 สําหรับผู้ ฝึกหัดปักใหม่ควรใช้เบอร์ 11 รูปที่ 7 เข็มจักร ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550 8. ผ้าเนื้อละเอียด สําหรับฝึกหัดปัก ใช้ผ้าฝ้ายเนื้อละเอียดสีขาวหรือสี อ่อน ๆ ตัดเป็นชิ้น ขนาด 15 x 15 นิ้ว รูปที่ 8 ผ้าเนื้อละเอียด ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550 9. ฝาครอบฟันจักร
  • 4. ใช้เฉพาะงานปักจักร มีลักษณะเป็นแผ่นโลหะครึ่ง วงกลมมีส่วนนูนเล็กน้อยตรงกลางแผ่นโลหะ มีรู สําหรับเข็มจักรผ่าน ใช้ครอบฟันจักรสําหรับจักรที่ ไม่สามารถลดฟันจักรลงได้หรือสําหรับงานปักฉลุ เพื่อไม่ให้ฟันจักรถูกกับผ้าที่ปักและดึงไหมขาด รูปที่ 9 ฝาครอบฟันจักร ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550 10. กรรไกรตัดผ้า มีขนาดตั้งแต่ 7 – 10 นิ้ว ใช้สําหรับตัดผ้าไม่ควร นําไปตัดกระดาษ หรือวัสดุอื่น ๆ เพราะจะทําให้ กรรไกรเสียคม รูปที่ 10 กรรไกรตัดผ้า ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550 11. กรรไกรตัดกระดาษ มีขนาดเล็กกว่ากรรไกรตัดผ้า ใช้สําหรับตัดกระดาษ เช่นกระดาษสร้างแบบ ,กระดาษไขเขียนแบบ สําหรับลอกลาย เท่านั้น รูปที่ 11 กรรไกรตัดกระดาษ ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550 12. กรรไกรปลายงอน ใช้สําหรับงานฉลุผ้าหรือขลิบริมโค้งมีขนาด4–5 นิ้ว ในการใช้กรรไกรนี้ควรระวังอย่าให้ตกพื้น
  • 5. เพราะจะทําให้ ปลายกรรไกรหักหรืองอได้ รูปที่ 12 กรรไกรปลายงอน ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550 1 3. กรรไกรก้ามปู หรือ กรรไกรตัดด้าย จะใช้ตัดด้ายหลังจากงานเย็บหรือปักเสร็จแล้ว เพื่อ ความเรียบร้อยของงาน รูปที่ 13 กรรไกรก้ามปู ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550 14. เข็มเลาะด้าย ใช้สําหรับเลาะด้ายส่วนที่ไม่ต้องการทิ้งทําจากโลหะ ปลายแหลม ควรเลือกชนิดที่คมและไม่เป็นสนิม มี ปลอกสวม รูปที่ 14 เข็มเลาะด้าย ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550 2. วัสดุที่ใช้ในการลอกลาย ในงานปักจักรทั่วไปจะมีการลอกลายต่างๆ ลงบนผ้า เพื่อเป็นแบบในการปัก ผู้ปักควรจัด หาวัสดุ ที่ใช้สําหรับการลอกลาย ได้แก่ 1. กระดาษกดรอย
  • 6. ใช้สําหรับกดรอยจากกระดาษลอกลายที่ลอกลายไว้ ลงบนผ้าสําหรับปัก ควรเลือกสีให้เหมาะสมกับสี ของผ้า ไม่ควรใช้กระดาษคาร์บอนที่ใช้รองเขียน หรือ รองพิมพ์เพราะซักไม่ออกทําให้ผ้าสกปรกได้ รูปที่ 15 กระดาษกดรอย ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550 2. กระดาษลอกลาย หรือ กระดาษไขเขียนแบบ ใช้สําหรับลอกลายต่าง ๆ ที่ต้องการปัก กระดาษ ลอกลายที่ดีควรจะสีขาว หรือ สีขาวขุ่น มีความหนา เล็กน้อย และสามารถนําไปลอกลายได้หลายครั้ง รูปที่ 16 กระดาษลอกลาย ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550 3. ปากกาเคมีหรือ ปากกาเจล ใช้สําหรับลอกลายหรือเขียนลายลงบนกระดาษลอก ลาย หรือกระดาษไขเขียนแบบ เพราะจะทําให้เห็นลาย ได้ชัดเจน และมือไม่เปื้อนในขณะที่ลอกลายลงบนผ้า รูปที่ 17 ปากกาเคมี ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550 4. ดินสอ ใช้สําหรับขีดเส้น หรือ วาดลายก่อนที่จะลอกลายลง บนกระดาษลอกลาย
  • 7. รูปที่ 18 ดินสอ ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550 5. ยางลบ ยางลบ ใช้ ลบดินสอในส่วนที่เขียนลายผิดและต้อง ลบให้สะอาด รูปที่ 19 ยางลบ ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550 6. ไม้บรรทัด ใช้ขนาด 12 นิ้วหรือ 24 นิ้ว ควรใช้ชนิดใส ไม่หัก ง่ายมีตัวเลขและขีดแบ่งช่องชัดเจน รูปที่ 20 ไม้บรรทัด ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550 7. เข็มหมุด ใช้สําหรับกลัดตึงผ้ากับกระดาษลอกลายที่ต้องการ ลอกลายลงบนผ้า รูปที่ 21 เข็มหมุด ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
  • 8. 8 . เข็มมือ หรือ เข็มสอย ใช้สําหรับการเนาหรือสอยส่วนต่าง ๆ ของงานปัก จักรตามต้องการ รูปที่ 22 เข็มมือ หรือ เข็มสอย ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550 9. ครามลงผ้า ใช้สําหรับเช็ดลาย ในลายที่ใหญ่ และต้องการเก็บ ลายไว้ใช้หลาย ๆ ครั้ง ซึ่งจะต้องใช้ครามผสมกับ นํ้ามันก๊าด รูปที่ 23 ครามลงผ้า ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550 10. นํ้ามันก๊าด ใช้สําหรับผสมกับครามในการเช็ดลาย และยัง สามารถใช้นํ้ามันก๊าดทําความสะอาดจักรเพื่อล้าง ฝุ่นละอองที่เราไม่สามารถเช็ดทําความสะอาดให้ สะอาดได้ รูปที่ 24 นํ้ามันก๊าด ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550
  • 9. 11. สําลี ใช้สําหรับชุบครามที่ผสมกับนํ้ามันก๊าดเช็ดลายลง บนผ้าที่ต้องการปักโดยชุบแล้วบีบพอหมาด ๆ เช็ด ลงบนกระดาษลอกลายที่ปุลายแล้ว ลายที่ต้องการ ปักจะปรากฏที่ผ้าเป็นจุดระยะห่างเท่ากันตามที่เราปุ ลายไว้ รูปที่ 25 สําลี ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550 3. วัสดุที่ใช้ในการบํารุงรักษาจักร จักรเย็บผ้าที่ใช้สําหรับปักควรมีการบํารุงรักษาจักรอยู่อย่างสมํ่าเสมอ เพื่อให้จักรอยู่ในสภาพ พร้อมใช้งานอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะเรื่องความสะอาดบริเวณฟันจักร และจุดเคลื่อนไหวต่าง ๆ ของจักร ควรหมั่นหยอดนํ้ามันจักรเป็นประจํา การทําความสะอาดมีอุปกรณ์ 1. แปรงเล็ก ใช้สําหรับปัดฝุ่นทําความสะอาดจักรตามส่วนต่าง ๆ ที่แปรงใหญ่เข้าไปไม่ถึงเมื่อต้องการทําความสะอาดจักร รูปที่ 26 แปรงเล็ก ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550 2. ไขควง ควรมีหลายขนาดเพื่อเลือกใช้ เช่นไขควงเล็ก ใช้ สําหรับขันสกรูกระสวยจักร (กะโหลก) เพื่อให้ กระสวยจักรแน่นหรือหลวมตามต้องการ รูปที่ 27 ไขควง ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550 3. นํ้ามันจักร ใช้สําหรับหยอดจักรตามจุดต่าง ๆ โดยเฉพาะตาม
  • 10. ข้อเหวี่ยงที่มีการเคลื่อนไหวอยู่เสมอ และควรใช้ นํ้ามันจักรชนิดที่มีคุณภาพ รูปที่ 28 นํ้ามันจักร ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550 4 . นํ้ามันก๊าด ทําความสะอาดจักรเพื่อล้างฝุ่นละอองที่เราไม่ สามารถเช็ดทําความสะอาดให้สะอาดได้ และใช้ ผสมกับครามเพื่อเช็ดลายสําหรับลอกลายลงบนผ้า รูปที่ 29 นํ้ามันก๊าด ที่มา : สุภาพร เจริญเวศยางกูร 2550