SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
มลพิษขยะมูลฝอย
(Solid Waste Pollution)
จัดทําโดย
610401400102 นางสาวรัศมี เนื้ออ่อน
610401401223 นางสาวจารุภา แสงสี
610401403070 นางสาวอภิญญา พุทธมาตย์
ขยะมูลฝอย
คือ เศษสิ่งของที่ไม่ต้องการแล้ว สิ่งของที่ชํารุดเสียหายใช้การไม่ได้
หรือเสื่อมคุณภาพต้องนําไปกําจัดหรือทําลายทิ้ง หรือแจกจ่ายให้แก่ผู้อื่น
ได้แก่ เศษกระดาษ เศษผ้า ขวดแก้ว กระป๋ อง พลาสติก ซากสัตว์ฯลฯ
ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั่วประเทศมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
ปี โดยเฉพาะในกรุงเทพมหานคร
ในชุมชนเมืองหลัก เมืองท่องเที่ยวที่สําคัญ การจัดการขยะมูลฝอยยังมี
ปัญหาอยู่มาก เนื่องจากมีปัญหาขยะเหลือตกค้างจาการเก็บขนละการ
กําจัดไม่ถูกสุขาภิบาล
นอกจากจะทําให้บ้านเมืองสกปรกแล้ว ยังทําให้เกิดปัญหามลพิษ
สิ่งแวดล้อมตามมา
อย่างไรก็ตาม ท้องถิ่นต่าง ๆ ได้มีการตื่นตัวอย่างมาก ทั้งที่ดําเนินการ
แก้ไขปัญหาเอง
และได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดําเนินการจัดการ
ขยะ
สาเหตุของมลพิษทางขยะ
ขยะเป็นปัญหาสําคัญของหลาย ๆ ท้องถิ่นเกือบทั่วโลก ขยะ
ส่วนใหญ่มักจะถูกทิ้งลงในดิน ขยะบางชนิดสลายตัวให้สารประกอบ
อินทรีย์และสารประกอบอนินทรีย์แต่ขยะบางชนิดสลายตัวยากเช่น
หนัง พลาสติก โลหะ ฯลฯ ขยะประเภทนี้ถ้าทําลายโดยการเผาจะได้
สารประกอบ ประเภทเกลือเช่น เกลือไนเตรตสะสมอยู่ในดินเป็น
จํานวนมากขยะที่เกิดจากกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม
โดยเฉพาะขยะจากเทคโนโลยีอุตสาหกรรมกําลังเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
มีความเป็นพิษสูงและย่อยสลายยากเช่น ขยะจากโรงงาน
อุตสาหกรรมที่มี โลหะหนัก เช่น ตะกั่ว ปรอท แคดเมียม เมื่อทิ้งลง
ดินทําให้ดินบริเวณนั้นมีโลหะหนัก สะสมอยู่มาก ในประเทศไทย
พบว่ามีการเสื่อมคุณภาพของดินจากตะกั่วเนื่องจากโรงงานถลุง
ตะกั่วจากซากแบตเตอรี่เก่าที่จังหวัดสมุทรปราการ นําเอากากตะกั่ว
ที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์มาถมทําถนน ทําให้ดินบริเวณนั้นเกิดสภาพเป็น
พิษ เป็นอันตรายต่อพืชและผู้บริโภค
นอกจากนี้ประเทศไทยยังประสบปัญหาขยะอุตสาหกรรมที่นําเข้ามา
จากตางประเทศ ในรูปของสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้า อะไหล่อุตสาหกรรม เช่น ยาง
รถยนต์เก่า แบตเตอรี่เก่า ถุงมือยางใช้แล้ว ถูกนําเข้ามาทิ้งในประเทศไทยอีก
เป็นจํานวนมากมาย
แหล่งกาเนิดขยะมูลฝอย
1. ชุมชนพักอาศัย เช่น บ้านเรือน และอาคารชุด
2. ย่านการค้าและบริการ เช่น ตลาด ร้านค้า ธนาคาร ห้างสรรพสินค้า
3. สถานที่ราชการ ศาสนสถาน โรงเรียน
4. โรงพยาบาล
5. โรงงานอุตสาหกรรม
ผลกระทบจากปัญหาขยะมูลฝอย
การเพิ่มจํานวนประชากร ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและ
เศรษฐกิจ ทําให้เกิดปัญหาด้านปริมาณมูลฝอย และปัญหาในการจัดการมูล
ฝอย เพราะการจัดการที่ไม่เหมาะสมย่อมก่อให้เกิดปัญหาต่อมนุษย์และ
สิ่งแวดล้อม สรุปได้ดังนี้
ผลกระทบด้านสุขภาพอนามัย การจัดการมูลฝอยไม่
เหมาะสม เช่น การทิ้งกลางแจ้ง มีการปะปนของมูลฝอยอันตราย เป็นแหล่ง
เพาะพันธุ์ของสัตว์พาหนะนําโรค
ย่อมส่งผลกระทบโดยตรงต่อปัญหาสุขภาพ
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การกองทิ้งมูลฝอยกลางแจ้ง
อาจก่อให้เกิดปัญหามลพิษทางนํ้า มลพิษทางอากาศ ก่อให้เกิดความรําคาญ
และไม่น่าดู ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน หากสะสมเป็นเวลานานอาจก่อให้เกิดก๊าซที่
เกิดจากการหมักเป็นก๊าซชีวภาพสามารถติดไฟหรือระเบิดได้ และเสี่ยงต่อการ
เกิดอัคคีภัย เพราะขยะบางประเภทติดไฟง่ายและเป็นเชื้อเพลิงอย่างดี
ผลกระทบจากมลพิษทางขยะ
1. อากาศเสีย เกิดจากการเผาขยะกลางแจ้งก่อให้เกิดควันและสารพิษทาง
อากาศ ทําให้ คุณภาพอากาศเสื่อมโทรม
2.นํ้าเสีย เกิดจากการกองขยะบนพื้น เมื่อฝนตกลงมาบนกองขยะ จะเกิดนํ้า
เสียมีความ สกปรกมากไหลลงสู่แม่นํ้า
3. แหล่งพาหะนําโรค เกิดจากการกองขยะบนพื้น ทําให้เกิดแหล่งเพาะพันธุ์
ของหนูและ แมลงวัน เป็นต้น ซึ่งเป็นพาหะนําโรคติดต่อ ทําให้มีผลกระทบ
ต่อสุขภาพ อนามัยของ ประชาชน
4. เหตุรําคาญและความไม่น่าดู เกิดจากการเก็บขนขยะไม่หมด รวมทั้งการ
กองขยะบนพื้น ส่งกลิ่นเหม็นรบกวนประชาชนและเกิดภาพไม่สวยงาม ไม่
เป็นสุนทรียภาพ นอกจากปัญหาสิ่งแวดล้อมข้างต้นแล้ว ขยะยังเป็นตัวการ
เป็นตัวการสําคัญสําหรับปัญหาการ จัดการขยะของหน่วยงานที่รับผิดชอบ
ซึ่งจะต้องเพิ่มปริมาณบุคลากร อุปกรณ์การจัดการขยะรวมทั้ง การให้ความรู้
ทางวิชาการและเทคโนโลยีแก่เจ้าหน้าที่เพิ่มขึ้นตามการเพิ่มขึ้นของปริมาณ
ขยะ
องค์ประกอบของขยะมูลฝอย
องค์ประกอบของขยะจะเปลี่ยนไปตาม
สภาพของภูมิอากาศ ฤดูกาล และพฤติกรรม
ทางเศรษฐกิจสังคม วิถีชีวิตตลอดจนอุปนิสัย
และแบบแผนในการบริโภคของแต่ละชุมชน/
เมือง โดยทั่วไปมีองค์ประกอบแตกต่างกันไป
อย่างไรก็ตามขยะมูลฝอยที่มีแหล่งกําเนิดมา
จากชุมชนมีองค์ประกอบหลักอยู่ด้วย กัน 4
ประเภท คือ
1.ขยะอินทรีย์ที่สามารถย่อยสลายได้ เช่น เศษ
อาหาร เศษใบไม้ เศษหญ้า (50 %)
2.ขยะรีไซเคิล เช่น แก้ว กระดาษ โลหะ
พลาสติก อะลูมิเนียม และยาง (30 %)
3.ขยะอันตรายหรือของเสียอันตรายจากชุมชน
เช่น ถ่านไฟฉาย หลอดไฟฟ้ า(3%)
4.ขยะทั่วไป เช่น เศษผ้า เศษไม้ เศษวัสดุ
ก่อสร ้าง เถ้าจากการเผาไหม้และอื่นๆ (17%)
สาเหตุที่ทาให้เกิดปัญหาขยะมูลฝอย
1. ความมักง่ายและขาดจิตสํานึกถึงผลเสียที่จะ
เกิดขึ้น เป็นสาเหตุที่พบบ่อยมากซึ่งจะเห็นได้
จากการทิ้งขยะลงตามพื้นหรือแหล่งนํ้าโดยไม่
ทิ้งลงในถังรองรับที่จัดไว้ให้และโรงงาน
อุตสาหกรรมบางแห่งลักลอบนําสิ่งปฏิกูลไปทิ้ง
ตามที่ว่างเปล่า
2. การผลิตหรือใช้สิ่งของมากเกินความจําเป็น
เช่น การผลิตสินค้าที่มีกระดาษหรือพลาสติก
หุ้มหลายชั้น และการซื้อสินค้าโดยห่อแยกหรือ
ใส่ถุงพลาสติกหลายถุงทําให้มีขยะปริมาณ
มาก
3. การเก็บและทําลายหรือนําขยะไปใช้
ประโยชน์ไม่มีประสิทธิภาพ จึงมีขยะตกค้าง
กองหมักหมมและส่งกลิ่นเหม็นไปทั่วบริเวณจน
ก่อปัญหามลพิษให้กับสิ่งแวดล้อม
การจัดการขยะ
ปัจจุบันมีแนวทางการจัดการขยะ
ตั้งแต่ต้นทาง นั่นคือการเลือกวัตถุดิบ
หรือผลิตภัณฑ์สินค้าต่างๆไปจนถึง
ปลายทางของการจัดการขยะ อาทิ การ
ทําปุ๋ ย การแยกขยะ การนําขยะรีไซเคิล
ไปใช ้ประโยชน์ต่อ ฯลฯ ส่วนใหญ่เรามัก
ใช ้หลักการ 3Rs แต่หากจะสามารถช่วย
ลดและจัดการขยะได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ การใช ้หลัก 1A3R ซึ่ง 3R
ที่ว่านั่นคือ Reduce Reuse และ Recycle แต่
1A ที่เพิ่มมานั่นมีความสําคัญคือ เป็ น
การหลีกเลี่ยงหรืองด (Avoid) วัตถุดิบ
หรือผลิตภัณฑ์สินค้าต่างๆ ที่ก่อให้เกิด
ขยะ
1A3R กลยุทธ ์ในการจัดการขยะ
มูลฝอย
1A3R คือ กลยุทธ์ในการจัดการกับ
ขยะมูลฝอยที่เริ่มต้นที่จะมีขยะ
เกิดขึ้น ประกอบด้วยขั้นตอนตั้งแต่
การงด – เลิก ลด ใช้ซํ้าและ
หมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ เป็น
หลักการแก้ปัญหาขยะแบบ
ประหยัดที่ไม่ต้องอาศัยงบประมาณ
ทางราชการใดๆ แต่ต้องอาศัยความ
ตั้งใจ เสียสละและเวลา รวมทั้ง
งบประมาณส่วนตัว (เล็กน้อย) มี
ความหมาย ดังนี้
Avoid หรืองด –เลิก
เป็นการงดหรือเลิกการบริโภคที่เป็น
อันตรายต่อผู้บริโภคโดยตรง การ
บริโภคที่เป็นอันตรายต่อผู้อื่นและต่อ
ระบบนิเวศ โดยจะต้องงดหรือเลิก
บริโภค
1.ผลิตภัณฑ์ที่ใช้แล้วทิ้งเลย
2.ผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตรายต่อผู้ใช้และ
ระบบนิเวศ
3.ผลิตภัณฑ์ที่ทําจากสัตว์ป่าหรือ
ชิ้นส่วนของสัตว์ป่าทุกชนิด
4.กิจกรรมที่ทําให้เกิดอันตรายต่อชีวิต
มนุษย์และสภาพแวดล้อม
Reduce หรือลด
ลดการบริโภคที่จะทําให้เกิดการร่อย
หรอของทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจํากัด
ทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป รวมทั้ง
ทรัพยากรที่ทดแทนใหม่ได้บางชนิดก็
ต้องลดการใช้ เนื่องจากทําให้เกิดการ
เสียสมดุลของระบบนิเวศ โดยการลด
การใช้ทรัพยากร ดังนี้
1.ทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป
2.ทรัพยากรที่ทดแทนใหม่ได้
3.ผลิตภัณฑ์ที่เมื่อนํามาใช้จะทําให้
เกิดความเสียหายต่อระบบนิเวศ
4.ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากขบวนการผลิตที่
ต้องใช้พลังงานมาก
Reuse หรือใช้ซ้า – ใช้แล้วใช้อีก
เป็นอีกทางเลือกหนึ่งของการบริโภค
อย่างเหมาะสม เพื่อลดการร่อยหรอของ
ทรัพยากรที่มีอยู่ และลดการปล่อย
มลพิษสู่สภาพแวดล้อม โดยการนํา
ผลิตภัณฑ์และทรัพยากรกลับมาใช้ใหม่
ในลักษณะเดิม ไม่มีการเปลี่ยนรูปทรง
ด้วยการหลอม บด แยกใดๆ เพื่อ
หลีกเลี่ยงการสูญเสียพลังงาน เช่น
1.เสื้อผ้าทุกชนิด
2.ภาชนะบรรจุที่ทําด้วยแก้วทุกชนิด
3.ภาชนะบรรจุอื่นๆ เช่น ลังกระดาษ ลัง
พลาสติก ฯลฯ
กระดาษ
Recycle หรือหมุนเวียนกลับมาใหม่
ผลิตภัณฑ์บางชนิด แม้จะมีความคงทน แต่กลับมีอายุการใช้งานสั้น มีปริมาณ
การใช้มาก ทําให้เดการหมดเปลืองทรัพยากรและพลังงานอย่างรวดเร็ว จึงควร
ใช้ผลิตภัณฑ์หรือบรรจุภัณฑ์ประเภทนี้อย่างระมัดระวังและให้เกิดประโยชน์
คุ้มค่ามากที่สุด เพื่อลดปริมาณของเสียที่จะถ่ายเทสู่สภาพแวดล้อม และเมื่อ
เลิกใช้แล้วควรจะจัดการเพื่อนําเอาทรัพยากรที่ครั้งหนึ่งถูกแปรเปลี่ยนเป็น
ผลิตภัณฑ์ดังกล่าว หมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ ซึ่งจะต้องผ่านกระบวนการ
หลอมละลาย บด อัด ฯลฯ ผลิตภัณฑ์ที่สามารถนํามาหมุนเวียนกลับมาใช้
ใหม่ได้ มีดังนี้
1.แก้ว ได้แก่ ขวดแก้วต่างๆ ทั้งที่มีสีใส สีนํ้าตาลและสีเขียว
2.กระดาษ ได้แก่ กระดาษหนังสือพิมพ์ กล่องกระดาษ ถุงกระดาษ สมุด
กระดาษสํานักงาน หนังสือต่างๆ
3.โลหะ ได้แก่ วัสดุหรือเศษเหล็กทุกชนิด กระป๋ องอลูมิเนียม ทองแดง
ทองเหลือง
เป็นต้น
4.พลาสติก ได้แก่ ขวดนํ้าพลาสติกใส ขวดนํ้าพลาสติกสีขาวขุ่น
ถุงพลาสติกเหนียว ภาชนะพลาสติกต่างๆ (กะละมัง ถังนํ้า ขวดแชมพู)
รวมถึงบรรจุภัณฑ์ที่มีสัญลักษณ์รีไซเคิล
การจัดการขยะที่ต้นทาง
หลีกเลี่ยงการทําให้เกิดขยะจํานวนมากและยากต่อ
การกําจัด โดย…
ทุกครั้งที่เลือกซื้อสินค้า ให้ตรวจสอบดูสิว่าสินค้า
ชนิดเดียวกันนั้น
สามารถใช ้ได้หลายครั้งหรือไม่
• ยี่ห้อไหนอายุการใช ้งานนานกว่า
• ยี่ห้อไหนทํามาจากทรัพยากรที่หมุนเวียนกลับมา
ใช ้ใหม่ได้
• สามารถเติมผลิตภัณฑ์เมื่อหมดหรือไม่
• การบรรจุหีบห่อมากเกินไปหรือไม่
• บรรจุภัณฑ์สามารถใช ้ได้หลายครั้งหรือไม่
• บรรจุภัณฑ์สามารถนํากลับมาหมุนเวียนใช ้ใหม่ได้
หรือไม่
เป็ นขยะที่เน่าเสีย
และย่อยสลายได้เร็ว
เป็ นขยะที่ย่อย
สลายยาก ไม่คุ้ม
ค่าที่จะนํามา
รีไซเคิล
เป็ นวัสดุเหลือใช ้ซึ่ง
สามารถนํากลับมาใช ้
ใหม่ หรือ นําไปผลิต
เป็ นผลิตภัณฑ์ใหม่ได้
เป็ นขยะที่องค์ประกอบ
หรือปนเปื้อนสาร
อันตรายสารพิษ สาร
ไวไฟ สารเคมีกัดกร่อน
เศษอาหาร เศษ
ผัก เศษผลไม้
เศษเนื้อสัตว์
ใบไม้
ขวดแก้ว ขวด
พลาสติก กระดาษ
กระป๋ องใส่เครื่อง
ดืม
พลาสติกใส่อาหาร
หลอด ถุงขนม กล่อง
อาหาร ถุงใส่อาหาร
กระดาษทิชชู
หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย
กระป่องสเปรย์
แบตเตอรี่
ขยะอินทรีย์หรือ
ขยะย่อยสลายได้
ขยะรีไซเคิล
ขยะทั่วไป ขยะอันตราย
30% 64% 3% 3%
ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ
เส้นทางขยะ
คัดแยกขยะมูล
ฝอยตั้งแต่ต้นทาง
เพื่อลดการเกิด
ขยะให้มากที่สุด
มีระบบการขนส่ง
มูลฝอยไปยังแหล่ง
กําจัดอย่างถูก
สุขลักษณะ
มีระบบกําจัดมูลฝอยที่
ถูกต้องตามหลัก
สุขาภิบาล
ต้นทาง กลางทาง ปลายทาง
ปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการจัดการขยะไม่ถูกต้อง
- กลิ่นเหม็น เกิดเหตุรําคาญ สูญเสียทัศนียภาพ และบั่นทอนสุขภาพ
- เป็นแหล่งอาหารและแหหล่งเพาะพันธุ์สัตว์และแมลงพาหะนําโรค
- ดินเสื่อม ปนเปื้อนแหล่งนํ้า มลพิษทางอากาศ
- เกิดอัคคีภัย
ผลกระทบต่อสุขภาพ
สมอง/หลอดเลือด/ระบบประสาท
ก่อให้เกิดโรคมะเร็ง
สูดดมเข้าทางเดินหายใจเป็ น
โรคปอด ภูมิแพ้
กินทางตรง/ทางอ้อม ผ่านทาเดิน
อาหาร เช่น ท้องเสีย
ซึมเข้าทางผิวหนัง เช่น
ผื่น/คัน
ประเภท ชนิด การแยกทิ้ง การจัดการ
เศษเปลือกผลไม้
ขยะอินทรีย์ เศษอาหารจากสํานักงาน ทิ้งใส่ถุงแยกออกจาก
ขยะทั้วไป
นําไปรวมกับเศษอาหารใน
โรงอาหาร
ผู้ค้าในโรงอาหารรวบรวมไว้
ในภาชนะรวบรวม
เศษอาการจากการประกอบ
อาหารของร ้าน้าและเศษ
อาหารจากการรับประทาน
ให้เอกชนมาเก็บขนทุกวัน
เพื่อนําไปเลี้ยงสัตว์
ขยะรีไซเคิล
ขวดพลาสติกใส หรือขวด
PET พลาสติกอื่นๆ
กระป๋องเครื่องดื่มประเภท
เหล็กและอลูมิเนียม
ขวดแก้ว
เทเครื่องดื่มออกให้หมด
และกลั้วด้วยนํ้าสะอาด
ก่อนแยกทิ้งลงภาชนะขยะ
รีไซเคิล หรือ ภาชนะสี
เหลือง
- รวบรวมจําหน่ายแก่ผู้รับ
ซื้อของเก่า
- กระป๋องเครื่องดื่มประเภท
อลูมิเนียมอาจจะรวบรวม
มอบให้โครงการขาเทียม
กระดาษที่ใช้แล้ว คัดแยกและมัดรวมไว้ - รวบรวมจําหน่ายแก่ผู้รับ
ซื้อของเก่า
กล่องเครื่องดื่ม UHF กล่อง
นม
- เทเครื่องดื่มออกให้หมด
- พับกล่องตามขั้นตอนบน
ฝาถัง
- แยกทิ้งลงภาชนะแยก
เฉพาะ
ส่งบริษัทผู้รีไซเคิล
ทําหลังคาเขียว
สมุด กระดาษ
แนวทางการลด คัดแยก และนําขยะมาใช ้ประโยชน์
ประเภท ชนิด การแยกทิ้ง การจัดการ
ขยะทั่วไป
ขยะอันตราย
- ถุง/ซองนม ลูกอม
- ถุงพลาสติก หลอดกาแฟ
- ซองนํ้าตาล/กาแฟ/ครีม
เทียม
แยกทิ้งลงภาชนะขยะทั่วไป
หรือ ถังสีนํ้าเงิน
- รวบรวมไว้ที่พักขยะรวม
ให้เทศบาลนครนนทบุรี
เก็บขนนําไปกําจัด
- แบตเตอรี่โทรศัพท์มือถือ
- หลอดฟลูออเรสเซนต์
- ถ่านไฟฉาย
- ภาชนะบรรจุสารเคมีต่างๆ
แยกทิ้งลงภาชนะรองรับ
ขยะอันตราย
เทศบาลนครนนทบุรีเก็บ
ขนไปกําจัดอย่างถูกต้อง
แนวทางการลด คัดแยก และนําขยะมาใช ้ประโยชน์ (ต่อ)
แนวทางการดําเนินงาน
ในการจัดการขยะ
1. การมีส่วนร่วม
- รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้
ความเข้าใจ ด้านการลด คัดแยก
การนําไปใช้ประโยชน์
- ขอความร่วมมือจากทุกส่วน ทั้งผู้บริหาร
บุคลากร พนักงานทําความสะอาด
ในการดําเนินงานและกิจกรรมร่วมกัน
ในฐานะทุกคนก่อให้เกิดขยะ
2. กรลด คัดแยก และนําขยะกลับมาใช้ประโยชน์
โดยการกําหนดระเบียบ ข้อตกลงร่วมกันให้ทุกคน
ปฏิบัติตาม เช่น
- ลดการใช้กระดาษ โดยใช้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์
- ลดการใช้ถุงพลาสติก กล่องอาหารสําเร็จรูป
ประเภทใช้แล้วทิ้ง
- ลดปริมาณบรรจุภัณฑ์อาหารว่าง/ครีมเทียม/
นํ้าตาลในห้องระชุม
- ใช้กระดาษ Reuse
- นําภาชนะที่ใช้ซํ้าได้ไปซื้อเครื่องดื่มแทน
การใช้แก้วพลาสติก
- การคัดแยกขยะอย่างถูกต้อให้สามารถ
นําไปใช้ประโยชน์และกําจัดได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
https://sites.google.com/site/aundodee/e/mlphiscakkhyamulfxy?fbclid=IwAR310k-
ZmnZiDpDndpFMzRpiZJDQ9O-6hMQmr8OS4WXx--KcRVZ7daQUsq4
https://www.baanjomyut.com/library_6/pollution_from_the_farm/05.html?fb
clid=IwAR1Z_4sEeka6XnFigeQfRvnUdla5uIJObrgh2rWzCfXjMKTquW7YdHa5Yg0
https://adeq.or.th/%E0%B8%82%E0%B8%A2%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8
%B9%E0%B8%A5%E0%B8%9D%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8
%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/
https://adeq.or.th/?fbclid=IwAR1GHW3HyHW0WlA3KCfPYap6wQWxK
bEE7MIIL0duGm3ioxKFHdquWXV9xG0
http://oots.anamai.moph.go.th/ewt_dl_link.php?nid=2813
อ้างอิงจาก
มลพิษขยะมูลฝอย

More Related Content

What's hot

ทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานratanapornwichadee
 
โครงร่างโครงงานกระดาษสา
โครงร่างโครงงานกระดาษสาโครงร่างโครงงานกระดาษสา
โครงร่างโครงงานกระดาษสา1234 Payoon
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณวิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณdirectorcherdsak
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
ละครดึกดำบรรพ์
ละครดึกดำบรรพ์ละครดึกดำบรรพ์
ละครดึกดำบรรพ์Lilrat Witsawachatkun
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2krupornpana55
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนkkrunuch
 
กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5SAM RANGSAM
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2  โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2  โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงPinutchaya Nakchumroon
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก Utai Sukviwatsirikul
 
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )Utai Sukviwatsirikul
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1gchom
 
บทที่ 1 พีชคณิตเวกเตอร์
บทที่ 1 พีชคณิตเวกเตอร์บทที่ 1 พีชคณิตเวกเตอร์
บทที่ 1 พีชคณิตเวกเตอร์Gawewat Dechaapinun
 

What's hot (20)

ทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงาน
 
โครงร่างโครงงานกระดาษสา
โครงร่างโครงงานกระดาษสาโครงร่างโครงงานกระดาษสา
โครงร่างโครงงานกระดาษสา
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณวิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
ละครดึกดำบรรพ์
ละครดึกดำบรรพ์ละครดึกดำบรรพ์
ละครดึกดำบรรพ์
 
ประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุ
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2  โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2  โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
 
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1)
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1)แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1)
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1)
 
บทที่ 1 พีชคณิตเวกเตอร์
บทที่ 1 พีชคณิตเวกเตอร์บทที่ 1 พีชคณิตเวกเตอร์
บทที่ 1 พีชคณิตเวกเตอร์
 
เอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรม
เอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรมเอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรม
เอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรม
 

มลพิษขยะมูลฝอย