SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
ยาสลบแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่
1. ยาสลบชนิดสูดดม ใช้โดยการสูดดมเข้าสู่ทางเดินหายใจ ข้อดีของยาชนิดนี้คือ
สามารถควบคุมความลึกของการสลบได้โดยการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของยาที่ใช้ใน
การสูดดม ยากลุ่มนี้ยังแบ่งได้อีกเป็น 2 ชนิด คือ
ก. ยาสลบชนิดแก๊ส ได้แก่ ซัยโคลโปรเปน (Cyclopropane), ไนตรัสอ๊อกไซด์
(Nitrous oxide) และ เอธีลีน (Ethylene) เป็นต้น
ข. ยาสลบชนิดของเหลวที่ระเหย ได้แก่ ไดเอธิล อีเธอร์ (Diethyl ether), คลอโรฟอร์ม
(Chlorform), ธาโลเธน (Halothane) ฯลฯ
2. ยาสลบชนิดฉีด ใช้โดยการฉีดเข้าสู่ร่างกายยาส่วนใหญ่ที่ใช้เป็นยาพวก
Barbiturates กลุ่มที่ออกฤทธิ์สั้นมาก (Ultra-short acting barbiturates เช่น ไธโอเพน
ตาล (Thiopental) ชื่อการค้าเช่น เพนโตธาล (Pentothal) เมธิตูราล (Methitural) ชื่อการ
ค้าเช่น เนอราวาล (Neraval) และ เมโธเฮ็กซิตาล (Methohexital) ชื่อการค้าเช่น เบรวิตาล
(Brevital) ฯลฯ ยาอื่นๆ ได้แก่ ไตรโบรเมธานอล (Tribr methanol) ฮัยดร๊อกซิไดโอน
(Hydroxydione) และยาพวก เฟนิซัยคลิดีน (Phenicyclidine) ยาสลบชนิดฉีดเหล่านี้มัก
ให้โดยการฉีดเข้าหลอดเลือดดำา
ข้อดีของยาพวกนี้คือทำาให้สลบหรือหมดสติอย่างรวดเร็ว แต่ระงับความเจ็บปวดได้น้อย
โดยมากนิยมใช้กับยาอื่นๆ เช่น ยาที่ยับยั้งการทำางานของกล้ามเนื้อซึ่งช่วยให้กล้ามเนื้อ
คลายตัว
ผลของยาสลบต่อระบบต่างๆ ในร่างกายอาจมาจากสาเหตุหลายประการ เช่น มีแก๊ส
คาร์บอนไดอ๊อกไซด์ (co2) ในเลือดมากเกินไป หรือ เลือดขาดออกซิเจน (o2) หรือมิฉะนั้น
อาจเนื่องจากฤทธิ์ของยาที่กดระบบประสาทส่วนกลาง เป็นที่เชื่อกันว่าการสลบเกิดจากฤทธิ์
ของยาสลบที่กดการทำางานของสมองส่วนที่เรียกว่า Reticular activating system (RAS)
และการที่ร่างกายเคลื่อนไหวไม่ได้เป็นผลจากการที่ยากดการทำางานของไขสันหลัง
ยาสลบส่วนใหญ่จะกดการหายใจ การไหลเวียนเลือด ความดันเลือดลดลง หัวใจทำางานผิด
ปกติอาจเต้นผิดจังหวะ (Ventricular arrhythmias) ฯลฯ หลังจากฟื้นจากการสลบผู้ป่วย
ส่วนใหญ่มักจะมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ฯลฯ ยาสลบบางขนานมีฤทธิ์ทำาลายตับ
ยาสลบไนตรัสอ๊อกไซด์ (Nitrous oxide)
ยาสลบไนตรัสอ๊อกไซด์ (Nitrous oxide, NO2) เป็นแก๊สที่มีกลิ่นหอมแต่ไม่ระเบิด ทำาให้
สลบและฟื้นเร็ว เมื่อใช้ในการผ่าตัดต้องให้ร่วมกับยาอื่นๆ เช่น ยาสลบชนิดฉีดหรือชนิดที่
เป็นของเหลวระเหยได้รวมทั้งยาที่ทำาให้กล้ามเนื้อคลายตัวและ 20% O2 เป็นต้น ไนตรัสอ๊
อกไซด์ (Nitrous oxide) ไม่เป็นอันตรายต่อการหายใจ การไหลเวียนเลอด ตับและไต
ประะโยชน์ในการใช้งาน
แก๊สนี้นิยมใช้ทางทันตกรรม และใช้ระหว่างการคลอดระยะที่ 2 เพราะระงับปวดได้ดี
นอกจากนี้อาจใช้เหนี่ยวนำาให้สลบ
ฤทธิ์และอาการที่ไม่พึงประสงค์
การใช้แก๊สนี้ติดต่อกันเกิน 24 ชั่วโมง จะกดไขกระดูก และถ้าใช้ด้วยความเข้มข้นสูงจะ
ทำาให้ความดันเลือดสูงโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้สูงอายุ
ยาสลบอีเธอร์ (Ether)
อีเธอร์ (Ether)ไดเอธิล อีเธอร์ (Diethyl ether) เป็นยาสลบที่มีฤทธิ์แรง กลิ่นไม่ชวนดม
ติดไฟและระเบิดง่ายทำาให้สลบและฟื้นช้า ระงับปวดได้ดี ทำาให้กล้ามเนื้อคลายตัวมาก เพิ่ม
เสมหะและนำ้าลายจึงจำาเป็นต้องให้ยาพวก อะโทรปีน (Atropine) ก่อน การวางยาสลบแก๊ส
นี้ทำาให้หายใจลึกและเร็ว ลดการทำางานของกระเพาะและลำาไส้ มีผลต่อระบบไหลเวียน
เลือดเล็กน้อย ไม่ทำาให้หัวใจไวต่อฤทธิ์ของอีปิเนฟรีน (epinephrine) หรือนอร์อีปิเนฟรีน
(norepinephrine)
ประโยชน์ในการใช้งาน
ยาสลบอีเธอร์ (Ether) มีราคาถูกและมีความปลอดภัยในการใช้สูง ใช้เป็นยาสลบในการ
ผ่าตัดใหญ่ที่ต้องใช้เวลานานโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้สูงอายุ นอกจากนี้อาจใช้ระงับอาการ
ชัก แก้พิษบาดทะยักและอาจใช้ในการทำาคลอด
ฤทธิ์และอาการที่ไม่พึงประสงค์
ทำาให้สลบช้า และค่อนข้างจะทรมานผู้ป่วย ระคายเคืองทางเดินหายใจ เสมหะมาก ฟื้นจาก
สลบช้าและมีอาการคลื่นไส้อาเจียน
ยาสลบซัยโคลโปรเปน (Cyclopropane)
ยาสลบซัยโคลโปรเปน (Cyclopropane) เป็นยาสลบที่มีกลิ่นไม่ชวนดม ระเบิดง่าย ทำาให้
สลบเร็ว (2-3 นาที) แต่ฟื้นช้า ขึ้นกับระยะเวลาที่ให้ยา มี ความปลอดภัยในการใช้สูง ความ
เข้มข้นประมาณ 20-25% ก็ทำาให้สลบนานพอเพียงสำาหรับการผ่าตัด เมื่อเพิ่มความเข้มข้น
ขึ้นสูงประมาณ 40% จะทำาให้การหายใจติดขัด ยานี้กดการหายใจแต่ไม่เพิ่มเสมหะ ทำาให้
หลอดลมหดตัว คาร์บอนไดออกไซด์ (co2),ในเลือดสูงกดหัวใจและขยายหลอดเลือดน้อย
กว่าอีเธอร์ (Ether) มีผลต่อกระเพาะและลำาไส้เล็กน้อย กล้ามเนื้อลายคลายตัวได้ไม่มาก
นอกจากจะให้ในขนาดสูงๆ เมื่อให้โดยการสูดดมจะถูกดูดซึมได้ดีและขับออกทางปอดใน
รูปที่ไม่เปลี่ยนแปลง
ประโยชน์ในการใช้งาน
ยานี้เป็นยาสลบที่ใช้อย่างแพร่หลายโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ที่มีรายได้น้อย และผู้สูงอายุ
ฤทธิ์และอาการที่ไม่พึงประสงค์
อาจทำาให้หัวใจเต้นผิดปกติ (Arrhythmias) ซึ่งต้องระวังมากในกรณีที่การหายใจไม่เพียง
พอ หรือมีแก๊สคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ (CO2) ในเลือดสูง (Hypercarbia) หรือได้รับยาพวก
แคทีโคลามีน (Catecholamines) เช่นอีปิเนฟรีน (Epinephrine) หรือนอร์อีปิเนฟรีน
(Norepinephrine) เป็นต้น เมื่อฟื้นจากการสลบจะมีอาการคลื่นไส้อาเจียน
ยาสลบคลอโรฟอร์ม (Chloroform)
ยาสลบคลอโรฟอร์ม เป็นของเหลวไอระเหย กลิ่นหอม ไม่ระเบิด มีฤทธิ์แรง ระงับปวดและ
ทำาให้กล้ามเนื้อคลายตัวได้ดี กดการทำางานของหัวใจและการไหลเวียนเลือดมีดรรชนีใน
การรักษาตำ่ามาก ปัจจุบันไม่นิยมใช้เป็นยาสลบ
ฤทธิ์และอาการที่ไม่พึงประสงค์
เป็นพิษต่อตับและไต อาจทำาให้เป็นมะเร็งที่ตับ และหัวใจเต้นผิดปกติ
ยาสลบเอธิลีน (Ethylene)
ยาสลบเอธิลีน (Ethylene) เป็นแก๊สที่มีกลิ่นไม่ชวนดม ติดไฟและระเบิดง่าย จึงไม่เป็นที่
นิยมใช้ มีฤทธิ์แรงกว่า N2O ทำาให้สลบและฟื้นเร็วโดยไม่มีอาการตื่นเต้น แต่อาจอาเจียน
ระงับปวดได้ดี ทำาให้กล้ามเนื้อคลายตัวเล็กน้อย มักใช้ร่วมกับ 20% O2 และยาสลบอื่นๆ
เช่น ยาพวกบาร์บิตูเรท ฯลฯ
ยาสลบไตรคลอโรเอธิลีน (Trichloroethylene)
ยาสลบไตรคลอโรเอธิลีน เป็นของเหลวไอระเหย กลิ่นหอม ไม่ติดไฟหรือระเบิด มีฤทธิ์
คล้ายคลอโรฟอร์ม (Chloroform) แต่ทำาให้สลบเร็วกว่า ไม่นิยมใช้เป็นยาสลบเพราะมี
อันตราย แต่อาจใช้ร่วมกับ Nitrous oxide ส่วนใหญ่มักใช้ระงับปวดในการผ่าตัดเล็กๆ
น้อยๆ ทางสูติกรรมและทันตกรรม
ฤทธิ์และอาการที่ไม่พึงประสงค์
ยานี้ทำาให้หายใจเร็วและตื้นซึ่งอาจหยุดหายใจ หัวใจเต้นผิดจังหวะและไวต่อพิษของอีปิเน
ฟรีน (Epinephrine) เมื่อใช้กับเด็กอาจทำาให้ชักจึงไม่ควรใช้กับผู้เป็นโรคลมชัก
ยาสลบฮาโลเธน (Halothane)
ยาสลบตัวนี้เป็นของเหลวไอระเหย มีฤทธิ์แรงกว่าคลอโรฟอร์ม ไม่ระคายเคืองทางเดิน
หายใจ ทำาให้หลอดลมขยาย กดการหายใจ ลดการบีบตัวของ หัวใจ หลอดเลือดขยาย
ความดันเลือดลดลงเป็นสัดส่วกับความลึกของการสลบซึ่งถ้าใช้เกินขนาดอาจตายได้ ทำาให้
หัวใจไวต่อฤทธิ์ของ อีปิเนฟรีน (Epinephrine) และนอร์อีปิเนฟรีน (Norepinepli rine)
โดยมักทำาให้หัวใจเต้นผิดปกติ ยานี้ไม่ทำาให้กล้ามเนื้อคลายตัวแม้จะให้ในขนาดสูงๆ ฉะนั้น
จึงนิยมใช้ร่วมกับยาที่ทำาให้กล้ามเนื้อคลายตัว เช่น เคียวแร (Curare) หรือกอลลามีน
(Gallamine) ฯลฯ
ประโยชน์ในการใช้งาน
1. เป็นยาสลบที่นิยมใช้อย่างแพร่หลายที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อต้องการให้สลบและฟื้น
เ และเหมาะสำาหรับการวางยาที่ไม่ต้องการผลในการทำาให้กล้ามเนื้อคลายตัว
2. ใช้เป็นยาสลบในผู้ที่เป็นโรคหืด
3. มักใช้ร่วมกับ Nitrous oxide (NzO)
การออกฤทธิ์และอาการที่ไม่พึงประสงค์
ยาสลบฮาโลเธน (Halothane) มีความปลอดภัยในการใช้ตำ่า กดการหายใจและการไหล
เวียนโลหิตอย่างแรง ทำาให้ตับทำางานผิดปกติถ้าใช้ติดต่อกันระยะเวลานานอาจเป็นดีซ่าน
อนึ่งหลังจากฟื้นจากการสลบผู้ป่วยจะมีอาการคลื่นไส้อาเจียน แต่ไม่รุนแรง
ข้อควรระวังในการใช้งาน
ยาสลบตัวนี้นี้ไม่ควรใช้ในผู้ที่เป็นโรคเกี่ยวกับตับและนำ้าดีหญิงมีครรภ์หรือระหว่างการ
คลอดบุตร
ยาสลบเมธ็อกฟลูเรน (Methoxyflurane)
ชื่ออย่างเป็นทางการ เพ็นเธรน (Penthrane) เป็นยาสลบจำาพวกอีเธอร์ (Ether) ซึ่ง
อยู่ในรูปของเหลวที่ระเหยได้ ไม่ระเบิด มีฤทธิ์แรง ทำาให้สลบและฟื้นช้า มีผลต่อหัวใจและ
หลอดโลหิตน้อยกว่าฮาโลเธน (Halothane) แต่ทำาให้กล้ามเนื้อลายคลายตัวได้มากกว่า
ระงับปวดได้ดี ระคายเคืองหลอดลมและไม่กดการหายใจ นอก จากสลบลึกมาก ยานี้ถูก
เปลี่ยนแปลงที่ตับ
ประโยชน์ในการใช้งาน
ยานี้ใช้ในทางสูติกรรมโดยมากมักใช้ร่วมกับไนตรัสอ๊อกไซด์ และยาที่ทำาให้กล้ามเนื้อ
คลายตัว
ฤทธิ์และอาการที่ไม่พึงประสงค์
ยานี้รบกวนการทำางานของไตทำาให้ถ่ายปัสสาวะมากและบ่อย ถ้าใช้ขนาดสูงอาจทำาให้ตาย
ข้อควรระวังในการใช้งาน
เมื่อใช้ยานี้ร่วมกับยาที่ทำาให้กล้ามเนื้อคลายตัว ต้องลดขนาดของยาลง และไม่ควรใช้กับผู้
ที่ได้รับยาเตตราซัยคลีน หรือผู้ที่เป็นโรคเกี่ยวกับตับ เช่น ดีซ่าน ฯลฯ
จะเห็นว่ายาสลบแต่ละตัวใช้งานต่างกันและออกฤทธิ์รวมทั้งผลข้างเคียงที่แตกต่างกันออก
ไปเช่น ยาสลบบางตัวใช้กับสัตว์ ยาสลบบางตัวใช้กับคนเช่นผ่าตัด ถอนฟัน ฯลฯ

More Related Content

Featured

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
ThinkNow
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

ยาสลบ รีวีว เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับยาสลบ

  • 1. ยาสลบแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ 1. ยาสลบชนิดสูดดม ใช้โดยการสูดดมเข้าสู่ทางเดินหายใจ ข้อดีของยาชนิดนี้คือ สามารถควบคุมความลึกของการสลบได้โดยการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของยาที่ใช้ใน การสูดดม ยากลุ่มนี้ยังแบ่งได้อีกเป็น 2 ชนิด คือ ก. ยาสลบชนิดแก๊ส ได้แก่ ซัยโคลโปรเปน (Cyclopropane), ไนตรัสอ๊อกไซด์ (Nitrous oxide) และ เอธีลีน (Ethylene) เป็นต้น ข. ยาสลบชนิดของเหลวที่ระเหย ได้แก่ ไดเอธิล อีเธอร์ (Diethyl ether), คลอโรฟอร์ม (Chlorform), ธาโลเธน (Halothane) ฯลฯ 2. ยาสลบชนิดฉีด ใช้โดยการฉีดเข้าสู่ร่างกายยาส่วนใหญ่ที่ใช้เป็นยาพวก Barbiturates กลุ่มที่ออกฤทธิ์สั้นมาก (Ultra-short acting barbiturates เช่น ไธโอเพน ตาล (Thiopental) ชื่อการค้าเช่น เพนโตธาล (Pentothal) เมธิตูราล (Methitural) ชื่อการ ค้าเช่น เนอราวาล (Neraval) และ เมโธเฮ็กซิตาล (Methohexital) ชื่อการค้าเช่น เบรวิตาล (Brevital) ฯลฯ ยาอื่นๆ ได้แก่ ไตรโบรเมธานอล (Tribr methanol) ฮัยดร๊อกซิไดโอน (Hydroxydione) และยาพวก เฟนิซัยคลิดีน (Phenicyclidine) ยาสลบชนิดฉีดเหล่านี้มัก ให้โดยการฉีดเข้าหลอดเลือดดำา ข้อดีของยาพวกนี้คือทำาให้สลบหรือหมดสติอย่างรวดเร็ว แต่ระงับความเจ็บปวดได้น้อย โดยมากนิยมใช้กับยาอื่นๆ เช่น ยาที่ยับยั้งการทำางานของกล้ามเนื้อซึ่งช่วยให้กล้ามเนื้อ คลายตัว ผลของยาสลบต่อระบบต่างๆ ในร่างกายอาจมาจากสาเหตุหลายประการ เช่น มีแก๊ส คาร์บอนไดอ๊อกไซด์ (co2) ในเลือดมากเกินไป หรือ เลือดขาดออกซิเจน (o2) หรือมิฉะนั้น อาจเนื่องจากฤทธิ์ของยาที่กดระบบประสาทส่วนกลาง เป็นที่เชื่อกันว่าการสลบเกิดจากฤทธิ์ ของยาสลบที่กดการทำางานของสมองส่วนที่เรียกว่า Reticular activating system (RAS) และการที่ร่างกายเคลื่อนไหวไม่ได้เป็นผลจากการที่ยากดการทำางานของไขสันหลัง ยาสลบส่วนใหญ่จะกดการหายใจ การไหลเวียนเลือด ความดันเลือดลดลง หัวใจทำางานผิด ปกติอาจเต้นผิดจังหวะ (Ventricular arrhythmias) ฯลฯ หลังจากฟื้นจากการสลบผู้ป่วย ส่วนใหญ่มักจะมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ฯลฯ ยาสลบบางขนานมีฤทธิ์ทำาลายตับ ยาสลบไนตรัสอ๊อกไซด์ (Nitrous oxide) ยาสลบไนตรัสอ๊อกไซด์ (Nitrous oxide, NO2) เป็นแก๊สที่มีกลิ่นหอมแต่ไม่ระเบิด ทำาให้ สลบและฟื้นเร็ว เมื่อใช้ในการผ่าตัดต้องให้ร่วมกับยาอื่นๆ เช่น ยาสลบชนิดฉีดหรือชนิดที่ เป็นของเหลวระเหยได้รวมทั้งยาที่ทำาให้กล้ามเนื้อคลายตัวและ 20% O2 เป็นต้น ไนตรัสอ๊ อกไซด์ (Nitrous oxide) ไม่เป็นอันตรายต่อการหายใจ การไหลเวียนเลอด ตับและไต ประะโยชน์ในการใช้งาน
  • 2. แก๊สนี้นิยมใช้ทางทันตกรรม และใช้ระหว่างการคลอดระยะที่ 2 เพราะระงับปวดได้ดี นอกจากนี้อาจใช้เหนี่ยวนำาให้สลบ ฤทธิ์และอาการที่ไม่พึงประสงค์ การใช้แก๊สนี้ติดต่อกันเกิน 24 ชั่วโมง จะกดไขกระดูก และถ้าใช้ด้วยความเข้มข้นสูงจะ ทำาให้ความดันเลือดสูงโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้สูงอายุ ยาสลบอีเธอร์ (Ether) อีเธอร์ (Ether)ไดเอธิล อีเธอร์ (Diethyl ether) เป็นยาสลบที่มีฤทธิ์แรง กลิ่นไม่ชวนดม ติดไฟและระเบิดง่ายทำาให้สลบและฟื้นช้า ระงับปวดได้ดี ทำาให้กล้ามเนื้อคลายตัวมาก เพิ่ม เสมหะและนำ้าลายจึงจำาเป็นต้องให้ยาพวก อะโทรปีน (Atropine) ก่อน การวางยาสลบแก๊ส นี้ทำาให้หายใจลึกและเร็ว ลดการทำางานของกระเพาะและลำาไส้ มีผลต่อระบบไหลเวียน เลือดเล็กน้อย ไม่ทำาให้หัวใจไวต่อฤทธิ์ของอีปิเนฟรีน (epinephrine) หรือนอร์อีปิเนฟรีน (norepinephrine) ประโยชน์ในการใช้งาน ยาสลบอีเธอร์ (Ether) มีราคาถูกและมีความปลอดภัยในการใช้สูง ใช้เป็นยาสลบในการ ผ่าตัดใหญ่ที่ต้องใช้เวลานานโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้สูงอายุ นอกจากนี้อาจใช้ระงับอาการ ชัก แก้พิษบาดทะยักและอาจใช้ในการทำาคลอด ฤทธิ์และอาการที่ไม่พึงประสงค์ ทำาให้สลบช้า และค่อนข้างจะทรมานผู้ป่วย ระคายเคืองทางเดินหายใจ เสมหะมาก ฟื้นจาก สลบช้าและมีอาการคลื่นไส้อาเจียน ยาสลบซัยโคลโปรเปน (Cyclopropane) ยาสลบซัยโคลโปรเปน (Cyclopropane) เป็นยาสลบที่มีกลิ่นไม่ชวนดม ระเบิดง่าย ทำาให้ สลบเร็ว (2-3 นาที) แต่ฟื้นช้า ขึ้นกับระยะเวลาที่ให้ยา มี ความปลอดภัยในการใช้สูง ความ เข้มข้นประมาณ 20-25% ก็ทำาให้สลบนานพอเพียงสำาหรับการผ่าตัด เมื่อเพิ่มความเข้มข้น ขึ้นสูงประมาณ 40% จะทำาให้การหายใจติดขัด ยานี้กดการหายใจแต่ไม่เพิ่มเสมหะ ทำาให้ หลอดลมหดตัว คาร์บอนไดออกไซด์ (co2),ในเลือดสูงกดหัวใจและขยายหลอดเลือดน้อย กว่าอีเธอร์ (Ether) มีผลต่อกระเพาะและลำาไส้เล็กน้อย กล้ามเนื้อลายคลายตัวได้ไม่มาก นอกจากจะให้ในขนาดสูงๆ เมื่อให้โดยการสูดดมจะถูกดูดซึมได้ดีและขับออกทางปอดใน รูปที่ไม่เปลี่ยนแปลง ประโยชน์ในการใช้งาน ยานี้เป็นยาสลบที่ใช้อย่างแพร่หลายโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ที่มีรายได้น้อย และผู้สูงอายุ ฤทธิ์และอาการที่ไม่พึงประสงค์ อาจทำาให้หัวใจเต้นผิดปกติ (Arrhythmias) ซึ่งต้องระวังมากในกรณีที่การหายใจไม่เพียง
  • 3. พอ หรือมีแก๊สคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ (CO2) ในเลือดสูง (Hypercarbia) หรือได้รับยาพวก แคทีโคลามีน (Catecholamines) เช่นอีปิเนฟรีน (Epinephrine) หรือนอร์อีปิเนฟรีน (Norepinephrine) เป็นต้น เมื่อฟื้นจากการสลบจะมีอาการคลื่นไส้อาเจียน ยาสลบคลอโรฟอร์ม (Chloroform) ยาสลบคลอโรฟอร์ม เป็นของเหลวไอระเหย กลิ่นหอม ไม่ระเบิด มีฤทธิ์แรง ระงับปวดและ ทำาให้กล้ามเนื้อคลายตัวได้ดี กดการทำางานของหัวใจและการไหลเวียนเลือดมีดรรชนีใน การรักษาตำ่ามาก ปัจจุบันไม่นิยมใช้เป็นยาสลบ ฤทธิ์และอาการที่ไม่พึงประสงค์ เป็นพิษต่อตับและไต อาจทำาให้เป็นมะเร็งที่ตับ และหัวใจเต้นผิดปกติ ยาสลบเอธิลีน (Ethylene) ยาสลบเอธิลีน (Ethylene) เป็นแก๊สที่มีกลิ่นไม่ชวนดม ติดไฟและระเบิดง่าย จึงไม่เป็นที่ นิยมใช้ มีฤทธิ์แรงกว่า N2O ทำาให้สลบและฟื้นเร็วโดยไม่มีอาการตื่นเต้น แต่อาจอาเจียน ระงับปวดได้ดี ทำาให้กล้ามเนื้อคลายตัวเล็กน้อย มักใช้ร่วมกับ 20% O2 และยาสลบอื่นๆ เช่น ยาพวกบาร์บิตูเรท ฯลฯ ยาสลบไตรคลอโรเอธิลีน (Trichloroethylene) ยาสลบไตรคลอโรเอธิลีน เป็นของเหลวไอระเหย กลิ่นหอม ไม่ติดไฟหรือระเบิด มีฤทธิ์ คล้ายคลอโรฟอร์ม (Chloroform) แต่ทำาให้สลบเร็วกว่า ไม่นิยมใช้เป็นยาสลบเพราะมี อันตราย แต่อาจใช้ร่วมกับ Nitrous oxide ส่วนใหญ่มักใช้ระงับปวดในการผ่าตัดเล็กๆ น้อยๆ ทางสูติกรรมและทันตกรรม ฤทธิ์และอาการที่ไม่พึงประสงค์ ยานี้ทำาให้หายใจเร็วและตื้นซึ่งอาจหยุดหายใจ หัวใจเต้นผิดจังหวะและไวต่อพิษของอีปิเน ฟรีน (Epinephrine) เมื่อใช้กับเด็กอาจทำาให้ชักจึงไม่ควรใช้กับผู้เป็นโรคลมชัก ยาสลบฮาโลเธน (Halothane) ยาสลบตัวนี้เป็นของเหลวไอระเหย มีฤทธิ์แรงกว่าคลอโรฟอร์ม ไม่ระคายเคืองทางเดิน หายใจ ทำาให้หลอดลมขยาย กดการหายใจ ลดการบีบตัวของ หัวใจ หลอดเลือดขยาย ความดันเลือดลดลงเป็นสัดส่วกับความลึกของการสลบซึ่งถ้าใช้เกินขนาดอาจตายได้ ทำาให้ หัวใจไวต่อฤทธิ์ของ อีปิเนฟรีน (Epinephrine) และนอร์อีปิเนฟรีน (Norepinepli rine) โดยมักทำาให้หัวใจเต้นผิดปกติ ยานี้ไม่ทำาให้กล้ามเนื้อคลายตัวแม้จะให้ในขนาดสูงๆ ฉะนั้น จึงนิยมใช้ร่วมกับยาที่ทำาให้กล้ามเนื้อคลายตัว เช่น เคียวแร (Curare) หรือกอลลามีน (Gallamine) ฯลฯ ประโยชน์ในการใช้งาน 1. เป็นยาสลบที่นิยมใช้อย่างแพร่หลายที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อต้องการให้สลบและฟื้น
  • 4. เ และเหมาะสำาหรับการวางยาที่ไม่ต้องการผลในการทำาให้กล้ามเนื้อคลายตัว 2. ใช้เป็นยาสลบในผู้ที่เป็นโรคหืด 3. มักใช้ร่วมกับ Nitrous oxide (NzO) การออกฤทธิ์และอาการที่ไม่พึงประสงค์ ยาสลบฮาโลเธน (Halothane) มีความปลอดภัยในการใช้ตำ่า กดการหายใจและการไหล เวียนโลหิตอย่างแรง ทำาให้ตับทำางานผิดปกติถ้าใช้ติดต่อกันระยะเวลานานอาจเป็นดีซ่าน อนึ่งหลังจากฟื้นจากการสลบผู้ป่วยจะมีอาการคลื่นไส้อาเจียน แต่ไม่รุนแรง ข้อควรระวังในการใช้งาน ยาสลบตัวนี้นี้ไม่ควรใช้ในผู้ที่เป็นโรคเกี่ยวกับตับและนำ้าดีหญิงมีครรภ์หรือระหว่างการ คลอดบุตร ยาสลบเมธ็อกฟลูเรน (Methoxyflurane) ชื่ออย่างเป็นทางการ เพ็นเธรน (Penthrane) เป็นยาสลบจำาพวกอีเธอร์ (Ether) ซึ่ง อยู่ในรูปของเหลวที่ระเหยได้ ไม่ระเบิด มีฤทธิ์แรง ทำาให้สลบและฟื้นช้า มีผลต่อหัวใจและ หลอดโลหิตน้อยกว่าฮาโลเธน (Halothane) แต่ทำาให้กล้ามเนื้อลายคลายตัวได้มากกว่า ระงับปวดได้ดี ระคายเคืองหลอดลมและไม่กดการหายใจ นอก จากสลบลึกมาก ยานี้ถูก เปลี่ยนแปลงที่ตับ ประโยชน์ในการใช้งาน ยานี้ใช้ในทางสูติกรรมโดยมากมักใช้ร่วมกับไนตรัสอ๊อกไซด์ และยาที่ทำาให้กล้ามเนื้อ คลายตัว ฤทธิ์และอาการที่ไม่พึงประสงค์ ยานี้รบกวนการทำางานของไตทำาให้ถ่ายปัสสาวะมากและบ่อย ถ้าใช้ขนาดสูงอาจทำาให้ตาย ข้อควรระวังในการใช้งาน เมื่อใช้ยานี้ร่วมกับยาที่ทำาให้กล้ามเนื้อคลายตัว ต้องลดขนาดของยาลง และไม่ควรใช้กับผู้ ที่ได้รับยาเตตราซัยคลีน หรือผู้ที่เป็นโรคเกี่ยวกับตับ เช่น ดีซ่าน ฯลฯ จะเห็นว่ายาสลบแต่ละตัวใช้งานต่างกันและออกฤทธิ์รวมทั้งผลข้างเคียงที่แตกต่างกันออก ไปเช่น ยาสลบบางตัวใช้กับสัตว์ ยาสลบบางตัวใช้กับคนเช่นผ่าตัด ถอนฟัน ฯลฯ