SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2559
MAY 21, 2016
BY NT25, กฏหมายคอมพิวเตอร์, ข้อแตกต่างระหว่าง พรบ คอมพิวเตอร์ปี 2559 กับ ปี 2550, พ.ร.บ
คอมพิวเตอร์ปี 2550, พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2558, พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2559, พรบ คอมพิวเตอร์
พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2559คือร่างแก้ใขของ พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2550ที่ถูกปรับปรุงให้ทันสมัย
เหมาะสมกับเวลาและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป
ดังนั้นโครงสร้างของกฎหมายสองฉบับจึงเหมือนกันเป็นส่วนใหญ่
และแน่นอนกฏหมายทั้งสองฉบับก็ต้องมีส่วนที่แตกต่างกันอยู่หลายประเด็น และหลายๆ
ประเด็นก็ถูกตั้งคาถามมากมายว่าเป็นธรรมหรือไม่ เหมาะสมหรือไม่?
พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2559ถูกเริ่มร่างเมื่อปี 2558 และยังคงแก้ใขต่อเนื่องมาถึงปี 2559
ดังนั้น พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2558 ก็คือฉบับเดียวกันกับพ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2559นั่นเอง
ข้อแตกต่างระหว่าง พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2559กับ พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2559
(ขอบคุณภาพจาก ilaw)
เนื้อหาสาคัญของพ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2559 ตามที่Posttoday นาเสนอมีดังนี้
การประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) วันที่ 28 เม.ย. จะมีการพิจารณา ร่าง
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ …) พ.ศ… วาระที่ 1ขั้นรับหลักการ
ซึ่งเป็นร่าง
พ.ร.บ.ที่ปรับปรุงเนื้อหาบางส่วนที่อยู่เดิมในพ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.
2550
ทั้งนี้ ในร่าง พ.ร.บ.ฉบับนี้ระบุถึงเหตุผลที่ต้องมีการแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฉบับปัจจุบันว่า
“พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
มีบทบัญญัติบางประการที่ไม่เหมาะสมต่อการป้ องกันและปราบปรามการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเต
อร์ในปัจจุบัน…….ซึ่งมีรูปแบบการกระทาความผิดที่มีความซับซ้อนมากขึ้นตามพันนาการทางเทคโนโลยี
ซึ่งเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว”
สาหรับเนื้อหาของร่าง พ.ร.บ.ดังกล่าวมีสาระสาคัญดังนี้
มาตรา 4
“ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่น
โดยไม่เปิดโอกาสให้ผู้รับข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์สามารถบอกเลิกหรือแจ้งความประ
สงค์เพื่อปฏิเสธการตอบรับได้
อันเป็นการก่อให้เกิดความเดือดร้อนราคาญแก่ผู้รับ ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 200,000 บาท”
มาตรา 5
กาหนดว่า ถ้าผู้ใดกระทาผิดใน 5ประการ ได้แก่
1.การเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกัน
2.นามาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทาขึ้นเป็นการเฉพาะไปเปิดเผยโดยมิชอบ
3.ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้
มีไว้สาหรับตน
4.ดักรับไว้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์
และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะ และ
5.ส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่น
โดยปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว
ทั้งหมดต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ 1-7ปี และปรับตั้งแต่ 20,000 บาทถึง 140,000 บาท ที่สาคัญ
ถ้าการกระทาความผิดดังกล่าวเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่เกี่
ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ
ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ
หรือโครงสร้างพื้นฐานอันเป็นประโยชน์สาธารณะ ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ 1-10 ปี และปรับตั้งแต่
20,000 บาทถึง 200,000 บาท
ส่วนเรื่องการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสร้างความเสียหายให้กับบุคคล
ร่างกฎหมายฉบับนี้ก็ได้มีกระบวนการจัดการกับผู้กระทาความผิดเข้มข้นมากขึ้นด้วย
โดนบัญญัติในมาตรา 10
ว่า “ผู้นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็นภาพของ
ผู้อื่นและภาพนั้นเป็นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติม
หรือดัดแปลงด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด โดยประการที่น่าจะทาให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง
ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 3 ปี และปรับไม่เกิน 200,000
บาท”
มาตรา 10
ดังกล่าวเป็นการแก้ไขเพื่อเพิ่มบทลงโทษให้มากขึ้นโดยให้ผู้กระทาผิดต้องรับทั้งโทษจาคุกและโทษปรับ
จากเดิมที่ พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
กาหนดการกระทาความผิดในลักษณะที่ว่านั้นด้วยการต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน
60,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
ขณะเดียวกัน ในร่างกฎหมายที่ ครม.เสนอให้ สนช.พิจารณา
ยังได้บัญญัติมาตรการทางศาลเพื่อช่วยเหลือผู้เสียหายด้วย โดยมาตรา 11ระบุว่า
“ในคดีซึ่งมีคาพิพากษาว่าจาเลยมีความผิด ศาลอาจสั่ง
(1) ให้ยึดและทาลายข้อมูล
(2) ให้โฆษณาคาพิพากษาทั้งหมดหรือแต่บางส่วนในสื่อที่ใช้ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ วิทยุกระจายเสียง
วิทยุโทรทัศน์ หรือหนังสือพิมพ์ ตามที่ศาลเห็นสมควร โดยให้จาเลยเป็นผู้ชาระค่าโฆษณา”
เช่นเดียวกับ มาตรา 20
ที่ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ที่ได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแต่
งตั้ง
ยื่นคาร้องพร้อมแสดงหลักฐานต่อศาลขอให้มีคาสั่งระงับการเผยแพร่หรือลบข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นออกจาก
ระบบคอมพิวเตอร์ได้ ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ในที่นี้มีด้วยกัน 4 ประเภท ดังนี้
(1) ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นความผิดตาม พ.ร.บ.นี้
(2) ข้อมูลที่อาจกระทบกระเทือนต่อความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรที่กาหนดไว้ในภาคสองลักษณะ 1
หรือลักษณะ 1/1ตามประมวลกฎหมายอาญา
(3) ข้อที่เป็นความผิดอาญาต่อกฎหมายอื่นซึ่งเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายนั้นได้ร้องขอ
และข้อมูลนั้นมีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
(4) ข้อมูลที่ไม่เป็นความผิดต่อกฎหมายอื่นแต่มีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรืออันดีของประชาชน
ซึ่งคณะกรรมการกลั่นกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่รัฐมนตรีมีมติเป็นเอกฉันท์
ชาแหละ พ.ร.บ.คอมพ์ฉบับใหม่เปิดช่อง “รมว.ไอซีที” คุมเบ็ดเสร็จทั้งอินเทอร์เน็ต-โซเชียลมีเดีย
นักกฎหมายระบุอานาจล้นฟ้า ตั้ง 2 คณะกรรมการกากับ สั่งปรับ “คดีแฮก” ไม่ต้องขึ้นศาล
ผู้ถูกกล่าวหาไม่มีสิทธิอุทธรณ์ สั่ง “บล็อกเนื้อหา” ได้ทุกประเภทเพื่อความสงบเรียบร้อย จ่อเข้า “สนช.”
ศุกร์หน้า
นายไพบูลย์ อมรภิญโญเกียรติ ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายคอมพิวเตอร์ และมีส่วนร่วมในการยกร่าง
พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 เปิดเผย “ประชาชาติธุรกิจ” ว่า ร่าง พ.ร.บ.
ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ฉบับใหม่ ซึ่งเพิ่งผ่านความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (19
เม.ย. 2559)
มีความน่ากังวลหลายประเด็นแม้ว่าในภาพรวมจะมีการแก้ไขในประเด็นที่ร่างฉบับก่อนหน้านี้โดนวิพากษ์วิ
จารณ์อย่างหนัก และที่น่าจับตาคือ มีการดึงอานาจกลับไปให้รัฐมนตรีไอซีที
หรือกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมที่กาลังจะตั้งขึ้นเยอะมาก จนเรียกว่า
เกือบควบคุมระบบอินเทอร์เน็ตได้อย่างสมบูรณ์ ซึ่งบางประเด็นยอมรับได้
แต่ในหลายประเด็นถือว่าน่ากลัวมาก
ตั้ง 2คณะกรรมการอานาจล้น
นายไพบูลย์กล่าวว่า ที่น่ากังวลมากที่สุดคือ มาตรา 17/1 ให้อานาจรัฐมนตรีไอซีทีตั้ง
“คณะกรรมการเปรียบเทียบปรับ” ซึ่งกลายเป็นคณะกรรมการที่มีอานาจมากกว่าศาล
เนื่องจากระบุว่าหากเป็นการกระทาความผิดที่มีโทษปรับหรือจาคุกไม่เกิน 2ปี
คณะกรรมการชุดนี้มีอานาจสั่งปรับได้โดยไม่ต้องนาคดีไปศาล และคดีก็จะถือว่าสิ้นสุด
สาหรับความผิดภายใต้กรอบนี้มี 3มาตรา คือ มาตรา 5และมาตรา 7คือการแฮกเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์
โทษจาคุก 2 ปี กับความผิดเกี่ยวกับการเปิดเผยรหัสลับ ตามมาตรา 6 ตามกฎหมายคือโทษจาคุก 1ปี
ถือเป็นอาชญากรรมทางเศรษฐกิจที่ร้ายแรง จากเดิมที่ต้องเข้าสู่กระบวนการศาล
แต่กฎหมายใหม่ให้ส่งไปคณะกรรมการชุดนี้ปรับแล้วคดีจบทันที
ซึ่งที่ผ่านมาประเทศไทยมีการกระทาผิดหลายกรณีที่มีมูลค่าความเสียหายสูง อาทิ กรณีแฮกระบบ
เติมเงินของโทรศัพท์มือถือ แล้วขโมยเงินไปได้หลายล้านบาท เท่ากับยกคดีที่มีมูลค่า
เสียหายทางเศรษฐกิจไปให้คนกลุ่มหนึ่งชี้ขาดแทนศาล โดยไม่มีกระบวนการกลั่นกรอง
กระบวนการอุทธรณ์ และฎีกา ซึ่งไม่มีประเทศไหนทากัน
“ถ้ามองในแง่ร้ายจะกลายเป็นว่าเอาอานาจตุลาการ อานาจศาลมาอยู่ในรัฐมนตรีกับคณะกรรมการชุดนี้
แต่ร่างกฎหมายใหม่ของไทยกาลังจะบอกว่าความผิดแบบนี้จบได้ที่คณะกรรมการชุดนี้ และ ที่น่ากังวลมาก
คือ ร่าง พ.ร.บ.ไม่ได้กาหนดคุณสมบัติของคณะกรรมการไว้ โดยให้ขึ้นอยู่กับรัฐมนตรีไอซีทีกาหนด
ทั้งให้ถือเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาด้วย และที่น่ากลัวไปกว่านั้น
คือ การแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พ.ร.บ.คอมพ์ตั้งแต่ปี 2550 ที่ผ่านมามีปัญหาตลอด
ถือว่าเป็นความล้มเหลวได้ ทั้งการตั้งโดยตาแหน่ง ไม่ได้มาจากความรู้ ความสามารถ
ถ้ามองในแง่ดีคืออาจไม่อยาก ให้คดีรกศาล หรือปิดคดีได้เร็วขึ้น แต่พอรวมให้คดีที่มีโทษจาคุกไม่เกิน 2
ปีมาอยู่ในอานาจของคณะกรรมการชุดดังกล่าวด้วย จึงมีคดีการแฮกข้อมูลด้วย
ซึ่งถือเป็นเรื่องใหญ่ระดับประเทศ และเป็นวัตถุประสงค์หลักของการมี พ.ร.บ.นี้
จึงเป็นเรื่องน่ากลัว” นายไพบูลย์กล่าว
ขณะที่มาตรา 20เรื่องการบล็อกเว็บไซต์
เดิมจะบล็อกได้เฉพาะความมั่นคงและความผิดเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ แต่ร่าง พ.ร.บ.นี้ มาตรา 20
(3) บล็อกเนื้อหาที่ผิดทางอาญาตามกฎหมายอื่น และมาตรา 20 (4) บล็อกเนื้อหาที่ไม่ผิดกฎหมายอื่น แต่ขัด
ความสงบเรียบร้อย สามารถร้องพนักงานเจ้าหน้าที่
แล้วส่งให้รัฐมนตรีเซ็นเพื่อขอให้ศาลสั่งบล็อกเว็บไซต์ได้เลย
ทาให้ทุกความผิดอาญาในการบล็อกเนื้อหาจะใช้ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์แทน โดยตั้ง
“คณะกรรมการกลั่นกรองข้อมูล” เพิ่มขึ้นมาโดยรัฐมนตรีไอซีทีเป็นผู้ตั้ง
มีอานาจในการวินิจฉัยบล็อกเว็บไซต์ได้
“เท่ากับว่าแม้ไม่ผิดกฎหมาย แต่รัฐบาลไม่โอเค คณะกรรมการชุดนี้สั่งบล็อกได้
เท่ากับปิดได้หมดทุกโซเชียลมีเดีย
เข้าใจว่าตอนนี้รัฐบาลมีปัญหาเรื่องการปราบปรามการแพร่ข้อมูลผ่านสื่อใหม่เยอะ มาตรา 20 (4)
ตอบโจทย์เรื่องนี้ได้ แต่จะมีคาถามเดิม คือ คณะกรรมการเป็นใครมาจากไหน
เพราะคนกลุ่มนี้มีอานาจปิดบล็อกทุกอย่างในประเทศนี้ ”
และการพิจารณาในรูปแบบของคณะกรรมการ กระบวนการอุทธรณ์จึงไม่มี ช่องทางทาได้เลย
ไม่สามารถโต้แย้งได้ ซึ่งไม่ยุติธรรมกับทั้งผู้เสียหายและผู้กระทาความผิด
ทั้งนี้การที่ร่าง พ.ร.บ.ไม่ได้กาหนดคุณสมบัติ และความรับผิดใด ๆ ของคณะกรรมการชุดนี้
แม้ต่อไปจะบอกว่าจะมีการออกกฎกระทรวงมารองรับ
แต่ก็เป็นอานาจเด็ดขาดของรัฐมนตรีที่จะออกประกาศอะไรก็ได้
อุดช่องโหว่ปัญหา “สแปม”
นายไพบูลย์กล่าวว่า ส่วนที่แก้ไขได้ดีขึ้น คือ การปิดข้อกังวลเกี่ยวกับปัญหาสแปม
หรือการส่งข้อความไม่พึงประสงค์ ซึ่งร่างเดิมระบุว่า หากมีการส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรืออีเมล์
โดยไม่ได้เปิดให้ผู้รับแสดงเจตนาปฏิเสธได้ จะถือว่าเป็นความผิด โทษปรับถึง 2 แสนบาท
ทาให้เกิดปัญหาในทางปฏิบัติ เพราะการส่งข้อความในสื่อโซเชียลมีเดีย
ไม่มีฟังก์ชั่นให้ผู้รับแจ้งได้ว่าจะรับหรือไม่รับข้อความ ทาให้ผู้ส่งมีความผิดได้ทันที
“ร่างฉบับใหม่มีการปรับแก้
โดยให้รัฐมนตรีไอซีทีออกประกาศแนวทางว่าการรับส่งข้อมูลแบบไหนที่ไม่เข้าข่าย ม.11 สามารถระบุได้ว่า
การส่งข้อความผ่านโซเชียล มีเดียแบบไหนที่ไม่ผิดกฎหมาย แต่ที่น่ากังวล คือ ผู้จัดทาร่างประกาศ
ทีมงานของรัฐมนตรีจะมีความเข้าใจถึงเรื่องพวกนี้มากแค่ไหน”
ส่วนปัญหามาตรา 14 การนาเข้าข้อมูลสู่ระบบคอมพิวเตอร์ ร่างฉบับใหม่เพิ่มคาว่า
“โดยทุจริตกับโดยหลอกลวง” ทาให้ปัญหาของมาตรานี้
ที่เกรงว่าจะถูกนาไปใช้ในคดีหมิ่นประมาทถูกตัดไป ทาให้กลายเป็นความผิดกรณี “ฟิชชิ่ง”คือ
ต้องเป็นการเผยแพร่ข้อมูลอันเป็นเท็จแก่ประชาชนโดยการหลอกลวง ให้เกิดประโยชน์กับตนเอง
ซึ่งจะตรงกับวัตถุประสงค์ของกฎหมายมากกว่า
ขณะเดียวกันยังนาความผิดในการเผยแพร่เกี่ยวกับสิ่งลามกอนาจารกลับเข้ามาใหม่
โดยรวมถือว่าพอยอมรับได้
ขณะที่มาตรา 15ว่าด้วยความผิดของผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ISP)หรือเจ้าของเว็บไซต์ เฟซบุ๊ก
ที่เปิดให้มีการแสดงความเห็น จะต้องเป็นผู้รับผิดจากการยินยอมให้เผยแพร่ข้อมูลหรือไม่
ร่างฉบับใหม่ได้แก้ให้อานาจรัฐมนตรีไอซีที ออกประกาศว่าต้องมีกรอบ ขั้นตอนอย่างไรบ้าง
ที่จะทาให้ไม่ผิดตามมาตรานี้ แต่ประกาศจะออกมาอย่างไร ยังเป็นคาถาม
ซึ่งขึ้นอยู่กับคณะทางานว่าเข้าใจประเด็นต่าง ๆ มากแค่ไหน
เพราะจะกลายเป็นว่ารัฐมนตรีมีอานาจเข้าไประบุได้ว่าการใช้โซเชียลมีเดียของทุกคน
เขียนอะไรได้หรือไม่ได้บ้าง คือ โดยเจตนารมณ์ดี
แต่ถ้ามีประกาศที่ห้ามไปหมดทุกอย่างก็จะกลายเป็นการละเมิดสิทธิ์ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตได้
แก้ไม่ตรงจุดฉุดธุรกิจ
ด้านนางภูมิจิต ศิระวงศ์ประเสริฐ ประธานชมรมผู้ประกอบการเว็บโฮสติ้ง กล่าวกับ “ประชาชาติธุรกิจ” ว่า
ชมรมเห็นประโยชน์ของการมี พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ เพราะอาชญากรรมในโลกออนไลน์ส่งผล
กระทบกับการทางานของผู้ประกอบการในธุรกิจนี้ หากมีกฎหมายออกมาช่วยได้ก็เป็นสิ่งที่ดี
แต่ควรโฟกัสเฉพาะเรื่องเกี่ยวกับ การสร้างความเสียหายกับระบบต่าง ๆ ไม่ควรรวมถึงเรื่องคอนเทนต์
ไม่ว่าจะเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ , การพนัน หรือยาเสพติด เป็นต้น เนื่องจากเป็นการผลักภาระมาที่
ผู้ประกอบการ ซึ่งจะเป็นการทาลายธุรกิจ และผลักดันให้หนีไปตั้งเซิร์ฟเวอร์ต่างประเทศ
เพราะหากเปิดในประเทศยุ่งยาก
“เราอยากให้มีกฎหมายเกี่ยวกับคอนเทนต์ แยกต่างหากออกมา ไม่ควรไปรวมอยู่ใน พ.ร.บ.คอมพ์
ถ้ากฎหมายไม่เอื้อต่อธุรกิจ ก็ต้องหนีไปที่อื่น ไม่ใช่ปิดธุรกิจแต่ย้ายฐาน ไปที่อื่น
นี่คือสาเหตุที่ต่างชาติไม่เข้ามา ลงทุนในบ้านเราด้วย ซึ่งสวนทางกับนโยบายดิจิทัลอีโคโนมี
ดังนั้นการแก้ไขกฎหมายควรมองอย่างรอบด้าน และมีความเข้าใจเทคโนโลยี
เพราะถ้าไม่ถูกจุดนอกจากจะจับผู้ร้ายไม่ได้แล้วยังทาให้ธุรกิจไปต่อไม่ได้ด้วย” พลเมืองเน็ตชี้ขัดหลัก กม.
นายอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล ผู้ประสานงานเครือข่ายพลเมืองเน็ต กล่าวว่า ร่าง พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ฉบับใหม่
น่าจะเป็นความพยายาม ของฝ่ายบังคับใช้กฎหมายที่มองว่ามีคดีไปที่ศาลเยอะซึ่งเสียเวลานาน
จึงต้องการพยายามที่จะนาคดีที่มีโทษปรับ หรือโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี
มาอยู่ภายใต้การพิจารณาของคณะกรรมการเพื่อลดภาระของศาล อย่างไรก็ตาม ในการจัดตั้งคณะกรรมการ
ตามอานาจ รมว. ไอซีที ที่น่ากังวลคือกฎหมายไม่มีการกาหนดคุณสมบัติขั้นต่าของคณะกรรมการเลย
นอกจากนี้ในส่วนแก้ไขมาตรา 20ส่วนที่เป็นปัญหามากที่สุด ได้แก่มาตรา 20 (4)
ที่มีการเพิ่มความผิดเกี่ยวกับข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ “ไม่เป็นความผิดต่อกฎหมายอื่น”
อันมีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
โดยคณะกรรมการกลั่นกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์
สามารถยื่นคาร้องขอให้ศาลมีคาสั่งระงับทาการแพร่หลายคือลบข้อมูลได้นั้น
ประเด็นนี้ในทางปฏิบัติน่าจะมีปัญหา เนื่องจากร่างกฎหมายดังกล่าวขัดกับหลักการกระทา
ความผิดโดยไม่มีกฎหมายรองรับ ซึ่งนาไปสู่ การระมัดระวังในการแสดงความคิดเห็นมากขึ้น
และยังอาจทาให้ผู้ให้บริการ ISPเลือกที่จะถอดเนื้อหาที่ถูกฟ้องร้องออกจาก
เว็บไซต์ของตนโดยไม่รอคาสั่งศาลเพื่อความปลอดภัย
รมว.ไอซีทีเตรียมชี้แจง สนช.เอง
นายอุตตม สาวนายน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) กล่าวกับ
“ประชาชาติธุรกิจ” ว่า ในวันศุกร์ที่ 29 เม.ย.นี้ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) มีวาระจะพิจารณาร่าง พ.ร.บ.
3 ฉบับ ซึ่งผ่านการพิจารณาจากคณะรัฐมนตรีแล้ว ได้แก่พ.ร.บ.การพันนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
พ.ศ. …ที่มีการทบทวนใหม่โดยกระทรวงไอซีที และร่าง
พ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกากับกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์
และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) พ.ศ. …และร่าง พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์
(ฉบับที่…) พ.ศ. …
โดยขณะนี้ได้เตรียมตัวสาหรับการชี้แจงหลักการของการยกร่างกฎหมายแต่ละฉบับด้วยตนเอง หาก
สนช.เห็นชอบก็จะถือว่าร่างกฎหมายทั้ง 3 ฉบับผ่านการพิจารณาวาระแรก
จากนั้นจะตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาร่างกฎหมายแต่ละฉบับเป็นรายมาตรา เพื่อให้มีการปรับแก้
ก่อนส่งกลับให้ สนช.ลงมติในการพิจารณาวาระที่ 3และเตรียมประกาศบังคับใช้ต่อไป
“ตอนนี้ยังบอกไม่ได้ว่าจะใช้เวลาแค่ไหนก่อนที่กฎหมายจะประกาศใช้ ต้องหารือกับวิป สนช.ก่อน
แต่จะดาเนินการให้เร็วและรอบคอบที่สุด”
รัฐมนตรีไอซีทีกล่าวว่า ในส่วนของร่าง พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
จาเป็นต้องมีการปรับปรุงเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน เพราะฉบับเก่าประกาศใช้มาหลายปีแล้ว
โดยมุ่งให้ส่งเสริม และสอดคล้องกับนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัลของรัฐบาล
จึงต้องประสานเชื่อมต่อกับกฎหมายฉบับอื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหาในภาพรวม อาทิ ปัญหาด้านลิขสิทธิ์
ทรัพย์สินทางปัญญา การพนันออนไลน์
“การแก้ไขครั้งนี้ได้ทาให้มีความชัดเจนขึ้นในหลายมาตรา อาทิ ที่เกี่ยวกับการทุจริตฉ้อโกง
เพราะกาลังจะส่งเสริมให้มีการค้าออนไลน์มากขึ้น แต่ที่ผ่านมามีหลายกรณีที่เข้าศาลแล้วก็หลุดเยอะ
ต้องสร้างความมั่นใจให้ผู้ซื้อผู้ขาย รวมถึงส่วนของอานาจพนักงานเจ้าหน้าที่ที่ต้องให้ชัดเจน
เพราะเป็นประเด็นที่มีการถามเยอะว่า มีน้อยไป มากไปหรือไม่ ก็เข้าใจว่าต้องมีการวิพากษ์วิจารณ์
แต่ยืนยันว่าจะไม่ยอมให้มีส่วนไหนของกฎหมายขัดกับนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัลเด็ดขาด”
กรณีที่มีข้อกังวลเรื่องอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการที่รัฐมนตรีไอซีทีจะตั้งขึ้น 2ชุด
ยืนยันว่าจะมีการออกกฎหมายลูกมารองรับให้มีความชัดเจนขึ้น
ซึ่งไม่ใช้แค่ดุลพินิจของรัฐมนตรีไอซีทีเท่านั้น ต้องให้ ครม.เห็นชอบด้วย
เพราะต้องออกแบบเผื่อไว้สาหรับรัฐมนตรีในรัฐบาลชุดต่อ ๆไป จึงต้องมีหลักการที่ชัดเจน
“ยืนยันว่ากระบวนการทางศาลทุกอย่างยังเหมือนเดิม การดาเนินคดี การบล็อกเว็บไซต์หรือข้อมูลต่าง ๆ
ต้องไปจบที่ศาล เพียงแต่จะมีการทาบางกระบวนการให้กระชับขึ้นเท่านั้น”

More Related Content

What's hot

อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋
AY'z Felon
 
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
Sitdhibong Laokok
 

What's hot (9)

บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
 
com 60
com 60com 60
com 60
 
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
 
Lesson7
Lesson7Lesson7
Lesson7
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋
 
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
 
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่8กฎหมายคอมพิวเตอร์[1]
บทที่8กฎหมายคอมพิวเตอร์[1]บทที่8กฎหมายคอมพิวเตอร์[1]
บทที่8กฎหมายคอมพิวเตอร์[1]
 

Similar to พ

อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
Nukaem Ayoyo
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
Kamonchapat Boonkua
 

Similar to พ (20)

พพ
 
พ.ร.บคอมพิวเตอร์ 2559
พ.ร.บคอมพิวเตอร์ 2559พ.ร.บคอมพิวเตอร์ 2559
พ.ร.บคอมพิวเตอร์ 2559
 
โบว์Pdf
โบว์Pdfโบว์Pdf
โบว์Pdf
 
พรบคอม(1)
พรบคอม(1)พรบคอม(1)
พรบคอม(1)
 
File ce8c32197b28a5d438136a3bd8252b7c
File ce8c32197b28a5d438136a3bd8252b7cFile ce8c32197b28a5d438136a3bd8252b7c
File ce8c32197b28a5d438136a3bd8252b7c
 
File ce8c32197b28a5d438136a3bd8252b7c
File ce8c32197b28a5d438136a3bd8252b7cFile ce8c32197b28a5d438136a3bd8252b7c
File ce8c32197b28a5d438136a3bd8252b7c
 
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560
 
ใบงานคอม
ใบงานคอมใบงานคอม
ใบงานคอม
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
Eik
EikEik
Eik
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
 
พ.ร.บ.คอมฯ
พ.ร.บ.คอมฯพ.ร.บ.คอมฯ
พ.ร.บ.คอมฯ
 
พ.ร.บ.คอมฯ
พ.ร.บ.คอมฯพ.ร.บ.คอมฯ
พ.ร.บ.คอมฯ
 
พ.ร.บ.คอมฯ
พ.ร.บ.คอมฯพ.ร.บ.คอมฯ
พ.ร.บ.คอมฯ
 
พ.ร.บ.คอมฯ
พ.ร.บ.คอมฯพ.ร.บ.คอมฯ
พ.ร.บ.คอมฯ
 
พ.ร.บ.คอมฯ
พ.ร.บ.คอมฯพ.ร.บ.คอมฯ
พ.ร.บ.คอมฯ
 
พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ใหม่
พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ใหม่พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ใหม่
พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ใหม่
 
พ.ร.บ.คอมฯ
พ.ร.บ.คอมฯพ.ร.บ.คอมฯ
พ.ร.บ.คอมฯ
 
พ.ร.บ.คอม ปี 2561
พ.ร.บ.คอม ปี 2561พ.ร.บ.คอม ปี 2561
พ.ร.บ.คอม ปี 2561
 

More from ศรัณย์พร ชำนาญการ (6)

ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2559 project หมูแฮม
2559 project หมูแฮม2559 project หมูแฮม
2559 project หมูแฮม
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 

  • 1. พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2559 MAY 21, 2016 BY NT25, กฏหมายคอมพิวเตอร์, ข้อแตกต่างระหว่าง พรบ คอมพิวเตอร์ปี 2559 กับ ปี 2550, พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2550, พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2558, พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2559, พรบ คอมพิวเตอร์ พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2559คือร่างแก้ใขของ พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2550ที่ถูกปรับปรุงให้ทันสมัย เหมาะสมกับเวลาและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป ดังนั้นโครงสร้างของกฎหมายสองฉบับจึงเหมือนกันเป็นส่วนใหญ่ และแน่นอนกฏหมายทั้งสองฉบับก็ต้องมีส่วนที่แตกต่างกันอยู่หลายประเด็น และหลายๆ ประเด็นก็ถูกตั้งคาถามมากมายว่าเป็นธรรมหรือไม่ เหมาะสมหรือไม่? พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2559ถูกเริ่มร่างเมื่อปี 2558 และยังคงแก้ใขต่อเนื่องมาถึงปี 2559 ดังนั้น พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2558 ก็คือฉบับเดียวกันกับพ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2559นั่นเอง
  • 2. ข้อแตกต่างระหว่าง พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2559กับ พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2559 (ขอบคุณภาพจาก ilaw) เนื้อหาสาคัญของพ.ร.บ คอมพิวเตอร์ปี 2559 ตามที่Posttoday นาเสนอมีดังนี้ การประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) วันที่ 28 เม.ย. จะมีการพิจารณา ร่าง พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ …) พ.ศ… วาระที่ 1ขั้นรับหลักการ
  • 3. ซึ่งเป็นร่าง พ.ร.บ.ที่ปรับปรุงเนื้อหาบางส่วนที่อยู่เดิมในพ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ทั้งนี้ ในร่าง พ.ร.บ.ฉบับนี้ระบุถึงเหตุผลที่ต้องมีการแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฉบับปัจจุบันว่า “พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มีบทบัญญัติบางประการที่ไม่เหมาะสมต่อการป้ องกันและปราบปรามการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเต อร์ในปัจจุบัน…….ซึ่งมีรูปแบบการกระทาความผิดที่มีความซับซ้อนมากขึ้นตามพันนาการทางเทคโนโลยี ซึ่งเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว” สาหรับเนื้อหาของร่าง พ.ร.บ.ดังกล่าวมีสาระสาคัญดังนี้ มาตรา 4 “ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่น โดยไม่เปิดโอกาสให้ผู้รับข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์สามารถบอกเลิกหรือแจ้งความประ สงค์เพื่อปฏิเสธการตอบรับได้ อันเป็นการก่อให้เกิดความเดือดร้อนราคาญแก่ผู้รับ ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 200,000 บาท” มาตรา 5 กาหนดว่า ถ้าผู้ใดกระทาผิดใน 5ประการ ได้แก่ 1.การเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกัน 2.นามาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทาขึ้นเป็นการเฉพาะไปเปิดเผยโดยมิชอบ 3.ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้ มีไว้สาหรับตน 4.ดักรับไว้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะ และ 5.ส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่น โดยปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว ทั้งหมดต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ 1-7ปี และปรับตั้งแต่ 20,000 บาทถึง 140,000 บาท ที่สาคัญ ถ้าการกระทาความผิดดังกล่าวเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่เกี่ ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ
  • 4. หรือโครงสร้างพื้นฐานอันเป็นประโยชน์สาธารณะ ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ 1-10 ปี และปรับตั้งแต่ 20,000 บาทถึง 200,000 บาท ส่วนเรื่องการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสร้างความเสียหายให้กับบุคคล ร่างกฎหมายฉบับนี้ก็ได้มีกระบวนการจัดการกับผู้กระทาความผิดเข้มข้นมากขึ้นด้วย โดนบัญญัติในมาตรา 10 ว่า “ผู้นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็นภาพของ ผู้อื่นและภาพนั้นเป็นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติม หรือดัดแปลงด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด โดยประการที่น่าจะทาให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 3 ปี และปรับไม่เกิน 200,000 บาท” มาตรา 10 ดังกล่าวเป็นการแก้ไขเพื่อเพิ่มบทลงโทษให้มากขึ้นโดยให้ผู้กระทาผิดต้องรับทั้งโทษจาคุกและโทษปรับ จากเดิมที่ พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 กาหนดการกระทาความผิดในลักษณะที่ว่านั้นด้วยการต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ขณะเดียวกัน ในร่างกฎหมายที่ ครม.เสนอให้ สนช.พิจารณา ยังได้บัญญัติมาตรการทางศาลเพื่อช่วยเหลือผู้เสียหายด้วย โดยมาตรา 11ระบุว่า “ในคดีซึ่งมีคาพิพากษาว่าจาเลยมีความผิด ศาลอาจสั่ง (1) ให้ยึดและทาลายข้อมูล (2) ให้โฆษณาคาพิพากษาทั้งหมดหรือแต่บางส่วนในสื่อที่ใช้ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ หรือหนังสือพิมพ์ ตามที่ศาลเห็นสมควร โดยให้จาเลยเป็นผู้ชาระค่าโฆษณา” เช่นเดียวกับ มาตรา 20 ที่ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ที่ได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแต่ งตั้ง ยื่นคาร้องพร้อมแสดงหลักฐานต่อศาลขอให้มีคาสั่งระงับการเผยแพร่หรือลบข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นออกจาก ระบบคอมพิวเตอร์ได้ ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ในที่นี้มีด้วยกัน 4 ประเภท ดังนี้ (1) ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นความผิดตาม พ.ร.บ.นี้ (2) ข้อมูลที่อาจกระทบกระเทือนต่อความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรที่กาหนดไว้ในภาคสองลักษณะ 1 หรือลักษณะ 1/1ตามประมวลกฎหมายอาญา
  • 5. (3) ข้อที่เป็นความผิดอาญาต่อกฎหมายอื่นซึ่งเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายนั้นได้ร้องขอ และข้อมูลนั้นมีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน (4) ข้อมูลที่ไม่เป็นความผิดต่อกฎหมายอื่นแต่มีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรืออันดีของประชาชน ซึ่งคณะกรรมการกลั่นกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่รัฐมนตรีมีมติเป็นเอกฉันท์ ชาแหละ พ.ร.บ.คอมพ์ฉบับใหม่เปิดช่อง “รมว.ไอซีที” คุมเบ็ดเสร็จทั้งอินเทอร์เน็ต-โซเชียลมีเดีย นักกฎหมายระบุอานาจล้นฟ้า ตั้ง 2 คณะกรรมการกากับ สั่งปรับ “คดีแฮก” ไม่ต้องขึ้นศาล ผู้ถูกกล่าวหาไม่มีสิทธิอุทธรณ์ สั่ง “บล็อกเนื้อหา” ได้ทุกประเภทเพื่อความสงบเรียบร้อย จ่อเข้า “สนช.” ศุกร์หน้า นายไพบูลย์ อมรภิญโญเกียรติ ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายคอมพิวเตอร์ และมีส่วนร่วมในการยกร่าง พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 เปิดเผย “ประชาชาติธุรกิจ” ว่า ร่าง พ.ร.บ. ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ฉบับใหม่ ซึ่งเพิ่งผ่านความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (19 เม.ย. 2559) มีความน่ากังวลหลายประเด็นแม้ว่าในภาพรวมจะมีการแก้ไขในประเด็นที่ร่างฉบับก่อนหน้านี้โดนวิพากษ์วิ จารณ์อย่างหนัก และที่น่าจับตาคือ มีการดึงอานาจกลับไปให้รัฐมนตรีไอซีที หรือกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมที่กาลังจะตั้งขึ้นเยอะมาก จนเรียกว่า เกือบควบคุมระบบอินเทอร์เน็ตได้อย่างสมบูรณ์ ซึ่งบางประเด็นยอมรับได้ แต่ในหลายประเด็นถือว่าน่ากลัวมาก
  • 6. ตั้ง 2คณะกรรมการอานาจล้น นายไพบูลย์กล่าวว่า ที่น่ากังวลมากที่สุดคือ มาตรา 17/1 ให้อานาจรัฐมนตรีไอซีทีตั้ง “คณะกรรมการเปรียบเทียบปรับ” ซึ่งกลายเป็นคณะกรรมการที่มีอานาจมากกว่าศาล เนื่องจากระบุว่าหากเป็นการกระทาความผิดที่มีโทษปรับหรือจาคุกไม่เกิน 2ปี คณะกรรมการชุดนี้มีอานาจสั่งปรับได้โดยไม่ต้องนาคดีไปศาล และคดีก็จะถือว่าสิ้นสุด สาหรับความผิดภายใต้กรอบนี้มี 3มาตรา คือ มาตรา 5และมาตรา 7คือการแฮกเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ โทษจาคุก 2 ปี กับความผิดเกี่ยวกับการเปิดเผยรหัสลับ ตามมาตรา 6 ตามกฎหมายคือโทษจาคุก 1ปี ถือเป็นอาชญากรรมทางเศรษฐกิจที่ร้ายแรง จากเดิมที่ต้องเข้าสู่กระบวนการศาล แต่กฎหมายใหม่ให้ส่งไปคณะกรรมการชุดนี้ปรับแล้วคดีจบทันที ซึ่งที่ผ่านมาประเทศไทยมีการกระทาผิดหลายกรณีที่มีมูลค่าความเสียหายสูง อาทิ กรณีแฮกระบบ เติมเงินของโทรศัพท์มือถือ แล้วขโมยเงินไปได้หลายล้านบาท เท่ากับยกคดีที่มีมูลค่า เสียหายทางเศรษฐกิจไปให้คนกลุ่มหนึ่งชี้ขาดแทนศาล โดยไม่มีกระบวนการกลั่นกรอง กระบวนการอุทธรณ์ และฎีกา ซึ่งไม่มีประเทศไหนทากัน “ถ้ามองในแง่ร้ายจะกลายเป็นว่าเอาอานาจตุลาการ อานาจศาลมาอยู่ในรัฐมนตรีกับคณะกรรมการชุดนี้ แต่ร่างกฎหมายใหม่ของไทยกาลังจะบอกว่าความผิดแบบนี้จบได้ที่คณะกรรมการชุดนี้ และ ที่น่ากังวลมาก คือ ร่าง พ.ร.บ.ไม่ได้กาหนดคุณสมบัติของคณะกรรมการไว้ โดยให้ขึ้นอยู่กับรัฐมนตรีไอซีทีกาหนด ทั้งให้ถือเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาด้วย และที่น่ากลัวไปกว่านั้น คือ การแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พ.ร.บ.คอมพ์ตั้งแต่ปี 2550 ที่ผ่านมามีปัญหาตลอด ถือว่าเป็นความล้มเหลวได้ ทั้งการตั้งโดยตาแหน่ง ไม่ได้มาจากความรู้ ความสามารถ ถ้ามองในแง่ดีคืออาจไม่อยาก ให้คดีรกศาล หรือปิดคดีได้เร็วขึ้น แต่พอรวมให้คดีที่มีโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปีมาอยู่ในอานาจของคณะกรรมการชุดดังกล่าวด้วย จึงมีคดีการแฮกข้อมูลด้วย ซึ่งถือเป็นเรื่องใหญ่ระดับประเทศ และเป็นวัตถุประสงค์หลักของการมี พ.ร.บ.นี้ จึงเป็นเรื่องน่ากลัว” นายไพบูลย์กล่าว ขณะที่มาตรา 20เรื่องการบล็อกเว็บไซต์ เดิมจะบล็อกได้เฉพาะความมั่นคงและความผิดเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ แต่ร่าง พ.ร.บ.นี้ มาตรา 20 (3) บล็อกเนื้อหาที่ผิดทางอาญาตามกฎหมายอื่น และมาตรา 20 (4) บล็อกเนื้อหาที่ไม่ผิดกฎหมายอื่น แต่ขัด ความสงบเรียบร้อย สามารถร้องพนักงานเจ้าหน้าที่ แล้วส่งให้รัฐมนตรีเซ็นเพื่อขอให้ศาลสั่งบล็อกเว็บไซต์ได้เลย ทาให้ทุกความผิดอาญาในการบล็อกเนื้อหาจะใช้ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์แทน โดยตั้ง “คณะกรรมการกลั่นกรองข้อมูล” เพิ่มขึ้นมาโดยรัฐมนตรีไอซีทีเป็นผู้ตั้ง มีอานาจในการวินิจฉัยบล็อกเว็บไซต์ได้
  • 7. “เท่ากับว่าแม้ไม่ผิดกฎหมาย แต่รัฐบาลไม่โอเค คณะกรรมการชุดนี้สั่งบล็อกได้ เท่ากับปิดได้หมดทุกโซเชียลมีเดีย เข้าใจว่าตอนนี้รัฐบาลมีปัญหาเรื่องการปราบปรามการแพร่ข้อมูลผ่านสื่อใหม่เยอะ มาตรา 20 (4) ตอบโจทย์เรื่องนี้ได้ แต่จะมีคาถามเดิม คือ คณะกรรมการเป็นใครมาจากไหน เพราะคนกลุ่มนี้มีอานาจปิดบล็อกทุกอย่างในประเทศนี้ ” และการพิจารณาในรูปแบบของคณะกรรมการ กระบวนการอุทธรณ์จึงไม่มี ช่องทางทาได้เลย ไม่สามารถโต้แย้งได้ ซึ่งไม่ยุติธรรมกับทั้งผู้เสียหายและผู้กระทาความผิด ทั้งนี้การที่ร่าง พ.ร.บ.ไม่ได้กาหนดคุณสมบัติ และความรับผิดใด ๆ ของคณะกรรมการชุดนี้ แม้ต่อไปจะบอกว่าจะมีการออกกฎกระทรวงมารองรับ แต่ก็เป็นอานาจเด็ดขาดของรัฐมนตรีที่จะออกประกาศอะไรก็ได้ อุดช่องโหว่ปัญหา “สแปม” นายไพบูลย์กล่าวว่า ส่วนที่แก้ไขได้ดีขึ้น คือ การปิดข้อกังวลเกี่ยวกับปัญหาสแปม หรือการส่งข้อความไม่พึงประสงค์ ซึ่งร่างเดิมระบุว่า หากมีการส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรืออีเมล์ โดยไม่ได้เปิดให้ผู้รับแสดงเจตนาปฏิเสธได้ จะถือว่าเป็นความผิด โทษปรับถึง 2 แสนบาท ทาให้เกิดปัญหาในทางปฏิบัติ เพราะการส่งข้อความในสื่อโซเชียลมีเดีย ไม่มีฟังก์ชั่นให้ผู้รับแจ้งได้ว่าจะรับหรือไม่รับข้อความ ทาให้ผู้ส่งมีความผิดได้ทันที “ร่างฉบับใหม่มีการปรับแก้ โดยให้รัฐมนตรีไอซีทีออกประกาศแนวทางว่าการรับส่งข้อมูลแบบไหนที่ไม่เข้าข่าย ม.11 สามารถระบุได้ว่า การส่งข้อความผ่านโซเชียล มีเดียแบบไหนที่ไม่ผิดกฎหมาย แต่ที่น่ากังวล คือ ผู้จัดทาร่างประกาศ ทีมงานของรัฐมนตรีจะมีความเข้าใจถึงเรื่องพวกนี้มากแค่ไหน” ส่วนปัญหามาตรา 14 การนาเข้าข้อมูลสู่ระบบคอมพิวเตอร์ ร่างฉบับใหม่เพิ่มคาว่า “โดยทุจริตกับโดยหลอกลวง” ทาให้ปัญหาของมาตรานี้ ที่เกรงว่าจะถูกนาไปใช้ในคดีหมิ่นประมาทถูกตัดไป ทาให้กลายเป็นความผิดกรณี “ฟิชชิ่ง”คือ ต้องเป็นการเผยแพร่ข้อมูลอันเป็นเท็จแก่ประชาชนโดยการหลอกลวง ให้เกิดประโยชน์กับตนเอง ซึ่งจะตรงกับวัตถุประสงค์ของกฎหมายมากกว่า ขณะเดียวกันยังนาความผิดในการเผยแพร่เกี่ยวกับสิ่งลามกอนาจารกลับเข้ามาใหม่ โดยรวมถือว่าพอยอมรับได้ ขณะที่มาตรา 15ว่าด้วยความผิดของผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ISP)หรือเจ้าของเว็บไซต์ เฟซบุ๊ก ที่เปิดให้มีการแสดงความเห็น จะต้องเป็นผู้รับผิดจากการยินยอมให้เผยแพร่ข้อมูลหรือไม่ ร่างฉบับใหม่ได้แก้ให้อานาจรัฐมนตรีไอซีที ออกประกาศว่าต้องมีกรอบ ขั้นตอนอย่างไรบ้าง
  • 8. ที่จะทาให้ไม่ผิดตามมาตรานี้ แต่ประกาศจะออกมาอย่างไร ยังเป็นคาถาม ซึ่งขึ้นอยู่กับคณะทางานว่าเข้าใจประเด็นต่าง ๆ มากแค่ไหน เพราะจะกลายเป็นว่ารัฐมนตรีมีอานาจเข้าไประบุได้ว่าการใช้โซเชียลมีเดียของทุกคน เขียนอะไรได้หรือไม่ได้บ้าง คือ โดยเจตนารมณ์ดี แต่ถ้ามีประกาศที่ห้ามไปหมดทุกอย่างก็จะกลายเป็นการละเมิดสิทธิ์ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตได้ แก้ไม่ตรงจุดฉุดธุรกิจ ด้านนางภูมิจิต ศิระวงศ์ประเสริฐ ประธานชมรมผู้ประกอบการเว็บโฮสติ้ง กล่าวกับ “ประชาชาติธุรกิจ” ว่า ชมรมเห็นประโยชน์ของการมี พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ เพราะอาชญากรรมในโลกออนไลน์ส่งผล กระทบกับการทางานของผู้ประกอบการในธุรกิจนี้ หากมีกฎหมายออกมาช่วยได้ก็เป็นสิ่งที่ดี แต่ควรโฟกัสเฉพาะเรื่องเกี่ยวกับ การสร้างความเสียหายกับระบบต่าง ๆ ไม่ควรรวมถึงเรื่องคอนเทนต์ ไม่ว่าจะเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ , การพนัน หรือยาเสพติด เป็นต้น เนื่องจากเป็นการผลักภาระมาที่ ผู้ประกอบการ ซึ่งจะเป็นการทาลายธุรกิจ และผลักดันให้หนีไปตั้งเซิร์ฟเวอร์ต่างประเทศ เพราะหากเปิดในประเทศยุ่งยาก “เราอยากให้มีกฎหมายเกี่ยวกับคอนเทนต์ แยกต่างหากออกมา ไม่ควรไปรวมอยู่ใน พ.ร.บ.คอมพ์ ถ้ากฎหมายไม่เอื้อต่อธุรกิจ ก็ต้องหนีไปที่อื่น ไม่ใช่ปิดธุรกิจแต่ย้ายฐาน ไปที่อื่น นี่คือสาเหตุที่ต่างชาติไม่เข้ามา ลงทุนในบ้านเราด้วย ซึ่งสวนทางกับนโยบายดิจิทัลอีโคโนมี ดังนั้นการแก้ไขกฎหมายควรมองอย่างรอบด้าน และมีความเข้าใจเทคโนโลยี เพราะถ้าไม่ถูกจุดนอกจากจะจับผู้ร้ายไม่ได้แล้วยังทาให้ธุรกิจไปต่อไม่ได้ด้วย” พลเมืองเน็ตชี้ขัดหลัก กม. นายอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล ผู้ประสานงานเครือข่ายพลเมืองเน็ต กล่าวว่า ร่าง พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ฉบับใหม่ น่าจะเป็นความพยายาม ของฝ่ายบังคับใช้กฎหมายที่มองว่ามีคดีไปที่ศาลเยอะซึ่งเสียเวลานาน จึงต้องการพยายามที่จะนาคดีที่มีโทษปรับ หรือโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี มาอยู่ภายใต้การพิจารณาของคณะกรรมการเพื่อลดภาระของศาล อย่างไรก็ตาม ในการจัดตั้งคณะกรรมการ ตามอานาจ รมว. ไอซีที ที่น่ากังวลคือกฎหมายไม่มีการกาหนดคุณสมบัติขั้นต่าของคณะกรรมการเลย นอกจากนี้ในส่วนแก้ไขมาตรา 20ส่วนที่เป็นปัญหามากที่สุด ได้แก่มาตรา 20 (4) ที่มีการเพิ่มความผิดเกี่ยวกับข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ “ไม่เป็นความผิดต่อกฎหมายอื่น” อันมีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน โดยคณะกรรมการกลั่นกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์ สามารถยื่นคาร้องขอให้ศาลมีคาสั่งระงับทาการแพร่หลายคือลบข้อมูลได้นั้น ประเด็นนี้ในทางปฏิบัติน่าจะมีปัญหา เนื่องจากร่างกฎหมายดังกล่าวขัดกับหลักการกระทา ความผิดโดยไม่มีกฎหมายรองรับ ซึ่งนาไปสู่ การระมัดระวังในการแสดงความคิดเห็นมากขึ้น
  • 9. และยังอาจทาให้ผู้ให้บริการ ISPเลือกที่จะถอดเนื้อหาที่ถูกฟ้องร้องออกจาก เว็บไซต์ของตนโดยไม่รอคาสั่งศาลเพื่อความปลอดภัย รมว.ไอซีทีเตรียมชี้แจง สนช.เอง นายอุตตม สาวนายน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) กล่าวกับ “ประชาชาติธุรกิจ” ว่า ในวันศุกร์ที่ 29 เม.ย.นี้ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) มีวาระจะพิจารณาร่าง พ.ร.บ. 3 ฉบับ ซึ่งผ่านการพิจารณาจากคณะรัฐมนตรีแล้ว ได้แก่พ.ร.บ.การพันนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. …ที่มีการทบทวนใหม่โดยกระทรวงไอซีที และร่าง พ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกากับกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) พ.ศ. …และร่าง พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ (ฉบับที่…) พ.ศ. … โดยขณะนี้ได้เตรียมตัวสาหรับการชี้แจงหลักการของการยกร่างกฎหมายแต่ละฉบับด้วยตนเอง หาก สนช.เห็นชอบก็จะถือว่าร่างกฎหมายทั้ง 3 ฉบับผ่านการพิจารณาวาระแรก จากนั้นจะตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาร่างกฎหมายแต่ละฉบับเป็นรายมาตรา เพื่อให้มีการปรับแก้ ก่อนส่งกลับให้ สนช.ลงมติในการพิจารณาวาระที่ 3และเตรียมประกาศบังคับใช้ต่อไป “ตอนนี้ยังบอกไม่ได้ว่าจะใช้เวลาแค่ไหนก่อนที่กฎหมายจะประกาศใช้ ต้องหารือกับวิป สนช.ก่อน แต่จะดาเนินการให้เร็วและรอบคอบที่สุด” รัฐมนตรีไอซีทีกล่าวว่า ในส่วนของร่าง พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ จาเป็นต้องมีการปรับปรุงเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน เพราะฉบับเก่าประกาศใช้มาหลายปีแล้ว โดยมุ่งให้ส่งเสริม และสอดคล้องกับนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัลของรัฐบาล จึงต้องประสานเชื่อมต่อกับกฎหมายฉบับอื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหาในภาพรวม อาทิ ปัญหาด้านลิขสิทธิ์ ทรัพย์สินทางปัญญา การพนันออนไลน์ “การแก้ไขครั้งนี้ได้ทาให้มีความชัดเจนขึ้นในหลายมาตรา อาทิ ที่เกี่ยวกับการทุจริตฉ้อโกง เพราะกาลังจะส่งเสริมให้มีการค้าออนไลน์มากขึ้น แต่ที่ผ่านมามีหลายกรณีที่เข้าศาลแล้วก็หลุดเยอะ ต้องสร้างความมั่นใจให้ผู้ซื้อผู้ขาย รวมถึงส่วนของอานาจพนักงานเจ้าหน้าที่ที่ต้องให้ชัดเจน เพราะเป็นประเด็นที่มีการถามเยอะว่า มีน้อยไป มากไปหรือไม่ ก็เข้าใจว่าต้องมีการวิพากษ์วิจารณ์ แต่ยืนยันว่าจะไม่ยอมให้มีส่วนไหนของกฎหมายขัดกับนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัลเด็ดขาด” กรณีที่มีข้อกังวลเรื่องอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการที่รัฐมนตรีไอซีทีจะตั้งขึ้น 2ชุด ยืนยันว่าจะมีการออกกฎหมายลูกมารองรับให้มีความชัดเจนขึ้น ซึ่งไม่ใช้แค่ดุลพินิจของรัฐมนตรีไอซีทีเท่านั้น ต้องให้ ครม.เห็นชอบด้วย เพราะต้องออกแบบเผื่อไว้สาหรับรัฐมนตรีในรัฐบาลชุดต่อ ๆไป จึงต้องมีหลักการที่ชัดเจน
  • 10. “ยืนยันว่ากระบวนการทางศาลทุกอย่างยังเหมือนเดิม การดาเนินคดี การบล็อกเว็บไซต์หรือข้อมูลต่าง ๆ ต้องไปจบที่ศาล เพียงแต่จะมีการทาบางกระบวนการให้กระชับขึ้นเท่านั้น”