SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
หัวข้อ
1. ตัวดำเนินทำงตรรกะ
2. กำรเลือกคำสั่งแบบทำงเดียว (if
statement)
3. คำสั่งเลือกทำอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง ( if-
else )
4. กำรใช้คำสั่ง if-else-if
5. กำรเลือกทำแบบ switch
6. กำรควบคุมกำรทำซ้ำด้วยคำสั่ง for
7. ลูปซ้อนลูป (Nested Loops)
8. คำสั่ง break และ continue
9. ข้อควรระวังในกำรใช้คำสั่งทำซ้ำ
1. ตัวดำเนินทำงตรรกะ
1.1ตัวดำเนินกำรแบบสัมพันธ ์
การที่ทาหน้าที่เปรียบเทียบค่าระหว่างตัวแปรสองตัว หรือ
จะคืนค่าเป็ นจริงหรือเท็จ (Boolean)
Relational Operator ตัวอย่ำง
< Op1<Op2 : คืนค่าความเป็ นจริง
กว่า Op2
a=(1<3); //aจะมีค่าเป็ นจริง
<= Op1<=Op2 : คืนค่าความเป็ นจริง
กว่า Op2 หรือเท่ากับ Op2
a=(5<=7); //a จะมีค่าเป็ นจริง
> Op1>Op2 :คืนค่าความเป็ นจริง
ถ้า Op1 มากกว่า Op2
a=(5>7); //a จะมีค่าเป็ นจริง
Relational
Operator
ตัวอย่ำง
>= Op1>=Op2 : คืนค่า
ถ้า Op1 มากกว่า หรือ
a=(5>=7); //a จะมีค่าเป็ นจริง
== Op1==Op2 : คืนค่า
ถ้า Op1 เท่ากับ Op2
a=(5==7); // a จะมีค่าเป็ นเท็จ
!= Op1!=Op2 : คืนค่าความ
ถ้า Op1 ไม่เท่ากับ Op2
a=(5!=7); // a จะมีค่าเป็ นจริง
": (expression)"a:b :คือ
ค่าตัว operand
a ถ้า expression เป็ นจริง
a=(3>5)"false:true; //a จะมีค่าเป็ นจริง
เปรียบเทียบ 3 มากกว่า 5 เป็ นเท็จ เมื่อค่าที่
เลือกค่า true
2.2ตัวดำเนินกำรทำงตรรกศำสตร ์(Logical
Operator)เป็ นตัวดาเนินการเกี่ยวข้องกับนิพจน์ที่สามารถ
บอกค่าความจริงเป็ นจริง(true) หรือเท็จ (false)ได้ หรือ
แปรประเภท boolean ผลลัพธ์ที่ได้จากการกระทาจะได้
เป็ น true หรือ false ตัวดาเนินการทางตรรกะได้แก่
^ มีตัวอย่างการใช ้งานดังนี้
เครื่องหมำย
ดำเนินกำร
ควำมหมำย ตัวอย่ำง ผลลัพธ ์
! NOT (นิเสธ) !(5 > 3) false
&& หรือ &
AND (และ) (x >= 10)&&(x
มีค่า
(x >= 10) มีค่า
และ (x <= 100) มี
เป็ น true
เครื่องหมำ
ย
ดำเนินกำร
ควำมหมำ
ย
ตัวอย่ำง ผลลัพธ ์
|| หรือ |
OR (หรือ) (x < 10) || (x >
มีค่า
(x < 10) มีค่า
หรือ (x > 100) มี
เป็ น true
^
Exclusive OR (x > 20) ^ (y >
มีค่า
เป็ น false ได้ 2 กร
กรณีที่1
เมื่อ (x >= 10) มี
เป็ น true และ(x
100) มีค่าเป็ น true
กรณีที่2
เมื่อ (x >= 10) มี
เป็ น false และ (x
100) มีค่า
ตัวดำเนินกำรทำงตรรกะแบบต่ำงๆ สำมำรถแสดงผลลัพธ์ของนิพจน์
ตรรกะตำมค่ำควำมจริงของกำรดำเนินกำรได้ดังตำรำงค่ำควำมจริง(Truth
Table) ดังนี้
ตารางค่าความจริงของตัวดาเนินการ ! หรือ NOT
ค่าความจริงนิพจน์
นิพจน์
ตัวอย่าง ผลลัพธ์
false !(false) False
true !(true) True
ตำรำงค่ำควำมจริงของตัว
ดำเนินกำร && หรือ AND
ค่ำควำมจริง
นิพจน์ที่1
ค่ำควำมจริง
นิพจน์ที่2
ตัวอย่ำง ผลลัพธ ์
false false false && False
false true false && False
true false true && False
True true true && True
ตำรำงค่ำควำมจริงของตัว
ดำเนินกำร || หรือ OR
ค่ำควำมจริง
นิพจน์ที่1
ค่ำควำมจริง
นิพจน์ที่2
ผลลัพธ ์ ผลลัพธ ์
False false false || False
False true false || True
True false true || True
True true true || True
ตำรำงค่ำควำมจริงของตัว
ดำเนินกำร ^ หรือ XOR
ค่ำควำมจริง
นิพจน์ที่1
ค่ำควำมจริง
นิพจน์ที่2
ผลลัพธ ์ ผลลัพธ ์
False false false ^ False
False true false ^ True
True false true ^ True
True true true ^ false
2.กำรเลือกทำแบบทำงเดียว (if statement)
ในภาษาจาวาจะใช ้คาสั่ง if เลือกทาแบบทางเดียวเพื่อจะ
ชุดคาสั่งที่ตามมาจะทาหรือไม่ ในการทางานของคาสั่ง
เงื่อนไขก่อน ถ้าเงื่อนไขเป็ นจริงจะทาคาสั่งหรือสเตตเมนต์ที่
เมนต์รวมที่อยู่ในเครื่องหมาย { } แต่ถ้าเงื่อนไขเป็ นเท็จ
คาสั่งหรือสเตตเมนต์ตามมาและไปทาคาสั่งหรือสเตตเมนต์
เป็ นดังต่อไปนี้
รูปแบบ
If(condition) {action statement}
โดยการตรวจสอบเงื่อนไขจะเป็ นการกระทาแบบบูลีน
หรือเท็จเท่านั้นถ้าหากมีการใช ้ตัวดาเนินการจะใช ้ตัว
แบบบูลีน สาหรับการทางานของคาสั่ง if สารถเขียนเป็ นผัง
ตัวอย่าง โปรแกรมต่อไปนี้จะตรวจสอบว่า x มากกว่า y จริงหรือไม่ ถ้า
หาก x มากกว่า y จริงโปรแกรมจะทาคาสั่งต่อมา
3.คำสั่งเลือกทำอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง ( if-
else )
จากตาสั่ง if ที่ผ่านมาจะใช ้ในการเขียน
ทาหรือไม่ ถ้าเงื่อนไขเป็ นจริงจะทาคาสั่งหรือสเตตเมนต์
คอมพิวเตอร ์ต้องเลือกทาอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยตรวจสอบ
คาสั่ง if-else ถ้าเงื่อนไขเป็ นจริงจะทาคาสั่งหลัง if แต่ถ้า
คาสั่งหลัง else โดยนิพจน์การตรวจสอบเงื่อนไขที่
ทางตรรก รูปแบบคาสั่งเป็ นดังนี้
กำรทำงำนของคำสั่งนี้สำมำรถเขียนผังงำนได้ดังนี้
ตัวอย่าง มีคัวแปร a และ b เก็บค่ำข้อมูลใดๆ ถ้ำหำกนำข้อมูลทั้งสองมำ
ข้อมูลทั้งสองมำเปรียบเทียบกันและต้องกำรให้ตัวแปร c เก็บข้อมูลที่มีค่ำมำกกว่ำ
สำมำรถเขียนได้ดังนี้
4. กำรใช้คำสั่ง if-else-if
การเขียนคาสั่งแบบเลือกทาสองทางที่ใช ้if-
ที่อยู่หลัง else จะถูกทางาน ถ้าหากประโยคเงื่อนไข
ให้ตรวจสอบเงื่อนไขอื่นๆ ก่อนที่จะทาชุดคาสั่งหลัง if-else-
ถ้าหากต้องการเขียนโปรแกรมในการคิดผลสอบของ
คะแนนมากกว่า 50 ให้ผ่าน แต่ถ้าคะแนนไม่มากกว่า 50
คาสั่ง if-else มาใช้ได้ โดยเขียนดังนี้
สำหรับงำนบำงประเภทถ้ำหำกตรวจสอบเงื่อนไขแล้วได้ผลเป็นเท็จ
จำกนั้นต้องกำรให้ตรวจสอบเงื่อนไขอีกก็ทำได้เช่นกัน เช่น ถ้ำหำกในกำรคิดผล
สอบแล้วต้องกำรให้ผลลัพธ์ออกมำเป็นเกรดโดยมีเงื่อนไขดังนี้
จำกผังงำนจะพบว่ำถ้ำตรวจสอบเงื่อนไขแล้วได้ผลลัพธ์เป็นเท็จจะต้องมีกำร
ตรวจสอบเงื่อนไขในครั้งต่อไป กำรทำงำนลักษณะนี้จะใช้คำสั่ง if-else-if โดยมี
รูปแบบดังนี้
5. กำรเลือกทำแบบ switch
การเขียนโปรแกรมที่ต้องมีการเลือกทาหลายทางเลือก เราสามารถนาประโยค
คาสั่ง if-else มาซ้อนกันได้ แต่ถ้าเงื่อนไขที่ต้องตัดสินใจขึ้นกับตัวแปรเดียว เรา
สามารถใช้คาสั่ง switch..case แทนได้ คาสั่ง switch นี้มีความซับซ้อน
น้อยกว่าการนา if-else มาเขียนซ้อนกัน และสามารถเปลี่ยนเงื่อนไขได้ง่ายอีกด้วย
ตัวอย่างเช่น ถ้าเขียนโปรแกรมเป็นลักษณะเมนูดังต่อไปนี้
และให้ผู้ใช้โปรแกรมเลือกวิธีกำรคำนวณเข้ำไปโดยป้อนค่ำอินพุตเข้ำไป เรำ
สำมำรถเขียนโปรแกรมโดยนำค่ำอินพุตที่ได้รับเข้ำไปเก็บไว้ในตัวแปรตัวหนึ่ง และ
ใช้คำสั่ง switch เลือกว่ำมีค่ำเท่ำกับค่ำใด (1,2,3,4) จำกนั้นให้ไปทำงำนตำมที่
เลือก ประโยคคำสั่ง switch..case มีรูปแบบดังนี้
คำสั่ง switch นี้จะนำค่ำใน variable มำตรวจสอบว่ำเท่ำกับค่ำคงที่ค่ำใด
หลัง case จำกนั้น โปรแกรมจะไปทำ statement หลังค่ำคงที่ตัวนั้น และออกจำก switch เมื่อถึง
คำสั่ง break แต่ถ้ำไม่เท่ำค่ำคงที่ค่ำใดเลย โปรแกรมจะไปทำ statement หลัง default แต่ถ้ำ
หำกไม่มี คำสั่ง break โปรแกรมจะทำงำนตำมคำสั่งทุกๆ case แม้ว่ำตัวแปรใน switch จะไม่
ตรงกับ case สำหรับค่ำที่ใช้ตรวจสอบจะเป็นตัวแปรนิพจน์ หรือฟังก์ชันก็ได้ สำหรับในแต่ละ
case สำมำรถมีคำสั่งได้มำกกว่ำหนึ่งคำสั่งหรืออำจไม่มีก็ได้ โดยถ้ำไม่มีคำสั่งโปรแกรมจะไป
ทำงำนใน case ถัดไป ค่ำคงที่หลัง case จะต้องเป็นแบบchar, byte, short หรือ int แล้วตำม
ด้วยเครื่องหมำยโคลอน (:)
6. กำรควบคุมกำรทำซ้ำด้วย
คำสั่ง for
การซ้าแบบ for หรือ loop for จะเป็ นการให้
แปรจะครบตามที่ตั้งไว้หรือทาตามเงื่อนไขที่กาหนด เริ่มแรก
เริ่มต้นให้กับตัวแปรเริ่มต้น (initialization) จากนั้นจะ
เงื่อนไขเป็ นจริงจะทาสเตตเมนต์ที่ตามมา และปรับค่าตัวแปร
ของคาสั่งเป็ นดังนี้
รูปแบบ
ในส่วนของ condition บางครั้งจะเรียกตัวแปร
control variable ) เริ่มต้นคาสั่งจะทาส่วนกาหนดค่า
จะตรวจสอบว่าเงื่อนไขเป็ นจริงหรือไม่
ถ้ำเงื่อนไขเป็นจริงจะทำตำมสเตตเมนต์ที่จะทำซ้ำแล้วกลับมำทำ
ส่วน update ซึ่งส่วนมำกแล้วจะเป็นกำรเพิ่มค่ำหรือลดค่ำตัวแปร จำกนั้นจะ
ตรวจสอบเงื่อนไขใหม่โดยทำแบบนี้ไปจนกว่ำเงื่อนไขจะเป็นเท็จ สเตตเมนต์ที่
ทำซ้ำอำจเป็นสเตตเมนต์รวม(Compound Statement) ก็ได้ แต่ต้องอยู่ภำยใน
เครื่องหมำย { กับ }
สำหรับในส่วนของกำรกำหนดค่ำเริ่มต้น และ update มักจะเขียนเป็น
คำสั่งเดียว แต่ถ้ำหำกต้องกำรใช้หลำยคำสั่งจะใช้เครื่องหมำย comma คั่น
ระหว่ำงคำสั่ง
ตัวอย่ำงเช่น ถ้ำเขียนคำสั่งดังต่อไปนี้
เริ่มโปรแกรมจะใส่ค่ำเริ่มต้น 1 ลงในตัวแปร number จำกนั้นจะทดสอบ
เงื่อนไขว่ำเงื่อนไขเป็นจริงหรือไม่ ถ้ำเป็นจริงจะทำสเตตเมนต์และเพิ่ม
ค่ำ number ขึ้นหนึ่งค่ำ
ในกำรเพิ่มค่ำให้กับตัวแปรควบคุมจะเพิ่มขึ้นเป็นลำดับ โดยอำจเป็น
ตัวเลข 1,2,3,… หรืออักษร ‘A’,’B’,’C’, ก็ได้ดังนั้น กำรประกำศประเภทของตัวแปร
ควบคุมจะต้องให้สอดคล้องกับค่ำของข้อมูลด้วย
ถ้ำหำกเขียนคำสั่ง for ดังต่อไปนี้
โปรแกรมจะพิมพ์ค่ำ counter ตั้งแต่ 1 ถึง 10 โดยเริ่มแรกใส่ค่ำให้กับตัว
แปร counter ซึ่งเป็นตัวแปรเริ่มต้นก่อน จำกนั้นจะตรวจสอบเงื่อนไข
ว่ำ counter น้อยกว่ำหรือเท่ำกับ 10 จริงหรือไม่ ถ้ำจริงจะพิมพ์ค่ำ
ใน counter และเพิ่มค่ำ counter ขึ้นอีกหนึ่งค่ำ จำกนั้นจะตรวจสอบเงื่อนไขใหม่
โดยกำรทำงำนสำมำรถเขียนผังงำนได้ดังนี้
7.ลูปซ้อนลูป (Nested Loops)
ในการเขียนโปรแกรมสามารถนาคาสั่งลูปแบบต่างๆ
ได้เรียกว่าลูปแบบซ ้อนลูปดังตัวอย่างต่อไปนี้
Public class Nestedloop1 {
Public static void main(String[ ] args)
{
for(int i = 1; i < = 3; i ++)
for(int j = 1; j < = 3; j ++)
System.out.print(j + “ “);
}
}
จำกตัวอย่ำงโปรแกรมลูปแรกจะเป็นลูปของตัวแปร I โดยภำยในลูปจะทำลูปของตัว
แปร j จำนวน 3 ครั้ง ทำให้กำรทำงำน System.out.print (j+ “ “) มีกำรทำงำน
ทั้งหมด 9 ครั้ง
8.คำสั่ง break และ continue
คาสั่งนี้สามารถใช ้งานร่วมกับ while , for ,
สาหรับคาสั่งที่ทางานตรงกันข้ามกับ คาสั่ง break คือ
สามารถใช้ได้ใน while , for หรือ do/while ได้เช่นกัน
มาถึงคาสั่งcontinue จะทาลูปต่อไปโดยไม่ทาสเตตเมนต์ที่
Public class BrekDemo {
Public static void main(String[ ] argd){
int num = 100;
for(int i = 0; i < num; i ++){
if (i*i > = num)break;
System.out.print(i+ “ “);
}
System.out.print(“Loop complete.
} }
Public class ContDemo {
Public static void main(String[ ] args)
{
for(int i = 0; i < 100; i ++)
if ((i%2 continue;
System.out.print(i);
}
}
}
9.ข้อควรระวังในกำรใช้คำสั่งทำซ้ำ
ในการเขียนโปรแกรมทาลูปมักจะมีข้อผิดพลาด
โปรแกรมที่เขียนขึ้นจะคอมไพล์ผ่าน แต่จะทางานไม่ถูกต้อง
ข้อผิดพลาดนี้เรียกว่าlogic error ซึ่งโดยทั่วไปในการทาลูป
อยู่ 4 ประการคือ
1. การกาหนดค่าเริ่มต้นในการทาลูป
2. การทดสอบเงื่อนไขก่อนการทาลูป
3. ข้อผิดพลาดภายในโครงสร ้างของลูป
4. การเขียนสเตตเมนต์ปรับค่าตัวควบคุมลูป
จัดทำโดย
1.นำยกิตติศักดิ์ จันทวำศ เลขที่2
ชั้นม.6/1
2.นำงสำวชุติมณฑน์ แดงจันทร ์
เลขที่28 ชั้นม.6/1
3.นำงสำวธนัชพร ทวนทอง เลขที่
30 ชั้นม.6/1
4.นำงสำวเพ็ญนภำ เมืองแพน
เลขที่4 ชั้นม.6/1
5.นำงสำวสุพิชญำ ประทุมเทือง
เลขที่37 ชั้นม.6/1

More Related Content

Viewers also liked

AChua_Resume_2013[1]
AChua_Resume_2013[1]AChua_Resume_2013[1]
AChua_Resume_2013[1]Andrea Chua
 
ETHICAL CONSUMERISM AN OPPORTUNITY FOR INDIAN HANDCRAFTED AND HANDLOOM TEXTIL...
ETHICAL CONSUMERISM AN OPPORTUNITY FOR INDIAN HANDCRAFTED AND HANDLOOM TEXTIL...ETHICAL CONSUMERISM AN OPPORTUNITY FOR INDIAN HANDCRAFTED AND HANDLOOM TEXTIL...
ETHICAL CONSUMERISM AN OPPORTUNITY FOR INDIAN HANDCRAFTED AND HANDLOOM TEXTIL...Noorani Biswas
 
DataChannelでIoTしてみた
DataChannelでIoTしてみたDataChannelでIoTしてみた
DataChannelでIoTしてみたtonofo
 
Research project on murshidabad silk
Research project on murshidabad silkResearch project on murshidabad silk
Research project on murshidabad silkNoorani Biswas
 
Ajrakh and dhabla of kutch, rajasthan.
Ajrakh and dhabla of kutch, rajasthan.Ajrakh and dhabla of kutch, rajasthan.
Ajrakh and dhabla of kutch, rajasthan.Noorani Biswas
 
ETHICAL CONSUMERISM AN OPPORTUNITY FOR INDIAN HANDCRAFTED AND HANDLOOM TEXTIL...
ETHICAL CONSUMERISM AN OPPORTUNITY FOR INDIAN HANDCRAFTED AND HANDLOOM TEXTIL...ETHICAL CONSUMERISM AN OPPORTUNITY FOR INDIAN HANDCRAFTED AND HANDLOOM TEXTIL...
ETHICAL CONSUMERISM AN OPPORTUNITY FOR INDIAN HANDCRAFTED AND HANDLOOM TEXTIL...Noorani Biswas
 

Viewers also liked (8)

AChua_Resume_2013[1]
AChua_Resume_2013[1]AChua_Resume_2013[1]
AChua_Resume_2013[1]
 
Resume - Amrit Kumar Agarwal
Resume - Amrit Kumar AgarwalResume - Amrit Kumar Agarwal
Resume - Amrit Kumar Agarwal
 
блоги
блогиблоги
блоги
 
ETHICAL CONSUMERISM AN OPPORTUNITY FOR INDIAN HANDCRAFTED AND HANDLOOM TEXTIL...
ETHICAL CONSUMERISM AN OPPORTUNITY FOR INDIAN HANDCRAFTED AND HANDLOOM TEXTIL...ETHICAL CONSUMERISM AN OPPORTUNITY FOR INDIAN HANDCRAFTED AND HANDLOOM TEXTIL...
ETHICAL CONSUMERISM AN OPPORTUNITY FOR INDIAN HANDCRAFTED AND HANDLOOM TEXTIL...
 
DataChannelでIoTしてみた
DataChannelでIoTしてみたDataChannelでIoTしてみた
DataChannelでIoTしてみた
 
Research project on murshidabad silk
Research project on murshidabad silkResearch project on murshidabad silk
Research project on murshidabad silk
 
Ajrakh and dhabla of kutch, rajasthan.
Ajrakh and dhabla of kutch, rajasthan.Ajrakh and dhabla of kutch, rajasthan.
Ajrakh and dhabla of kutch, rajasthan.
 
ETHICAL CONSUMERISM AN OPPORTUNITY FOR INDIAN HANDCRAFTED AND HANDLOOM TEXTIL...
ETHICAL CONSUMERISM AN OPPORTUNITY FOR INDIAN HANDCRAFTED AND HANDLOOM TEXTIL...ETHICAL CONSUMERISM AN OPPORTUNITY FOR INDIAN HANDCRAFTED AND HANDLOOM TEXTIL...
ETHICAL CONSUMERISM AN OPPORTUNITY FOR INDIAN HANDCRAFTED AND HANDLOOM TEXTIL...
 

Similar to บทที่3 การควบคุมโปรแกรม

เอสสสสสส (1)
เอสสสสสส (1)เอสสสสสส (1)
เอสสสสสส (1)Siriwan Wisetsing
 
Java-Chapter 04 Iteration Statements
Java-Chapter 04 Iteration StatementsJava-Chapter 04 Iteration Statements
Java-Chapter 04 Iteration StatementsWongyos Keardsri
 
บทที่ 3 คำสั่งควบคุมโปรแกรม
บทที่ 3 คำสั่งควบคุมโปรแกรมบทที่ 3 คำสั่งควบคุมโปรแกรม
บทที่ 3 คำสั่งควบคุมโปรแกรมSutinun Goodour
 
เงื่อนไข การตัดสินใจ
เงื่อนไข การตัดสินใจเงื่อนไข การตัดสินใจ
เงื่อนไข การตัดสินใจOraphan4
 
กลุ่มที่4 ม.6/3 คำสั่ง For,While,Do while
กลุ่มที่4 ม.6/3 คำสั่ง For,While,Do while กลุ่มที่4 ม.6/3 คำสั่ง For,While,Do while
กลุ่มที่4 ม.6/3 คำสั่ง For,While,Do while Aeew Autaporn
 
หน่วยการเรียนที่ 4 การใช้คำสั่งควบคุมและการตัดสินใจ vb2013 express
หน่วยการเรียนที่ 4 การใช้คำสั่งควบคุมและการตัดสินใจ vb2013 expressหน่วยการเรียนที่ 4 การใช้คำสั่งควบคุมและการตัดสินใจ vb2013 express
หน่วยการเรียนที่ 4 การใช้คำสั่งควบคุมและการตัดสินใจ vb2013 expressครูสม ฟาร์มมะนาว
 
บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุม (2)
บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุม (2)บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุม (2)
บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุม (2)View Nudchanad
 
บทที่ 3 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
บทที่ 3 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกบทที่ 3 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
บทที่ 3 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกNekk ♡
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3Supicha Ploy
 
บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุม
บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุมบทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุม
บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุมView Nudchanad
 
โครงสร้างควบคุมการทำงานแบบควบคุมการทำงาน
โครงสร้างควบคุมการทำงานแบบควบคุมการทำงานโครงสร้างควบคุมการทำงานแบบควบคุมการทำงาน
โครงสร้างควบคุมการทำงานแบบควบคุมการทำงานSaim Technology College
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Janë Janejira
 
Java Programming [3/12]: Control Structures
Java Programming [3/12]:  Control StructuresJava Programming [3/12]:  Control Structures
Java Programming [3/12]: Control StructuresIMC Institute
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกSupicha Ploy
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 

Similar to บทที่3 การควบคุมโปรแกรม (20)

เอสสสสสส (1)
เอสสสสสส (1)เอสสสสสส (1)
เอสสสสสส (1)
 
Java-Chapter 04 Iteration Statements
Java-Chapter 04 Iteration StatementsJava-Chapter 04 Iteration Statements
Java-Chapter 04 Iteration Statements
 
บทที่ 3 คำสั่งควบคุมโปรแกรม
บทที่ 3 คำสั่งควบคุมโปรแกรมบทที่ 3 คำสั่งควบคุมโปรแกรม
บทที่ 3 คำสั่งควบคุมโปรแกรม
 
เงื่อนไข การตัดสินใจ
เงื่อนไข การตัดสินใจเงื่อนไข การตัดสินใจ
เงื่อนไข การตัดสินใจ
 
กลุ่มที่4 ม.6/3 คำสั่ง For,While,Do while
กลุ่มที่4 ม.6/3 คำสั่ง For,While,Do while กลุ่มที่4 ม.6/3 คำสั่ง For,While,Do while
กลุ่มที่4 ม.6/3 คำสั่ง For,While,Do while
 
4 การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ
4 การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ 4 การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ
4 การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
หน่วยการเรียนที่ 4 การใช้คำสั่งควบคุมและการตัดสินใจ vb2013 express
หน่วยการเรียนที่ 4 การใช้คำสั่งควบคุมและการตัดสินใจ vb2013 expressหน่วยการเรียนที่ 4 การใช้คำสั่งควบคุมและการตัดสินใจ vb2013 express
หน่วยการเรียนที่ 4 การใช้คำสั่งควบคุมและการตัดสินใจ vb2013 express
 
บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุม (2)
บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุม (2)บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุม (2)
บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุม (2)
 
บทที่ 3 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
บทที่ 3 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกบทที่ 3 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
บทที่ 3 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3
 
บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุม
บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุมบทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุม
บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุม
 
โครงสร้างควบคุมการทำงานแบบควบคุมการทำงาน
โครงสร้างควบคุมการทำงานแบบควบคุมการทำงานโครงสร้างควบคุมการทำงานแบบควบคุมการทำงาน
โครงสร้างควบคุมการทำงานแบบควบคุมการทำงาน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Java Programming [3/12]: Control Structures
Java Programming [3/12]:  Control StructuresJava Programming [3/12]:  Control Structures
Java Programming [3/12]: Control Structures
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
chapter 3 คำสั่งควบคุม
chapter 3 คำสั่งควบคุมchapter 3 คำสั่งควบคุม
chapter 3 คำสั่งควบคุม
 
Lesson4
Lesson4Lesson4
Lesson4
 

บทที่3 การควบคุมโปรแกรม