SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
 คาอธิบายโปรแกรม
 •สามารถอธิบายการทางานของโปรแกรมที่สาคัญ ๆ ได้ดังนี้
 •บรรทัดที่ 8 คาสั่ง while (n < 11) เพื่อควบคุมการทางานของโปรแกรมให้ทางานซ้าๆ
 กัน โดยการทางานของคาสั่ง while จะตรวจสอบเงื่อนไข n < 11 เป็นจริงหรือเท็จ ถ้าเป็
 จริงจะทางานตามคาสั่งที่อยู่ภายใน loop while คือ บรรทัดที่ 10 และ 11 จากนั้นจ
 กลับมาตรวจสอบเงื่อนไขใหม่ ทาอย่างนี้ซ้า ๆ จนกว่าตรวจสอบเงื่อนไข n < 11 เป็นเท็จ
 จึงจะออกจาก loop while แล้วไปทาคาสั่งบรรทัดที่ 13 ถึง คาสั่งบรรทัดที่ 18
 •บรรทัดที่ 10 และ 11 เป็นคาสั่งที่โปรแกรมจะทางานภายหลังจากตรวจสอบ
 เงื่อนไข while แล้วเป็นจริง นั่นคือ คานวณค่าสะสมของตัวแปร sum และ เพิ่ม
 ค่า n ทีละ 1 ตามลาดับ
 •บรรทัดที่ 13 ถึง 18 เป็นคาสั่งที่โปรแกรมจะทางานภายหลังจากตรวจสอบ
 เงื่อนไข while แล้วเป็นเท็จ คือ ลดค่าตัวแปร n ลง 1 แล้วคานวณค่าเฉลี่ยเก็บไว้ที่
 ตัวแปร avg และพิมพ์ค่าตัวแปร n, sum และ avg แสดงที่จอภาพ พร้อมกับพิมพ์
 ข้อความให้กดคีย์ใด ๆ เพื่อกลับสู่โปรแกรม สุดท้ายจะหยุดรอรับค่าใด ๆ จากคีย์บอร์ด เช่น
 ถ้ากด enter ก็จะกลับสู่โปรแกรม

 คาสั่ง จะถูกประมวลผลโดยไม่มีเงื่อนไขใด ๆ ในรอบแรก จากนั้นเงื่อนไข
การวนซ้า จะถูกตรวจสอบค่า และคาสั่ง จะถูกประมวลผลซ้าอีกทุกครั้งที่ เงื่อนไขการ
วนซ้า มีค่าเป็น จริง และในครั้งแรกที่ เงื่อนไขการวนซ้า มีค่าเป็น เท็จ คาสั่ง do-
while จึงจะสิ้นสุดลง
 คำสั่ง forคาสั่ง for เป็นคาสั่งที่สั่งให้ประมวลผลคาสั่ง หรือชุดคาสั่ง วนซ้าได้หลาย
รอบ โดยต้องกาหนดจานวนรอบให้การวนซ้าที่แน่นอนผังงานของคาสั่ง for การกาหนดค่าเริ่มต้นของตัวนับ
เงื่อนไขการวนซ้า และ การเปลี่ยนแปลงค่าตัวนับ เป็นนิพจน์ที่มีการทางานร่วมกันในคาสั่ง for ดังนี้
 การกาหนดค่าเริ่มต้นของตัวนับ เป็นนิพจน์ที่ใช้สาหรับกาหนดค่าเริ่มต้น ให้กับตัวแปรที่ทาหน้าที่ควบคุมการวน
ซ้า และจะประมวลผลเพียงครั้งเดียว
 เงื่อนไขการวนซ้า เป็นนิพจน์ที่ใช้สาหรับประเมินค่า คาสั่ง จะถูกประมวลผลหรือไม่ นั่นคือถ้าเงื่อนไขการวนซ้า
มีค่าจริง คาสั่ง จะถูกประมวลผล และถ้า เงื่อนไขการวนซ้า มีค่าเท็จ คาสั่ง for จะสิ้นสุดลง
 การเปลี่ยนแปลงค่าตัวนับ เป็นนิพจน์ที่จะถูกประมวลผลทุกครั้งหลังจาก คาสั่ง ถูกประมวลผล โดย การ
เปลี่ยนแปลงค่าตัวนับ เป็นนิพจน์ใด ๆ ที่สามารถประเมินค่าได้ เช่น นิพจน์เพิ่มค่า นิพจน์ลดค่า และนิพจน์
กาหนดค่า เป็นต้น
 คาสั่งภายใต้คาสั่ง for อาจเป็นคาสั่งอย่างง่ายหรือคาสั่งเชิงประกอบ
 เงื่อนไขการวนซ้า เป็นนิพจน์ใดๆ ที่สามารถประเมินค่าได้ โดยจะต้องเขียนไว้ระหว่าง
เครื่องหมาย ( และ ) เสมอเช่นเดียวกับคาสั่ง if และคาสั่ง if – else
เมื่อเริ่มต้นประมวลผลคาสั่ง while เงื่อนไขการวนซ้า จะถูกตรวจสอบค่า
ถ้าพบว่า เงื่อนไขการวนซ้า มีค่าเป็นจริง คาสั่ง ภายใต้คาสั่ง while จะถูกตรวจสอบ
ค่าเป็นรอบแรก แล้ว เงื่อนไขการวนซ้า จะถูกตรวจสอบค่าอีกครั้ง หากพบว่า เงื่อนไข
การวนซ้า ยังมีค่าเป็น จริง คาสั่ง จะถูกตรวจสอบค่าอีกครั้ง จนกระทั่ง เงื่อนไขการวน
ซ้า มีค่าเป็น เท็จ คาสั่ง while จึงจะสิ้นสุดลง
การตรวจสอบค่า เงื่อนไขการวนซ้า ของคาสั่ง while ในครั้งแรก และพบว่า
มีค่าเป็น เท็จ คาสั่ง จะไม่ประมวลผลเลย
คาสั่ง ภายใต้คาสั่ง while อาจเป็นคาสั่งอย่างง่ายหรือคาสั่งเชิงประกอบ
 นิพจน์ทำงคณิตศำสตร์
 นิพจน์ (Expressions) ทางคณิตศาสตร์นั้นเป็นนิพจน์ที่ใช้ในการ
คานวณ ซึ่งนิพจน์ทางคณิตศาสตร์นั้นจะมีรูปแบบเหมือนกับสมการคณิตศาสตร์ แต่จะ
ประกอบไปด้วย ค่าคงที่หรือตัวแปร ซึ่งเรียกอีกอย่างว่า ตัวถูกดาเนินการ
(Operand) แล้วเชื่อมกันด้วยเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ หรือเรียกอีกอย่างว่า
ตัวดาเนินการ (Operator) นั่นเอง
รูปแบบ [ตัวถูกดาเนินการตัวแรก] [ตัวดาเนินการ] [ตัวถูกดาเนินการตัวที่สอง]
 การสร้างนิพจน์ทางคณิตศาสตร์ ถ้าเป็นนิพจน์ที่มีตัวถูกดาเนินการเพียง 2 ตัวจะไม่มี
ปัญหาอะไร แต่ถ้าเกิดมีตัวถูกดาเนินการมากกว่า 2 ตัวขึ้นไป ผู้ใช้จะต้องคานึงถึง
ลาดับความสาคัญของตัวดาเนินการด้วย มิฉะนั้นอาจจะได้ผลลัพธ์ที่ไม่ตรงตามความ
ต้องการได้
 1.นายสยามรัฐ สุภาพ ม.6/2 เลขที่ 1
2.นายจิตวัต กัญญาดี ม.6/2 เลขที่ 4
3.นายภานุวัฒน์ เปลี่ยนพุ่ม ม.6/2 เลขที่ 5
4.นางสาวกาญจนา ไพรวัน ม.6/2 เลขที่ 9
5.นางสาวรัชนีกร แช่มเล็ก ม.6/2 เลขที่ 15
6.นางสาวศศิธร ดอกพรหม ม.6/2 เลขที่ 16
เสนอ
 ครูทรงศักดิ์โพธิ์เอี่ยม
เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ (ง30212)
 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญนบุรี ในพระราชูปถัมภ์
สมเด็จพรัเทพรัตน์ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี


More Related Content

Similar to บทที่4

คำสั่งควบคุมของโปรแกรม
คำสั่งควบคุมของโปรแกรมคำสั่งควบคุมของโปรแกรม
คำสั่งควบคุมของโปรแกรมParn Nichakorn
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำการเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำGatesiree G'ate
 
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำการเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำKornnicha Wonglai
 
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรมการควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรมkorn27122540
 
บทที่3 การควบคุมโปรแกรม
บทที่3 การควบคุมโปรแกรมบทที่3 การควบคุมโปรแกรม
บทที่3 การควบคุมโปรแกรมpennapa34
 
การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ ppt
การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ pptการเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ ppt
การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ pptAid Danuwasin
 

Similar to บทที่4 (11)

การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ
การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำการเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ
การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ
 
คำสั่งควบคุมของโปรแกรม
คำสั่งควบคุมของโปรแกรมคำสั่งควบคุมของโปรแกรม
คำสั่งควบคุมของโปรแกรม
 
งานทำ Blog บทที่ 6
งานทำ Blog บทที่ 6งานทำ Blog บทที่ 6
งานทำ Blog บทที่ 6
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำการเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
 
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำการเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
 
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรมการควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
 
กลุ่ม 6
กลุ่ม 6กลุ่ม 6
กลุ่ม 6
 
02 controlflow php
02 controlflow php02 controlflow php
02 controlflow php
 
กลุ่ม 4
กลุ่ม 4กลุ่ม 4
กลุ่ม 4
 
บทที่3 การควบคุมโปรแกรม
บทที่3 การควบคุมโปรแกรมบทที่3 การควบคุมโปรแกรม
บทที่3 การควบคุมโปรแกรม
 
การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ ppt
การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ pptการเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ ppt
การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ ppt
 

บทที่4

  • 1.
  • 2.  คาอธิบายโปรแกรม  •สามารถอธิบายการทางานของโปรแกรมที่สาคัญ ๆ ได้ดังนี้  •บรรทัดที่ 8 คาสั่ง while (n < 11) เพื่อควบคุมการทางานของโปรแกรมให้ทางานซ้าๆ  กัน โดยการทางานของคาสั่ง while จะตรวจสอบเงื่อนไข n < 11 เป็นจริงหรือเท็จ ถ้าเป็  จริงจะทางานตามคาสั่งที่อยู่ภายใน loop while คือ บรรทัดที่ 10 และ 11 จากนั้นจ  กลับมาตรวจสอบเงื่อนไขใหม่ ทาอย่างนี้ซ้า ๆ จนกว่าตรวจสอบเงื่อนไข n < 11 เป็นเท็จ  จึงจะออกจาก loop while แล้วไปทาคาสั่งบรรทัดที่ 13 ถึง คาสั่งบรรทัดที่ 18  •บรรทัดที่ 10 และ 11 เป็นคาสั่งที่โปรแกรมจะทางานภายหลังจากตรวจสอบ  เงื่อนไข while แล้วเป็นจริง นั่นคือ คานวณค่าสะสมของตัวแปร sum และ เพิ่ม  ค่า n ทีละ 1 ตามลาดับ  •บรรทัดที่ 13 ถึง 18 เป็นคาสั่งที่โปรแกรมจะทางานภายหลังจากตรวจสอบ  เงื่อนไข while แล้วเป็นเท็จ คือ ลดค่าตัวแปร n ลง 1 แล้วคานวณค่าเฉลี่ยเก็บไว้ที่  ตัวแปร avg และพิมพ์ค่าตัวแปร n, sum และ avg แสดงที่จอภาพ พร้อมกับพิมพ์  ข้อความให้กดคีย์ใด ๆ เพื่อกลับสู่โปรแกรม สุดท้ายจะหยุดรอรับค่าใด ๆ จากคีย์บอร์ด เช่น  ถ้ากด enter ก็จะกลับสู่โปรแกรม
  • 3.   คาสั่ง จะถูกประมวลผลโดยไม่มีเงื่อนไขใด ๆ ในรอบแรก จากนั้นเงื่อนไข การวนซ้า จะถูกตรวจสอบค่า และคาสั่ง จะถูกประมวลผลซ้าอีกทุกครั้งที่ เงื่อนไขการ วนซ้า มีค่าเป็น จริง และในครั้งแรกที่ เงื่อนไขการวนซ้า มีค่าเป็น เท็จ คาสั่ง do- while จึงจะสิ้นสุดลง
  • 4.  คำสั่ง forคาสั่ง for เป็นคาสั่งที่สั่งให้ประมวลผลคาสั่ง หรือชุดคาสั่ง วนซ้าได้หลาย รอบ โดยต้องกาหนดจานวนรอบให้การวนซ้าที่แน่นอนผังงานของคาสั่ง for การกาหนดค่าเริ่มต้นของตัวนับ เงื่อนไขการวนซ้า และ การเปลี่ยนแปลงค่าตัวนับ เป็นนิพจน์ที่มีการทางานร่วมกันในคาสั่ง for ดังนี้  การกาหนดค่าเริ่มต้นของตัวนับ เป็นนิพจน์ที่ใช้สาหรับกาหนดค่าเริ่มต้น ให้กับตัวแปรที่ทาหน้าที่ควบคุมการวน ซ้า และจะประมวลผลเพียงครั้งเดียว  เงื่อนไขการวนซ้า เป็นนิพจน์ที่ใช้สาหรับประเมินค่า คาสั่ง จะถูกประมวลผลหรือไม่ นั่นคือถ้าเงื่อนไขการวนซ้า มีค่าจริง คาสั่ง จะถูกประมวลผล และถ้า เงื่อนไขการวนซ้า มีค่าเท็จ คาสั่ง for จะสิ้นสุดลง  การเปลี่ยนแปลงค่าตัวนับ เป็นนิพจน์ที่จะถูกประมวลผลทุกครั้งหลังจาก คาสั่ง ถูกประมวลผล โดย การ เปลี่ยนแปลงค่าตัวนับ เป็นนิพจน์ใด ๆ ที่สามารถประเมินค่าได้ เช่น นิพจน์เพิ่มค่า นิพจน์ลดค่า และนิพจน์ กาหนดค่า เป็นต้น  คาสั่งภายใต้คาสั่ง for อาจเป็นคาสั่งอย่างง่ายหรือคาสั่งเชิงประกอบ
  • 5.  เงื่อนไขการวนซ้า เป็นนิพจน์ใดๆ ที่สามารถประเมินค่าได้ โดยจะต้องเขียนไว้ระหว่าง เครื่องหมาย ( และ ) เสมอเช่นเดียวกับคาสั่ง if และคาสั่ง if – else เมื่อเริ่มต้นประมวลผลคาสั่ง while เงื่อนไขการวนซ้า จะถูกตรวจสอบค่า ถ้าพบว่า เงื่อนไขการวนซ้า มีค่าเป็นจริง คาสั่ง ภายใต้คาสั่ง while จะถูกตรวจสอบ ค่าเป็นรอบแรก แล้ว เงื่อนไขการวนซ้า จะถูกตรวจสอบค่าอีกครั้ง หากพบว่า เงื่อนไข การวนซ้า ยังมีค่าเป็น จริง คาสั่ง จะถูกตรวจสอบค่าอีกครั้ง จนกระทั่ง เงื่อนไขการวน ซ้า มีค่าเป็น เท็จ คาสั่ง while จึงจะสิ้นสุดลง การตรวจสอบค่า เงื่อนไขการวนซ้า ของคาสั่ง while ในครั้งแรก และพบว่า มีค่าเป็น เท็จ คาสั่ง จะไม่ประมวลผลเลย คาสั่ง ภายใต้คาสั่ง while อาจเป็นคาสั่งอย่างง่ายหรือคาสั่งเชิงประกอบ
  • 6.  นิพจน์ทำงคณิตศำสตร์  นิพจน์ (Expressions) ทางคณิตศาสตร์นั้นเป็นนิพจน์ที่ใช้ในการ คานวณ ซึ่งนิพจน์ทางคณิตศาสตร์นั้นจะมีรูปแบบเหมือนกับสมการคณิตศาสตร์ แต่จะ ประกอบไปด้วย ค่าคงที่หรือตัวแปร ซึ่งเรียกอีกอย่างว่า ตัวถูกดาเนินการ (Operand) แล้วเชื่อมกันด้วยเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ หรือเรียกอีกอย่างว่า ตัวดาเนินการ (Operator) นั่นเอง รูปแบบ [ตัวถูกดาเนินการตัวแรก] [ตัวดาเนินการ] [ตัวถูกดาเนินการตัวที่สอง]  การสร้างนิพจน์ทางคณิตศาสตร์ ถ้าเป็นนิพจน์ที่มีตัวถูกดาเนินการเพียง 2 ตัวจะไม่มี ปัญหาอะไร แต่ถ้าเกิดมีตัวถูกดาเนินการมากกว่า 2 ตัวขึ้นไป ผู้ใช้จะต้องคานึงถึง ลาดับความสาคัญของตัวดาเนินการด้วย มิฉะนั้นอาจจะได้ผลลัพธ์ที่ไม่ตรงตามความ ต้องการได้
  • 7.  1.นายสยามรัฐ สุภาพ ม.6/2 เลขที่ 1 2.นายจิตวัต กัญญาดี ม.6/2 เลขที่ 4 3.นายภานุวัฒน์ เปลี่ยนพุ่ม ม.6/2 เลขที่ 5 4.นางสาวกาญจนา ไพรวัน ม.6/2 เลขที่ 9 5.นางสาวรัชนีกร แช่มเล็ก ม.6/2 เลขที่ 15 6.นางสาวศศิธร ดอกพรหม ม.6/2 เลขที่ 16 เสนอ  ครูทรงศักดิ์โพธิ์เอี่ยม เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ (ง30212)  โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญนบุรี ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพรัเทพรัตน์ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 