SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
บทบรรณาธิการ
ในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่านมาคณะเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม มีโครงการสาคัญโครงการหนึ่งคือการสร้าง
ยานพาหนะพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อส่งเข้าร่วมแข่งขันในรายการ World Solar Challenge (WSC) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ
ออกแบบยานพาหนะที่ใช้เพียงพลังงานจากแสงอาทิตย์ เดินทางจากทางเมืองดาร์วิน (Darwin) ซึ่งอยู่ทางภาคเหนือของ
ประเทศออสเตรเลีย จนถึงเมืองอาดิเลด (Adelaide) ซึ่งอยู่ทางภาคใต้ของประเทศออสเตรเลีย โดยมีระยะทางรวมทั้งสิ้น
3,021 กิโลเมตร ภายในเวลา 50 ชั่วโมง โดยโครงการดังกล่าวเกิดจากแนวคิดของท่านอธิการบดี ซึ่งท่านเคยมี
ประสบการณ์ในการร่วมแข่งขันในรายการดังกล่าวตั้งแต่ยังเป็นนักศึกษาในสถาบันที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งในประเทศ
สหรัฐอเมริกา ท่านพูดกับผมว่า “ถ้าอยากรู้จักตัวเองมากขึ้น อยากรู้ว่าเรามีความสามารถมากน้อยเพียงใดถ้าเทียบกับคน
อื่นๆ ก็ลองไปแข่งกับเขาดู” แน่นอนผมตอบตกลงในทันทีเพราะนับเป็นโอกาสสาคัญที่คณาจารย์และนักศึกษาจะได้เก็บ
เกี่ยวประสบการณ์จากการแข่งขันในระดับโลกครั้งนี้ ในขณะเดียวกันอาจารย์บางท่านก็ยังคงไม่เห็นด้วยกับการเข้าร่วม
แข่งขันในครั้งนี้ โดยให้เหตุผลต่างๆ นานา เช่น เราไม่มีประสบการณ์ ยากเกินไปที่จะสร้าง คู่แข่งน่ากลัวมาก ไม่มี
งบประมาณ และบางท่านก็อ้างว่าแค่สอนกับทา มคอ. ก็ไม่มีเวลาเหลือแล้ว ฯลฯ
ผมว่าข้ออ้างต่างๆ เหล่านี้เป็นจุดอ่อนของคนไทยเราจานวนมาก ที่มักชอบที่จะปฏิเสธ ทั้งๆ ที่ยังไม่ได้เริ่มต้นทา ซึ่ง
หากเราไม่เริ่มทากันซักทีมัวแต่หาข้ออ้าง ในอนาคตประเทศของเราก็คงไม่มีศักยภาพที่จะไปแข่งกับใครๆ เขาได้ คงถึง
เวลาแล้วที่จะต้องช่วยกันเปลี่ยนวัฒนธรรมเก่าๆ ที่ฝังลึกมายาวนานตั้งแต่อดีตจนทุกวันนี้ รายการแข่งขันดังกล่าวเกิดขึ้น
ตั้งแต่ปัญหาวิกฤติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมในอดีตที่ผ่านมา นักวิจัย นักวิทยาศาสตร์และวิศวกรในแขนงต่างๆ จึง
พยายามอย่างยิ่งที่จะใช้ประโยชน์จากแหล่งพลังงานทางเลือกที่มีอยู่ มาใช้ทดแทนแหล่งพลังงานหลักซึ่งส่วนใหญ่เป็น
พลังงานสิ้นเปลืองประเภทน้ามันปิโตรเลี่ยม พลังงานแสงอาทิตย์จึงกลายเป็นแหล่งพลังงานหมุนเวียนที่ได้รับความสนใจใน
อันดับต้นๆ และได้มีการจัดการแข่งขันการออกแบบและสร้างยานพาหนะพลังงานแสงอาทิตย์ขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ.1987 ณ
ประเทศออสเตรเลีย โดยเรียกการแข่งขันในครั้งนั้นว่า World Solar Challenge (WSC) ซึ่งการจัดการแข่งขันในครั้งแรกนั้น
ผู้จัดได้เชิญบริษัทที่มีชื่อเสียงจากภาคอุตสาหกรรมยานยนต์และมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงจากทั่วโลก ร่วมออกแบบและเข้า
ร่วมในการแข่งขันดังกล่าว
ภาพยานพาหนะพลังงานแสงอาทิตย์ของทีม General Motors เมื่อปี ค.ศ. 1987
โดยการแข่งขันในครั้งนี้ นับว่าเป็นครั้งแรกของประเทศไทยที่จะมีตัวแทนไปร่วมแข่งขันในรายการดังกล่าว จึงนับว่า
เป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาเทคโนโลยียานพาหนะพลังงานแสงอาทิตย์ และเผยแพร่ผลงานของคณาจารย์และนักศึกษา
ของประเทศไทยให้เป็นที่รู้จักในเวทีระดับโลก
( ดร. ฐกฤต ปานขลิบ )
บรรณาธิการวารสารวิชาการเทคโนโลยีพลังงานและสิ่งแวดล้อม
บทบรรณาธิการ

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (11)

Cover JEET Vol 1 No.2July–December [2014]
Cover JEET Vol 1 No.2July–December [2014]Cover JEET Vol 1 No.2July–December [2014]
Cover JEET Vol 1 No.2July–December [2014]
 
05_เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภาพความดันสูงสำหรับบ่อเลี้ยงปลา Vol.1 No.1
05_เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภาพความดันสูงสำหรับบ่อเลี้ยงปลา Vol.1 No.105_เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภาพความดันสูงสำหรับบ่อเลี้ยงปลา Vol.1 No.1
05_เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภาพความดันสูงสำหรับบ่อเลี้ยงปลา Vol.1 No.1
 
แนวทางเชิงประจักษ์สำหรับการประมาณค่าความหนาแน่นและความหนืดของกรดไขมันเอทิลเอส...
แนวทางเชิงประจักษ์สำหรับการประมาณค่าความหนาแน่นและความหนืดของกรดไขมันเอทิลเอส...แนวทางเชิงประจักษ์สำหรับการประมาณค่าความหนาแน่นและความหนืดของกรดไขมันเอทิลเอส...
แนวทางเชิงประจักษ์สำหรับการประมาณค่าความหนาแน่นและความหนืดของกรดไขมันเอทิลเอส...
 
03_การประหยัดพลังงานในการเลื่อยไม้ยางพาราด้วยการควบคุมภาระมอเตอร์
03_การประหยัดพลังงานในการเลื่อยไม้ยางพาราด้วยการควบคุมภาระมอเตอร์03_การประหยัดพลังงานในการเลื่อยไม้ยางพาราด้วยการควบคุมภาระมอเตอร์
03_การประหยัดพลังงานในการเลื่อยไม้ยางพาราด้วยการควบคุมภาระมอเตอร์
 
04_การประยุกต์เกณฑ์การประเมินความยั่งยืนทางพลังงานและสิ่งแวดล้อมไทย สำหรับการ...
04_การประยุกต์เกณฑ์การประเมินความยั่งยืนทางพลังงานและสิ่งแวดล้อมไทย สำหรับการ...04_การประยุกต์เกณฑ์การประเมินความยั่งยืนทางพลังงานและสิ่งแวดล้อมไทย สำหรับการ...
04_การประยุกต์เกณฑ์การประเมินความยั่งยืนทางพลังงานและสิ่งแวดล้อมไทย สำหรับการ...
 
การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...
การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...
การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...
 
อิทธิพลขององค์ประกอบทางภูมิสถาปัตยกรรมที่มีผลต่อสภาพภูมิอากาศระดับจุลภาค
อิทธิพลขององค์ประกอบทางภูมิสถาปัตยกรรมที่มีผลต่อสภาพภูมิอากาศระดับจุลภาคอิทธิพลขององค์ประกอบทางภูมิสถาปัตยกรรมที่มีผลต่อสภาพภูมิอากาศระดับจุลภาค
อิทธิพลขององค์ประกอบทางภูมิสถาปัตยกรรมที่มีผลต่อสภาพภูมิอากาศระดับจุลภาค
 
การกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์โดยสารละลาย Fe-EDTA
การกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์โดยสารละลาย Fe-EDTAการกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์โดยสารละลาย Fe-EDTA
การกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์โดยสารละลาย Fe-EDTA
 
01_A Study of Heat Exchanger Produces Hot Water from Air Conditioning Incorp...
01_A Study of Heat Exchanger Produces Hot Water from Air Conditioning  Incorp...01_A Study of Heat Exchanger Produces Hot Water from Air Conditioning  Incorp...
01_A Study of Heat Exchanger Produces Hot Water from Air Conditioning Incorp...
 
07_โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กแบบแก๊สซิฟิเคชั่นสำหรับชุมชน Vol.1 No.1
07_โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กแบบแก๊สซิฟิเคชั่นสำหรับชุมชน Vol.1 No.107_โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กแบบแก๊สซิฟิเคชั่นสำหรับชุมชน Vol.1 No.1
07_โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กแบบแก๊สซิฟิเคชั่นสำหรับชุมชน Vol.1 No.1
 
03_การผลิตไฟฟ้าโดยใช้ก๊าซชีวภาพในโรงเลี้ยงสุกร Vol.1 No.1
03_การผลิตไฟฟ้าโดยใช้ก๊าซชีวภาพในโรงเลี้ยงสุกร Vol.1 No.103_การผลิตไฟฟ้าโดยใช้ก๊าซชีวภาพในโรงเลี้ยงสุกร Vol.1 No.1
03_การผลิตไฟฟ้าโดยใช้ก๊าซชีวภาพในโรงเลี้ยงสุกร Vol.1 No.1
 

More from วารสารวิชาการ เทคโนโลยีพลังงานและสิ่งแวดล้อม

More from วารสารวิชาการ เทคโนโลยีพลังงานและสิ่งแวดล้อม (6)

11 วารสาร jeet_ปกหลัง_นอก
11 วารสาร jeet_ปกหลัง_นอก11 วารสาร jeet_ปกหลัง_นอก
11 วารสาร jeet_ปกหลัง_นอก
 
06_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.1
06_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.106_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.1
06_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.1
 
04_เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดรอยต่อเฮเทอโร บนฐานรองผลึกเดี่ยวซิลิคอน ชนิดเอ็นที่มีชั...
04_เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดรอยต่อเฮเทอโร บนฐานรองผลึกเดี่ยวซิลิคอน ชนิดเอ็นที่มีชั...04_เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดรอยต่อเฮเทอโร บนฐานรองผลึกเดี่ยวซิลิคอน ชนิดเอ็นที่มีชั...
04_เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดรอยต่อเฮเทอโร บนฐานรองผลึกเดี่ยวซิลิคอน ชนิดเอ็นที่มีชั...
 
02_การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ระบายอากาศแบบธรรมชาติ ที่ติดตั้งกับบ้านจำลองส...
02_การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ระบายอากาศแบบธรรมชาติ ที่ติดตั้งกับบ้านจำลองส...02_การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ระบายอากาศแบบธรรมชาติ ที่ติดตั้งกับบ้านจำลองส...
02_การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ระบายอากาศแบบธรรมชาติ ที่ติดตั้งกับบ้านจำลองส...
 
00_บทบรรณาธิการ Vol.1 No.1
00_บทบรรณาธิการ Vol.1 No.100_บทบรรณาธิการ Vol.1 No.1
00_บทบรรณาธิการ Vol.1 No.1
 
01_Journal of Energy and Environment Technology Vol1 No1_Cover
01_Journal of Energy and Environment Technology Vol1 No1_Cover01_Journal of Energy and Environment Technology Vol1 No1_Cover
01_Journal of Energy and Environment Technology Vol1 No1_Cover
 

บทบรรณาธิการ

  • 1. บทบรรณาธิการ ในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่านมาคณะเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม มีโครงการสาคัญโครงการหนึ่งคือการสร้าง ยานพาหนะพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อส่งเข้าร่วมแข่งขันในรายการ World Solar Challenge (WSC) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ออกแบบยานพาหนะที่ใช้เพียงพลังงานจากแสงอาทิตย์ เดินทางจากทางเมืองดาร์วิน (Darwin) ซึ่งอยู่ทางภาคเหนือของ ประเทศออสเตรเลีย จนถึงเมืองอาดิเลด (Adelaide) ซึ่งอยู่ทางภาคใต้ของประเทศออสเตรเลีย โดยมีระยะทางรวมทั้งสิ้น 3,021 กิโลเมตร ภายในเวลา 50 ชั่วโมง โดยโครงการดังกล่าวเกิดจากแนวคิดของท่านอธิการบดี ซึ่งท่านเคยมี ประสบการณ์ในการร่วมแข่งขันในรายการดังกล่าวตั้งแต่ยังเป็นนักศึกษาในสถาบันที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งในประเทศ สหรัฐอเมริกา ท่านพูดกับผมว่า “ถ้าอยากรู้จักตัวเองมากขึ้น อยากรู้ว่าเรามีความสามารถมากน้อยเพียงใดถ้าเทียบกับคน อื่นๆ ก็ลองไปแข่งกับเขาดู” แน่นอนผมตอบตกลงในทันทีเพราะนับเป็นโอกาสสาคัญที่คณาจารย์และนักศึกษาจะได้เก็บ เกี่ยวประสบการณ์จากการแข่งขันในระดับโลกครั้งนี้ ในขณะเดียวกันอาจารย์บางท่านก็ยังคงไม่เห็นด้วยกับการเข้าร่วม แข่งขันในครั้งนี้ โดยให้เหตุผลต่างๆ นานา เช่น เราไม่มีประสบการณ์ ยากเกินไปที่จะสร้าง คู่แข่งน่ากลัวมาก ไม่มี งบประมาณ และบางท่านก็อ้างว่าแค่สอนกับทา มคอ. ก็ไม่มีเวลาเหลือแล้ว ฯลฯ ผมว่าข้ออ้างต่างๆ เหล่านี้เป็นจุดอ่อนของคนไทยเราจานวนมาก ที่มักชอบที่จะปฏิเสธ ทั้งๆ ที่ยังไม่ได้เริ่มต้นทา ซึ่ง หากเราไม่เริ่มทากันซักทีมัวแต่หาข้ออ้าง ในอนาคตประเทศของเราก็คงไม่มีศักยภาพที่จะไปแข่งกับใครๆ เขาได้ คงถึง เวลาแล้วที่จะต้องช่วยกันเปลี่ยนวัฒนธรรมเก่าๆ ที่ฝังลึกมายาวนานตั้งแต่อดีตจนทุกวันนี้ รายการแข่งขันดังกล่าวเกิดขึ้น ตั้งแต่ปัญหาวิกฤติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมในอดีตที่ผ่านมา นักวิจัย นักวิทยาศาสตร์และวิศวกรในแขนงต่างๆ จึง พยายามอย่างยิ่งที่จะใช้ประโยชน์จากแหล่งพลังงานทางเลือกที่มีอยู่ มาใช้ทดแทนแหล่งพลังงานหลักซึ่งส่วนใหญ่เป็น พลังงานสิ้นเปลืองประเภทน้ามันปิโตรเลี่ยม พลังงานแสงอาทิตย์จึงกลายเป็นแหล่งพลังงานหมุนเวียนที่ได้รับความสนใจใน อันดับต้นๆ และได้มีการจัดการแข่งขันการออกแบบและสร้างยานพาหนะพลังงานแสงอาทิตย์ขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ.1987 ณ ประเทศออสเตรเลีย โดยเรียกการแข่งขันในครั้งนั้นว่า World Solar Challenge (WSC) ซึ่งการจัดการแข่งขันในครั้งแรกนั้น ผู้จัดได้เชิญบริษัทที่มีชื่อเสียงจากภาคอุตสาหกรรมยานยนต์และมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงจากทั่วโลก ร่วมออกแบบและเข้า ร่วมในการแข่งขันดังกล่าว ภาพยานพาหนะพลังงานแสงอาทิตย์ของทีม General Motors เมื่อปี ค.ศ. 1987 โดยการแข่งขันในครั้งนี้ นับว่าเป็นครั้งแรกของประเทศไทยที่จะมีตัวแทนไปร่วมแข่งขันในรายการดังกล่าว จึงนับว่า เป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาเทคโนโลยียานพาหนะพลังงานแสงอาทิตย์ และเผยแพร่ผลงานของคณาจารย์และนักศึกษา ของประเทศไทยให้เป็นที่รู้จักในเวทีระดับโลก ( ดร. ฐกฤต ปานขลิบ ) บรรณาธิการวารสารวิชาการเทคโนโลยีพลังงานและสิ่งแวดล้อม