SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
ลิขสิทธิ์ของบริษัท สํานักพิมพเอมพันธ จํากัด วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๓ 30
การพัฒนาทองถิ่นไทย
สาระการเรียนรู
๑. สภาพปญหาของทองถิ่นในปจจุบันทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม
และสิ่งแวดลอม
๒. การนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใช
ในทองถิ่น
๓. แนวทางการแกไขปญหาและพัฒนาทองถิ่นตามปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
๔. ตัวอยางทองถิ่นที่นําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ไปประยุกตใช
ห
นวยการเ
รียนรูที่
๓
แผนที่ ñ 3030
ลิขสิทธิ์ของบริษัท สํานักพิมพเอมพันธ จํากัด วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๓ 31แผนที่ ๒
สภาพปญหาของทองถิ่นในปจจุบัน
ทั้งดานเศรษฐกิจสังคม
และสิ่งแวดลอม
สภาพปญหาของทองถิ่นในปจจุบัน
ทองถิ่นมีความสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ
ประเทศในฐานะเปนรากฐานสําคัญทางการผลิตสินคาและบริการ
สภาพปญหาของทองถิ่นในปจจุบันมีสาเหตุสําคัญดังตอไปนี้
ประการแรก ทรัพยากรธรรมชาติที่เคยใชเปนวัตถุดิบใน
การผลิตสินคาไดลดลงและเสื่อมโทรมลงไปมาก
ประการที่สอง แมจะมีการสงเสริมเทคโนโลยีทางการเกษตร
แตการถายทอดเทคโนโลยีดังกลาวขาดประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลในพื้นที่สวนใหญ เนื่องจากสภาพแวดลอมทาง
เศรษฐกิจไมเอื้ออํานวยตอการพัฒนานวัตกรรม
ประการที่สาม ปญหาคุณภาพการศึกษาของแรงงานไทย
ยังไมกาวหนาเทาที่ควร
ประการที่สี่ ระบบเศรษฐกิจโลกเปลี่ยนแปลงสลับซับซอน
สงผลกระทบตอเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิถีชีวิตและคานิยม
ของผูคนในทุกทองถิ่น
ลิขสิทธิ์ของบริษัท สํานักพิมพเอมพันธ จํากัด วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๓ 32แผนที่ ó
ปญหาของคนในทองถิ่นมีพื้นฐานที่คลายคลึงกัน คือ
ปญหาดานเศรษฐกิจ อาชีพเกษตรกรรม อาศัย
ดินฟาอากาศเปนตัวแปรสําคัญ จึงทําใหเผชิญกับความเสี่ยง
ปญหาดานสังคมเกิดจากการปรับตัวของชนบทและ
สังคมไมทันกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของภาวะเศรษฐกิจ
อันเนื่องมาจากความเหลื่อมลํ้าของการกระจายรายได ปญหา
ดานสังคมสรุปได ดังนี้
๑. โครงสรางของสังคมถูกเปลี่ยนแปลงเขาสูสังคม
ผูสูงอายุและสังคมเมืองมากขึ้น
๒. ปญหาสภาพความเปนอยูและมาตรฐานการครองชีพ
ของคนสวนใหญในชนบทยังมีความยากจนอยูมาก
๓. ปญหาความเสื่อมโทรมทางดานจิตใจและศีลธรรม
๔. ปญหายาเสพติดทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
๕. ปญหาการบริการทางสังคมที่ไมทั่วถึง
๖. ปญหาประชากรในชนบทยังดอยโอกาสทางการศึกษา
๗. ปญหาดานสาธารณสุขที่ไมสามารถกระจายได
เพียงพอกับความตองการของประชาชน
ปญหาดานสิ่งแวดลอมเกิดจากความเสื่อมโทรมของ
ทรัพยากรธรรมชาติมีมากขึ้นเนื่องจากมีการนําที่ดิน ปาไม
แหลงนํ้าแร สัตวนํ้า มาใชในอัตราสูง และทําลายกันมากขึ้น
ลิขสิทธิ์ของบริษัท สํานักพิมพเอมพันธ จํากัด วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๓ 33แผนที่ ๔
โดยสรุปสภาพปญหาของทองถิ่นในปจจุบันเกิดจากการ
พัฒนาประเทศที่ผานมามีการนําทรัพยากรธรรมชาติมาใชเพื่อ
การพัฒนาประเทศอยางฟุมเฟอย กอใหเกิดวิกฤตทางสังคม
ประชาชนมีวิถีชีวิต ความเปนอยูแตกตางกันมากขึ้น
จากแนวพระราชดําริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงสามารถอธิบาย
หลักการสําคัญไดดังนี้
๑. การพึ่งพาตนเองเปนหลัก
๒. การพึ่งพากันเองเปนหลัก
๓. การมีหลักการจัดการที่ดี
การนําหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใช
ในทองถิ่น
ลิขสิทธิ์ของบริษัท สํานักพิมพเอมพันธ จํากัด วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๓ 34แผนที่ õ
บทบาทของการพัฒนาประเทศในอนาคตอยางเหมาะสม
สอดคลองกับศักยภาพและบทบาททางเศรษฐกิจในแตละทองถิ่น
มีดังนี้
๑. พัฒนาสูความเปนศูนยกลางเศรษฐกิจของภูมิภาค
๒. พัฒนาเปนประตูเศรษฐกิจเชื่อมโยงกลุมประเทศ
เพื่อนบานและภูมิภาค
๓. พัฒนาเปนแกนประสานการเจรจาเสริมสราง
สันติภาพในภูมิภาค
๔. พัฒนาเปนสังคมและชุมชนที่เขมแข็ง มีระบบ
บริหารจัดการที่ดีในทุกระดับ
แนวทางการแกไขปญหาและ
พัฒนาทองถิ่นตามปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
การนอมนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชเปนแนวทาง
ในการแกไขปญหาและพัฒนาทองถิ่นจําเปนตองยึดแนวทาง
การดําเนินชีวิต ดังนี้
๑. การประหยัด
๒. การประกอบอาชีพสุจริต
๓. การเลิกแยงผลประโยชนและแขงขันกันทางการคา
๔. การใฝหาความรู
๕. การปฏิบัติตนตามแนวทางที่ดี
ลิขสิทธิ์ของบริษัท สํานักพิมพเอมพันธ จํากัด วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๓ 35แผนที่ ๖
การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพื้นที่ตางๆ
ในภูมิภาค โดยมีแนวปฏิบัติดังนี้
๑. เพิ่มความรูและขีดความสามารถของคนในชุมชน
ใหรูจักตนเอง
๒. สนับสนุนใหเกิดการบริหารจัดการที่ดีขึ้นในระดับ
ตางๆ
๓. ใชยุทธศาสตรการพัฒนาที่เปนองครวมเพื่อความ
สมดุล และยั่งยืน

เศรษฐศาสตร์บทที่ 3

  • 1. ลิขสิทธิ์ของบริษัท สํานักพิมพเอมพันธ จํากัด วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๓ 30 การพัฒนาทองถิ่นไทย สาระการเรียนรู ๑. สภาพปญหาของทองถิ่นในปจจุบันทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ๒. การนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใช ในทองถิ่น ๓. แนวทางการแกไขปญหาและพัฒนาทองถิ่นตามปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ๔. ตัวอยางทองถิ่นที่นําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปประยุกตใช ห นวยการเ รียนรูที่ ๓ แผนที่ ñ 3030
  • 2. ลิขสิทธิ์ของบริษัท สํานักพิมพเอมพันธ จํากัด วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๓ 31แผนที่ ๒ สภาพปญหาของทองถิ่นในปจจุบัน ทั้งดานเศรษฐกิจสังคม และสิ่งแวดลอม สภาพปญหาของทองถิ่นในปจจุบัน ทองถิ่นมีความสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศในฐานะเปนรากฐานสําคัญทางการผลิตสินคาและบริการ สภาพปญหาของทองถิ่นในปจจุบันมีสาเหตุสําคัญดังตอไปนี้ ประการแรก ทรัพยากรธรรมชาติที่เคยใชเปนวัตถุดิบใน การผลิตสินคาไดลดลงและเสื่อมโทรมลงไปมาก ประการที่สอง แมจะมีการสงเสริมเทคโนโลยีทางการเกษตร แตการถายทอดเทคโนโลยีดังกลาวขาดประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลในพื้นที่สวนใหญ เนื่องจากสภาพแวดลอมทาง เศรษฐกิจไมเอื้ออํานวยตอการพัฒนานวัตกรรม ประการที่สาม ปญหาคุณภาพการศึกษาของแรงงานไทย ยังไมกาวหนาเทาที่ควร ประการที่สี่ ระบบเศรษฐกิจโลกเปลี่ยนแปลงสลับซับซอน สงผลกระทบตอเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิถีชีวิตและคานิยม ของผูคนในทุกทองถิ่น
  • 3. ลิขสิทธิ์ของบริษัท สํานักพิมพเอมพันธ จํากัด วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๓ 32แผนที่ ó ปญหาของคนในทองถิ่นมีพื้นฐานที่คลายคลึงกัน คือ ปญหาดานเศรษฐกิจ อาชีพเกษตรกรรม อาศัย ดินฟาอากาศเปนตัวแปรสําคัญ จึงทําใหเผชิญกับความเสี่ยง ปญหาดานสังคมเกิดจากการปรับตัวของชนบทและ สังคมไมทันกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของภาวะเศรษฐกิจ อันเนื่องมาจากความเหลื่อมลํ้าของการกระจายรายได ปญหา ดานสังคมสรุปได ดังนี้ ๑. โครงสรางของสังคมถูกเปลี่ยนแปลงเขาสูสังคม ผูสูงอายุและสังคมเมืองมากขึ้น ๒. ปญหาสภาพความเปนอยูและมาตรฐานการครองชีพ ของคนสวนใหญในชนบทยังมีความยากจนอยูมาก ๓. ปญหาความเสื่อมโทรมทางดานจิตใจและศีลธรรม ๔. ปญหายาเสพติดทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ๕. ปญหาการบริการทางสังคมที่ไมทั่วถึง ๖. ปญหาประชากรในชนบทยังดอยโอกาสทางการศึกษา ๗. ปญหาดานสาธารณสุขที่ไมสามารถกระจายได เพียงพอกับความตองการของประชาชน ปญหาดานสิ่งแวดลอมเกิดจากความเสื่อมโทรมของ ทรัพยากรธรรมชาติมีมากขึ้นเนื่องจากมีการนําที่ดิน ปาไม แหลงนํ้าแร สัตวนํ้า มาใชในอัตราสูง และทําลายกันมากขึ้น
  • 4. ลิขสิทธิ์ของบริษัท สํานักพิมพเอมพันธ จํากัด วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๓ 33แผนที่ ๔ โดยสรุปสภาพปญหาของทองถิ่นในปจจุบันเกิดจากการ พัฒนาประเทศที่ผานมามีการนําทรัพยากรธรรมชาติมาใชเพื่อ การพัฒนาประเทศอยางฟุมเฟอย กอใหเกิดวิกฤตทางสังคม ประชาชนมีวิถีชีวิต ความเปนอยูแตกตางกันมากขึ้น จากแนวพระราชดําริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงสามารถอธิบาย หลักการสําคัญไดดังนี้ ๑. การพึ่งพาตนเองเปนหลัก ๒. การพึ่งพากันเองเปนหลัก ๓. การมีหลักการจัดการที่ดี การนําหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใช ในทองถิ่น
  • 5. ลิขสิทธิ์ของบริษัท สํานักพิมพเอมพันธ จํากัด วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๓ 34แผนที่ õ บทบาทของการพัฒนาประเทศในอนาคตอยางเหมาะสม สอดคลองกับศักยภาพและบทบาททางเศรษฐกิจในแตละทองถิ่น มีดังนี้ ๑. พัฒนาสูความเปนศูนยกลางเศรษฐกิจของภูมิภาค ๒. พัฒนาเปนประตูเศรษฐกิจเชื่อมโยงกลุมประเทศ เพื่อนบานและภูมิภาค ๓. พัฒนาเปนแกนประสานการเจรจาเสริมสราง สันติภาพในภูมิภาค ๔. พัฒนาเปนสังคมและชุมชนที่เขมแข็ง มีระบบ บริหารจัดการที่ดีในทุกระดับ แนวทางการแกไขปญหาและ พัฒนาทองถิ่นตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง การนอมนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชเปนแนวทาง ในการแกไขปญหาและพัฒนาทองถิ่นจําเปนตองยึดแนวทาง การดําเนินชีวิต ดังนี้ ๑. การประหยัด ๒. การประกอบอาชีพสุจริต ๓. การเลิกแยงผลประโยชนและแขงขันกันทางการคา ๔. การใฝหาความรู ๕. การปฏิบัติตนตามแนวทางที่ดี
  • 6. ลิขสิทธิ์ของบริษัท สํานักพิมพเอมพันธ จํากัด วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๓ 35แผนที่ ๖ การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพื้นที่ตางๆ ในภูมิภาค โดยมีแนวปฏิบัติดังนี้ ๑. เพิ่มความรูและขีดความสามารถของคนในชุมชน ใหรูจักตนเอง ๒. สนับสนุนใหเกิดการบริหารจัดการที่ดีขึ้นในระดับ ตางๆ ๓. ใชยุทธศาสตรการพัฒนาที่เปนองครวมเพื่อความ สมดุล และยั่งยืน