SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
ความรู้เบื้องต้น
เกี่ยวกับของเล่นและเกม
ทางวิทยาศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับของเล่นและ
เกมทางวิทยาศาสตร์
การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ให้ประสบ
ผลสำาเร็จนั้น
ครูผู้สอนจะต้องมีการวางแผนการสอนล่วงหน้า
โดยคำานึงถึงองค์ประกอบหลายประการ เช่น
ธรรมชาติ ของเนื้อหา บรรยากาศ
ของชั้นเรียน ความสนใจและความต้องการของ
นักเรียน รวมทั้งครูจะต้องนำาเอาเทคนิควิธีการ
สอนหลายวิธีมาใช้ในบทเรียนหนึ่งๆ
ให้เหมาะสมและรูปแบบหนึ่งของการจัดการ
เรียนการสอน วิทยาศาสตร์ที่น่าสนใจ คือ การ
ให้นักเรียนได้สนุกกับของเล่นและเกม เพราะ
จะทำาให้นักเรียนได้มีการพัฒนาความคิดเป็น
ขั้นตอน มีความใฝ่รู้ มีทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ และมีเจตคติเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
เพราะธรรมชาติ ของเด็กกับการเล่นไม่สามารถ
แยก
จากกันได้ การใช้ของเล่นและเกมในการเรียน
การสอนจะเป็นสิ่งดึงดูดใจ ทำาให้เด็กเกิดความ
รู้สึกอยากจะมาโรงเรียน ตามทฤษฎีการเล่น
ของเอลลิส สรุปได้ว่า คนเราจะเล่นเพื่อสร้าง
ความพึงพอใจให้เกิดขึ้น
กับตนเอง เนื่องจากความพอใจที่ต้องการไม่
เกิดขึ้นในขณะทำางาน
การเล่นจึงเป็นการสร้างเป้าหมายใหม่ที่ผู้เล่น
อาจจะประสบกับความสำาเร็จแทนเป้าหมายเก่า
ที่ผิดหวังไปแล้ว นอกจากนี้ทฤษฎีการเล่นของ
เพียเจย์ (Piaget) ที่ว่าด้วยการพัฒนาการ
ทางสติ ปัญญา ของเด็กตั้งแต่แรกเกิดจน
กระทั่งถึงวัย ที่มีการพัฒนาการทางสติปัญญา
โดยสมบูรณ์ได้อธิบายไว้ว่า การเล่นทำาให้เด็ก
เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อมอย่างเต็มที่ ทั้งนี้
เพราะการเล่นเป็นวิธีการหรือ
ทางที่เด็กจะสร้างประสบการณ์ให้กับตนเองเพื่อ
เรียนรู้และรับรู้สิ่งแวดล้อมหรือสิ่งซึ่งไม่มีใคร
สอนเขาได้ การเล่นเป็นวิธีการที่จะทำา ให้เด็ก
ช่วยตนเอง และสามารถปรับตัว เปลี่ยนแปลง
ความคิด
ความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งที่อยู่รอบตัวให้ตรงกับ
ความเป็นจริง(สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
กำาแพงเพชร เขต 2,2548:1-2)
ความหมายของของเล่นและเกม
ทางวิทยาศาสตร์
เพื่อเป็นการสร้างความเข้าใจที่ตรงกัน
ก่อนที่จะศึกษา เรื่องเกี่ยวกับของเล่น
และเกมทางวิทยาศาสตร์ จึงขอนำาเสนอความ
หมายของของเล่น เกม และเกมทาง
วิทยาศาสตร์ ดังนี้(ลัดดาวัลย์ กัณหา
สุวรรณ,2547:30)
ของเล่น หมายถึง วัตถุใดๆที่สร้าง
ความสนุกสนานเพลิดเพลินให้กับผู้เล่น ส่วน
ของเล่นทางวิทยาศาสตร์ หมายถึงของเล่น
ใดๆ ที่นอกจากจะสร้างความ
สนุกสนานเพลิดเพลินให้แก่ผู้เล่นแล้ว
ยังสามารถสอนแนวคิดหลักการทาง
วิทยาศาสตร์ ความจริง เจตคติ
และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วย
เกม เป็นกิจกรรมที่ซึ่งมีกติกาบังคับอยู่
และเป็นกติกาที่ใช้
เป็นวิธีประเมินความสำาเร็จในการเล่นเกมของผู้
เล่นได้ ส่วนเกม
ทางวิทยาศาสตร์ เป็นกิจกรรมซึ่งมีกติกา
บังคับและกติกานั้น
ใช้เป็นวิธีการประเมินความสำาเร็จในการเล่น
และสามารถสอนแนวคิดหลักการทาง
วิทยาศาสตร์ ความจริง เจตคติ และทักษะ
กระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ การเล่นเกมทางวิทยาศาสตร์
อาจมีการแข่งขัน หรือไม่มีก็ได้ แต่จะต้องเล่น
ได้ตามกติกาหรือคำาแนะนำาที่กำาหนดไว้
ประเภทของเกม
ลัดดารวัลย์ กัณหาสุวรรณ (2547:31-
32) ได้จำาแนกประเภทของเกมไว้ ดังนี้
1 จำาแนกโดยใช้จำานวนผู้เล่นเป็นเกณฑ์
ได้แก่
เกมที่เล่นครั้งละ 1 คน เกมแบบนี้ผู้
เล่นจะเล่นคนเดียว โดยอ่านคำาแนะนำาใน
การเล่นแล้วปฏิบัติตาม ถ้าผู้เล่นสามารถเล่นได้
ตามคำาแนะนำาหรือกติกาที่กำาหนดไว้ แสดงว่า
ประสบความสำาเร็จ ในการเล่นเกมนั้นๆ
ตัวอย่างเกมประเภทนี้ได้แก่ เกมต่อภาพ เกม
อักษรปริศนาเกมก่อสร้าง หรือต่อชิ้นส่วน
เป็นต้น เกมประเภทนี้จะไม่มีคู่แข่งแต่จะแข่งกับ
ตัวเองเท่านั้น
เกมที่เล่นครั้งละ 2 คน เกมแบบนี้จะ
มีการแข่งขัน มีกติกากำาหนดผู้แพ้และผู้ชนะ
อย่างชัดเจน เช่น ใช้เกมชนิดเดียวกับที่เล่น 1
คน มาให้เล่น แต่กำาหนดให้มีการแข่งขัน ใคร
ต่อภาพเสร็จก่อนและถูกต้อง
จะเป็นผู้ชนะ
เกมเล่นเป็นกลุ่ม การเล่นเกมประเภท
นี้จะมีผู้เล่น
ครั้งละมากกว่า 2 คน อาจมีการแพ้ชนะเป็น
รายบุคคลหรือแพ้ชนะ
เป็นทีมก็ได้ ในการเล่นเกมประเภทนี้อาจใช้
ตัวผู้เล่นเป็นส่วนประกอบของเกม หรือบางครั้ง
ใช้ตัวของเล่นมาเล่นเป็นเกม
จำาแนกตามลักษณะของการเล่น ได้แก่
เกมที่ให้ผู้เล่นแสดงบทบาท เกม
ประเภทนี้จะมีกติกา
ที่ชัดเจน และเป็นการเล่นเลียนแบบ
สถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นจริง
ในชีวิตประจำาวัน อาจเรียกเกมประเภทนี้ว่าเกม
สถานการณ์จำาลอง
เกมประเภทนี้ใช้ได้ผลดีกับการสอนสิ่งแวดล้อม
จะฝึกให้ผู้เล่นรู้จักตัดสินใจและแก้ปัญหาโดย
วิธีที่เหมาะสม ด้วยการใช้เหตุผลในการ
พิจารณาแก้ปัญหา ครูอาจนำาเหตุการณ์หรือ
ประเด็นที่กำาลังเป็นที่ขัดแย้งมาสร้างเกม เช่น
เกมสร้างเขื่อน ผู้เล่นจะถูกกำาหนดบทบาท
ให้เป็นผู้เสนอให้สร้างเขื่อน ฝ่ายอนุรักษ์สิ่ง
แวดล้อม ฝ่ายคณะกรรมการพิจารณาตัดสิน
ปัญหา และฝ่ายสนับสนุน แต่ละฝ่ายจะต้อง
เสนอข้อมูลเพื่อให้คณะกรรมการตัดสินปัญหา
โดยให้ฝ่าย
ที่มีเหตุผลเหนือกว่าเป็นฝ่ายชนะ เกมดังกล่าว
จะฝึกให้ผู้เล่นรู้จัก
ใช้เหตุผล ให้เป็นคนใจกว้าง ยอมรับฟังเหตุผล
รู้แพ้รู้ชนะ ขณะเดียวกันจะได้ศึกษาค้นคว้าหา
ข้อมูลและหลักการทางวิทยาศาสตร์ หรือ
ที่เรียกว่าฝึกให้มีเจตคติทางวิทยาศาสตร์
เกมที่เล่นโดยมีของเล่นเป็นอุปกรณ์
เกมประเภทนี้ผู้เล่น
จะเล่นของเล่นตามคำาแนะนำาในการเล่นและ
กติกา ซึ่งคำาแนะนำา
และกติกานี้จะสามารถประเมินผลสำาเร็จของผู้
เล่นได้ การเล่นเกมประเภทนี้อาจมีการแข่งขัน
หรือไม่มีก็ได้ แต่จะต้องมีการประเมินผลสำาเร็จ
ของผู้เล่น ถ้าผู้เล่นสามารถเล่นได้ตามคำา
แนะนำาในการเล่น ถือว่า
ประสบความสำาเร็จ
ประโยชน์ของของเล่นและเกมทาง
วิทยาศาสตร์
ของเล่นและเกมทางวิทยาศาสตร์มี
ประโยชน์ต่อการเรียน
การสอนวิทยาศาสตร์ ดังนี้
1. ของเล่นและเกมต่างๆ สามารถสอน
เกี่ยวกับหลักความจริง
และให้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้ เช่นเดียวกับ
เทคนิคการสอน
แบบอื่นๆ
2.ของเล่นและเกมฝึกให้ผู้เล่นรู้จักคิด
รู้จักตัดสินใจอย่าง
มีเหตุผล ทั้งยังช่วยให้ผู้เล่นเกิดทักษะในการ
คิดแก้ปัญหาได้รวดเร็ว
และถูกต้องดีขึ้น
3. ของเล่นและเกมช่วยให้ผู้เล่นสามารถ
เข้าใจแนวความคิด
หลักการทางวิทยาศาสตร์ดีขึ้น และจดจำาได้
นาน
4. ของเล่นและเกมช่วยให้ผู้เล่นผ่อน
คลายความตึงเครียด
ในการเรียน ทำาให้สนุกสนานเพลิดเพลิน ทั้งจะ
ช่วยปลูกฝังความรู้สึก
ที่ดีต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ พร้อมทั้งช่วยให้ผู้
เล่นได้เล็งเห็นคุณค่า
ของการเรียนวิทยาศาสตร์อีกด้วย
ลักษณะของเล่นและเกมที่มีคุณค่า
ทางการศึกษาวิทยาศาสตร์
แม้จะยอมรับว่าของเล่นและเกมมี
ประโยชน์ต่อการสอนวิทยาศาสตร์ก็ตาม ก็มิได้
หมายความว่าของเล่นและเกมที่วางขาย
ในตลาดหรือห้างสรรพสินค้าหรือที่ผลิตขึ้นมา
โดยวิธีใดๆ ก็ตาม
จะมีประโยชน์ต่อการเรียนการสอนเสมอไป จะ
เห็นว่าของเล่นบางชิ้นราคาแพง สวยงาม น่า
เล่น แต่ทว่าเด็กเล่นแล้วเกิดความสนุกสนาน
เพลิดเพลินเพียงอย่างเดียว ไม่ได้ความรู้และ
ทักษะทางการศึกษาวิทยาศาสตร์แต่อย่างใด
เพราะถ้าจะศึกษาคำาแนะนำาในการเล่น
ที่เขียนขึ้นให้ผู้เล่นเล่นตามนั้น จะพบว่ามี
ลักษณะเป็นคำาสั่งให้ทำาตาม หรือบอกให้ทราบ
ว่าจะเล่นอย่างไรเท่านั้นเอง ไม่มีการแนะนำาให้
คิด ให้สังเกต ไม่มีคำาถามให้เรียนรู้แนวความ
คิดหลักการทางวิทยาศาสตร์ เมื่อเป็นเช่นนี้
ของเล่นชิ้นนั้นจะขาดคุณค่าทางการ
ศึกษาวิทยาศาสตร์ การเล่นแบบนั้นก็เท่ากับฝึก
ให้เล่นทำาตามคำาบอกเล่าเพียงอย่างเดียว
แต่ถ้าของเล่นและเกมที่ครูนำามาให้นักเรียนเล่น
ไม่ว่าจะประดิษฐ์ขึ้นเองหรือซื้อหามาก็ตาม ครู
ได้นำามาเขียนคำาแนะนำาในการเล่นโดยมีการ
ตั้งคำาถามแนะให้ผู้เล่นคิดหาเหตุผล ฝึกหาคำา
ตอบล่วงหน้าหรือตั้งสมมติฐาน เป็นต้น ของ
เล่นชิ้นนั้นจะมีคุณค่าทางการศึกษาวิทยา
ศาสตร์ขึ้นมาทันที
หลักการเลือกของเล่นและเกมทาง
วิทยาศาสตร์
1. สามารถกระตุ้นให้เกิดกระบวนการ
เรียนรู้
2. สามารถสอนหลักความจริงทาง
วิทยาศาสตร์
3. สามารถส่งเสริมให้เด็กรู้จักคิดแบบ
วิทยาศาสตร์
4. สามารถฝึกให้เด็กเกิดทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
5. สามารถสร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียน
วิทยาศาสตร์
เล่ม3 เรื่อง 1 ความรู้เบื้องต้น 2

More Related Content

Featured

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
ThinkNow
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

เล่ม3 เรื่อง 1 ความรู้เบื้องต้น 2

  • 2. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับของเล่นและ เกมทางวิทยาศาสตร์ การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ให้ประสบ ผลสำาเร็จนั้น ครูผู้สอนจะต้องมีการวางแผนการสอนล่วงหน้า โดยคำานึงถึงองค์ประกอบหลายประการ เช่น ธรรมชาติ ของเนื้อหา บรรยากาศ ของชั้นเรียน ความสนใจและความต้องการของ นักเรียน รวมทั้งครูจะต้องนำาเอาเทคนิควิธีการ สอนหลายวิธีมาใช้ในบทเรียนหนึ่งๆ ให้เหมาะสมและรูปแบบหนึ่งของการจัดการ เรียนการสอน วิทยาศาสตร์ที่น่าสนใจ คือ การ ให้นักเรียนได้สนุกกับของเล่นและเกม เพราะ จะทำาให้นักเรียนได้มีการพัฒนาความคิดเป็น ขั้นตอน มีความใฝ่รู้ มีทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ และมีเจตคติเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เพราะธรรมชาติ ของเด็กกับการเล่นไม่สามารถ แยก จากกันได้ การใช้ของเล่นและเกมในการเรียน การสอนจะเป็นสิ่งดึงดูดใจ ทำาให้เด็กเกิดความ รู้สึกอยากจะมาโรงเรียน ตามทฤษฎีการเล่น
  • 3. ของเอลลิส สรุปได้ว่า คนเราจะเล่นเพื่อสร้าง ความพึงพอใจให้เกิดขึ้น กับตนเอง เนื่องจากความพอใจที่ต้องการไม่ เกิดขึ้นในขณะทำางาน การเล่นจึงเป็นการสร้างเป้าหมายใหม่ที่ผู้เล่น อาจจะประสบกับความสำาเร็จแทนเป้าหมายเก่า ที่ผิดหวังไปแล้ว นอกจากนี้ทฤษฎีการเล่นของ เพียเจย์ (Piaget) ที่ว่าด้วยการพัฒนาการ ทางสติ ปัญญา ของเด็กตั้งแต่แรกเกิดจน กระทั่งถึงวัย ที่มีการพัฒนาการทางสติปัญญา โดยสมบูรณ์ได้อธิบายไว้ว่า การเล่นทำาให้เด็ก เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อมอย่างเต็มที่ ทั้งนี้ เพราะการเล่นเป็นวิธีการหรือ ทางที่เด็กจะสร้างประสบการณ์ให้กับตนเองเพื่อ เรียนรู้และรับรู้สิ่งแวดล้อมหรือสิ่งซึ่งไม่มีใคร สอนเขาได้ การเล่นเป็นวิธีการที่จะทำา ให้เด็ก ช่วยตนเอง และสามารถปรับตัว เปลี่ยนแปลง ความคิด ความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งที่อยู่รอบตัวให้ตรงกับ ความเป็นจริง(สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา กำาแพงเพชร เขต 2,2548:1-2) ความหมายของของเล่นและเกม ทางวิทยาศาสตร์
  • 4. เพื่อเป็นการสร้างความเข้าใจที่ตรงกัน ก่อนที่จะศึกษา เรื่องเกี่ยวกับของเล่น และเกมทางวิทยาศาสตร์ จึงขอนำาเสนอความ หมายของของเล่น เกม และเกมทาง วิทยาศาสตร์ ดังนี้(ลัดดาวัลย์ กัณหา สุวรรณ,2547:30) ของเล่น หมายถึง วัตถุใดๆที่สร้าง ความสนุกสนานเพลิดเพลินให้กับผู้เล่น ส่วน ของเล่นทางวิทยาศาสตร์ หมายถึงของเล่น ใดๆ ที่นอกจากจะสร้างความ สนุกสนานเพลิดเพลินให้แก่ผู้เล่นแล้ว ยังสามารถสอนแนวคิดหลักการทาง วิทยาศาสตร์ ความจริง เจตคติ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วย เกม เป็นกิจกรรมที่ซึ่งมีกติกาบังคับอยู่ และเป็นกติกาที่ใช้ เป็นวิธีประเมินความสำาเร็จในการเล่นเกมของผู้ เล่นได้ ส่วนเกม ทางวิทยาศาสตร์ เป็นกิจกรรมซึ่งมีกติกา บังคับและกติกานั้น ใช้เป็นวิธีการประเมินความสำาเร็จในการเล่น และสามารถสอนแนวคิดหลักการทาง
  • 5. วิทยาศาสตร์ ความจริง เจตคติ และทักษะ กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ การเล่นเกมทางวิทยาศาสตร์ อาจมีการแข่งขัน หรือไม่มีก็ได้ แต่จะต้องเล่น ได้ตามกติกาหรือคำาแนะนำาที่กำาหนดไว้ ประเภทของเกม ลัดดารวัลย์ กัณหาสุวรรณ (2547:31- 32) ได้จำาแนกประเภทของเกมไว้ ดังนี้ 1 จำาแนกโดยใช้จำานวนผู้เล่นเป็นเกณฑ์ ได้แก่ เกมที่เล่นครั้งละ 1 คน เกมแบบนี้ผู้ เล่นจะเล่นคนเดียว โดยอ่านคำาแนะนำาใน การเล่นแล้วปฏิบัติตาม ถ้าผู้เล่นสามารถเล่นได้ ตามคำาแนะนำาหรือกติกาที่กำาหนดไว้ แสดงว่า ประสบความสำาเร็จ ในการเล่นเกมนั้นๆ ตัวอย่างเกมประเภทนี้ได้แก่ เกมต่อภาพ เกม อักษรปริศนาเกมก่อสร้าง หรือต่อชิ้นส่วน เป็นต้น เกมประเภทนี้จะไม่มีคู่แข่งแต่จะแข่งกับ ตัวเองเท่านั้น เกมที่เล่นครั้งละ 2 คน เกมแบบนี้จะ มีการแข่งขัน มีกติกากำาหนดผู้แพ้และผู้ชนะ อย่างชัดเจน เช่น ใช้เกมชนิดเดียวกับที่เล่น 1
  • 6. คน มาให้เล่น แต่กำาหนดให้มีการแข่งขัน ใคร ต่อภาพเสร็จก่อนและถูกต้อง จะเป็นผู้ชนะ เกมเล่นเป็นกลุ่ม การเล่นเกมประเภท นี้จะมีผู้เล่น ครั้งละมากกว่า 2 คน อาจมีการแพ้ชนะเป็น รายบุคคลหรือแพ้ชนะ เป็นทีมก็ได้ ในการเล่นเกมประเภทนี้อาจใช้ ตัวผู้เล่นเป็นส่วนประกอบของเกม หรือบางครั้ง ใช้ตัวของเล่นมาเล่นเป็นเกม จำาแนกตามลักษณะของการเล่น ได้แก่ เกมที่ให้ผู้เล่นแสดงบทบาท เกม ประเภทนี้จะมีกติกา ที่ชัดเจน และเป็นการเล่นเลียนแบบ สถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นจริง ในชีวิตประจำาวัน อาจเรียกเกมประเภทนี้ว่าเกม สถานการณ์จำาลอง เกมประเภทนี้ใช้ได้ผลดีกับการสอนสิ่งแวดล้อม จะฝึกให้ผู้เล่นรู้จักตัดสินใจและแก้ปัญหาโดย วิธีที่เหมาะสม ด้วยการใช้เหตุผลในการ พิจารณาแก้ปัญหา ครูอาจนำาเหตุการณ์หรือ ประเด็นที่กำาลังเป็นที่ขัดแย้งมาสร้างเกม เช่น เกมสร้างเขื่อน ผู้เล่นจะถูกกำาหนดบทบาท
  • 7. ให้เป็นผู้เสนอให้สร้างเขื่อน ฝ่ายอนุรักษ์สิ่ง แวดล้อม ฝ่ายคณะกรรมการพิจารณาตัดสิน ปัญหา และฝ่ายสนับสนุน แต่ละฝ่ายจะต้อง เสนอข้อมูลเพื่อให้คณะกรรมการตัดสินปัญหา โดยให้ฝ่าย ที่มีเหตุผลเหนือกว่าเป็นฝ่ายชนะ เกมดังกล่าว จะฝึกให้ผู้เล่นรู้จัก ใช้เหตุผล ให้เป็นคนใจกว้าง ยอมรับฟังเหตุผล รู้แพ้รู้ชนะ ขณะเดียวกันจะได้ศึกษาค้นคว้าหา ข้อมูลและหลักการทางวิทยาศาสตร์ หรือ ที่เรียกว่าฝึกให้มีเจตคติทางวิทยาศาสตร์ เกมที่เล่นโดยมีของเล่นเป็นอุปกรณ์ เกมประเภทนี้ผู้เล่น จะเล่นของเล่นตามคำาแนะนำาในการเล่นและ กติกา ซึ่งคำาแนะนำา และกติกานี้จะสามารถประเมินผลสำาเร็จของผู้ เล่นได้ การเล่นเกมประเภทนี้อาจมีการแข่งขัน หรือไม่มีก็ได้ แต่จะต้องมีการประเมินผลสำาเร็จ ของผู้เล่น ถ้าผู้เล่นสามารถเล่นได้ตามคำา แนะนำาในการเล่น ถือว่า ประสบความสำาเร็จ ประโยชน์ของของเล่นและเกมทาง วิทยาศาสตร์
  • 8. ของเล่นและเกมทางวิทยาศาสตร์มี ประโยชน์ต่อการเรียน การสอนวิทยาศาสตร์ ดังนี้ 1. ของเล่นและเกมต่างๆ สามารถสอน เกี่ยวกับหลักความจริง และให้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้ เช่นเดียวกับ เทคนิคการสอน แบบอื่นๆ 2.ของเล่นและเกมฝึกให้ผู้เล่นรู้จักคิด รู้จักตัดสินใจอย่าง มีเหตุผล ทั้งยังช่วยให้ผู้เล่นเกิดทักษะในการ คิดแก้ปัญหาได้รวดเร็ว และถูกต้องดีขึ้น 3. ของเล่นและเกมช่วยให้ผู้เล่นสามารถ เข้าใจแนวความคิด หลักการทางวิทยาศาสตร์ดีขึ้น และจดจำาได้ นาน 4. ของเล่นและเกมช่วยให้ผู้เล่นผ่อน คลายความตึงเครียด ในการเรียน ทำาให้สนุกสนานเพลิดเพลิน ทั้งจะ ช่วยปลูกฝังความรู้สึก ที่ดีต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ พร้อมทั้งช่วยให้ผู้ เล่นได้เล็งเห็นคุณค่า
  • 9. ของการเรียนวิทยาศาสตร์อีกด้วย ลักษณะของเล่นและเกมที่มีคุณค่า ทางการศึกษาวิทยาศาสตร์ แม้จะยอมรับว่าของเล่นและเกมมี ประโยชน์ต่อการสอนวิทยาศาสตร์ก็ตาม ก็มิได้ หมายความว่าของเล่นและเกมที่วางขาย ในตลาดหรือห้างสรรพสินค้าหรือที่ผลิตขึ้นมา โดยวิธีใดๆ ก็ตาม จะมีประโยชน์ต่อการเรียนการสอนเสมอไป จะ เห็นว่าของเล่นบางชิ้นราคาแพง สวยงาม น่า เล่น แต่ทว่าเด็กเล่นแล้วเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลินเพียงอย่างเดียว ไม่ได้ความรู้และ ทักษะทางการศึกษาวิทยาศาสตร์แต่อย่างใด เพราะถ้าจะศึกษาคำาแนะนำาในการเล่น ที่เขียนขึ้นให้ผู้เล่นเล่นตามนั้น จะพบว่ามี ลักษณะเป็นคำาสั่งให้ทำาตาม หรือบอกให้ทราบ ว่าจะเล่นอย่างไรเท่านั้นเอง ไม่มีการแนะนำาให้ คิด ให้สังเกต ไม่มีคำาถามให้เรียนรู้แนวความ คิดหลักการทางวิทยาศาสตร์ เมื่อเป็นเช่นนี้ ของเล่นชิ้นนั้นจะขาดคุณค่าทางการ ศึกษาวิทยาศาสตร์ การเล่นแบบนั้นก็เท่ากับฝึก ให้เล่นทำาตามคำาบอกเล่าเพียงอย่างเดียว
  • 10. แต่ถ้าของเล่นและเกมที่ครูนำามาให้นักเรียนเล่น ไม่ว่าจะประดิษฐ์ขึ้นเองหรือซื้อหามาก็ตาม ครู ได้นำามาเขียนคำาแนะนำาในการเล่นโดยมีการ ตั้งคำาถามแนะให้ผู้เล่นคิดหาเหตุผล ฝึกหาคำา ตอบล่วงหน้าหรือตั้งสมมติฐาน เป็นต้น ของ เล่นชิ้นนั้นจะมีคุณค่าทางการศึกษาวิทยา ศาสตร์ขึ้นมาทันที หลักการเลือกของเล่นและเกมทาง วิทยาศาสตร์ 1. สามารถกระตุ้นให้เกิดกระบวนการ เรียนรู้ 2. สามารถสอนหลักความจริงทาง วิทยาศาสตร์ 3. สามารถส่งเสริมให้เด็กรู้จักคิดแบบ วิทยาศาสตร์ 4. สามารถฝึกให้เด็กเกิดทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 5. สามารถสร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียน วิทยาศาสตร์