SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
1
การทิ้งของเสียสารเคมี
สำหรับของเสียประเภทสารเคมีจากงานห้องปฏิบัติการวิจัย สามารถนำมาทิ้งที่คลังเก็บของเสียกลางได้ โดยสถานที่เก็บ
ของเสียกลางจะตั้งอยู่ภายในส่วนของห้องปฏิบัติการไอโซโทปเก่า (ห้อง 314) ซึ่งตั้งอยู่ด้านในสุดของหน่วยปฏิบัติการวิจัยติด
กับหน่วยวิจัยชีวเคมีและเคมีวิเคราะห์ (รูปที่ 1)
รูปที่ 1 แสดงสถานที่ตั้งของจุดเก็บของเสียเคมีกลาง
โดยมีการจัดดจำแนกประเภทของของเสียเคมีดังนี้
1. ของเสียเคมีไวไฟ (flammable waste)
1.1 ของเสียประเภทสารผสมแอลกอฮอล์ (FL01) เป็นของเสียไวไฟประเภทแอลกอฮอล์ผสม ที่มีแอลกอฮอล์เป็น
องค์ประกอบหลัก ตัวอย่างเช่น methanol, ethanol, isopropanol โดยอาจมีส่วนผสมของสารในกลุ่มอื่นอีก
เล็กน้อย เช่น acetone, acetonitrile, acetic acid เป็นต้น
1.2 ของเสียประเภทแอลกอฮอล์ที่มีการปอเปื้อนโลหะ (FL02) เป็นของเสียในกลุ่ม FL01 ที่มีการปนเปื้อนของโลหะ
เช่น silver nitrate, niggle chloride หรืออาจเป็นสารประกอบใด ๆ ที่มีโลหะอันตรายเป็นองค์ประกอบ เช่น มี
การปนเปื้อนสารหนู (arsenic) เป็นต้น
1.3 ของเสียประเภทสีย้อม (FL03) เป็นของเสียที่มีการปนเปื้อนของสีย้อม (straining dye) เช่น crystal violet หรือ
Coomassie brilliant blue เป็นต้น (*สีย้อม DAB ไม่จัดอยู่ในของเสียประเภทนี้)
1.4 สารเคมีอินทรีย์ที่มีไนโตเจน ฟอสฟอรัส หรือ ซัลเฟอร์ในองค์ประกอบ (FL04) โดยของเสียในกลุ่มนี้จะเป็นของเสีย
อินทรีย์ที่มี NPS เป็นส่วนหนึ่งในโครงสร้าง เช่น acetonitrile, formamide, dimethyl sulfoxide เป็นต้น
1.5 สารประกอบไฮโดรคาร์บอนทั่วไป (FL05) เป็นของเสียประเภทสารไฮโดรคาร์บอนทั่วไป (มีแค่ C และ H เป็น
องค์ประกอบในโมเลกุล) เช่น xylene, isopentane เป็นต้น
2. ของเสียมีพิษ (toxic waste)
2.1 Diaminobenzidine (TX01) เป็นของเสียที่มีการปนเปื้อนของสาร 3,3’-diaminobenzidine (DAB) ซึ่งใช้ในการ
ทำ Immunohistochemistry
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
F
a
c
u
l
t
y
o
f
M
e
d
i
c
i
n
e
2
2.2 Ethidium bromide (TX02) เป็นของเสียจากการย้อมกรดนิวคลีอิก ซึ่งในปัจจุบันทางสำนักงานวิจัยฯ ได้ประกาศ
ยกเลิกการใช้ ethidium bromide ในห้องปฏิบัติการแล้ว (เมื่อวันที่ 15 ก.พ. 2565) โดยหันไปใช้สารเคมีตัวอื่นที่
เป็นอันตรายน้อยกว่าในการย้อมกรดนิวคลีอิกแทน (แต่อาจจะยังมีการใช้อยู่บ้างเล็กน้อย)
2.3 ของเสียเคมีอินทรีย์ที่มีฮาโลเจน (TX03) เป็นของเสียอินทรีย์ที่มีฮาโลเจนเป็นองค์ประกอบในโมเลกุล เช่น
chloroform เป็นต้น
3. ของเสียที่มีฤทธิ์กัดกร่อน (corrosive waste)
3.1 ของเสียประเภทกรด (CR01) เป็นของเสียที่มีค่า pH ต่ำกว่า 7 ซึ่งโดยทั่วไป ของเสียประเภทนี้สามารถสะเทินได้
ด้วยการเติม 1M NaOH จนมีฤทธิ์เป็นกลาง (pH ใกล้เคียง 7) ซึ่งสามารถเช็คได้โดยใช้กระดาษขมิ้น (ไม่เปลี่ยนสี
กระดาษขมิ้น) กระดาษลิตมัส (ไม่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสทั้งสีน้ำเงินและแดง) หรือ กระดาษยูนิเวอร์ซัล แล้วทำการ
ทิ้งลงระบบน้ำเสียได้เลย โดยเปิดน้ำตามมาก ๆ แต่หากของเสียมีปริมาณมากยากต่อการกำจัดด้วยวิธีดังกล่าว ก็
สามารถนำมาส่งทิ้ง ณ จุดเก็บของเสียกลางได้
3.2 ของเสียประเภทเบส (CR02) เป็นของเสียที่มีค่า pH สูงกว่า 7 ซึ่งสามารถสะเทินได้ด้วยการเติม 1M HCl จนมีฤทธิ์
เป็นกลาง (pH ใกล้เคียง 7) เล่นทำการทิ้งลงท่อน้ำทิ้ง หรือส่งได้ของเสียส่วนกลางได้เช่นเดียวกับของเสียประเภท
กรด
4. ของเสียที่มีคุณสมบัติไม่ตรงกับประเภทที่กำหนด (uncategorized waste, UC)
เป็นของเสียที่ไม่เข้าข่ายในเกณฑ์จัดจำแนกขั้นต้น โดยหากต้องการทิ้งของเสียประเภทนี้ หรือไม่แน่ใจว่าของเสียของท่าน
เข้าเกณฑ์ของเสียประเภทใด กรุณาติดต่อผู้ประสานงาน ดังต่อไปนี้
1. คุณวัชระ วิมลทรง เบอร์โทรภายใน 1590
2. คุณอรุณ เล้าเฮง เบอร์โทรภายใน 1838
เพื่อให้ผู้ประสานงานทำการจำแนกและจัดหาบรรจุภัณฑ์สำหรับบรรจุของเสียเคมีให้ ห้ามผู้ใช้งานเปิดใช้งานบรรจุภัณฑ์เอง
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
F
a
c
u
l
t
y
o
f
M
e
d
i
c
i
n
e
3
สำหรับเกณ์ในการจำแนกประเภทของของเสียสามารถศึกษาได้ดังแผนผังด้านล่าง
รูปที่ 2 แผนผังการจำแนกประเภทของของเสียเคมี
โดยหากมีของเสียในลำดับการพิจารณาที่สำคัญกว่า (พิจารณาก่อน) ปนเปื้อนไม่เกิน 5% (w/w, v/v, w/v) สามารถทิ้งรวมกับ
ของเสียในลำดับพิจารณาที่ต่ำกว่าได้ เช่น สารละลายไฮโดรคาร์บอนที่มีแอลกอฮอล์ปนอยู่ 3% สามารถทิ้งใน hydrocarbon
waste ได้เลย ยกเว้น สารที่อยู่ในกลุ่มด้านซ้ายของแผนผัง ให้แยกที่ตามลำดับการพิจารณาที่สูงที่สุดเสมอ เช่น แอลกอฮอล์ที่มี
โลหะปนเปื้อนอยู่ 1% ให้ทิ้งใน metal-contaminated waste หากท่านไม่แน่ใจในการจำแนกโปรดติดต่อเจ้าหน้าที่
ผู้รับผิดชอบ (คุณวัชระ โทร 1590)
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
F
a
c
u
l
t
y
o
f
M
e
d
i
c
i
n
e
4
ผู้ที่ประสงค์จะส่งเก็บของเสียกับทางคลังเก็บของเสียกลางของสำนักงานวิจัย จำเป็นต้องลงรายละเอียดต่าง ๆ ผ่าน QR
code ณ จุดทิ้ง (รูปที่ 3) ทุกครั้ง โดยทำการนำของเสียเทลงในขวดบรรจุของเสียที่เตรียมไว้ให้ โดยให้ทำการถ่ายของเสียโดย
ใช้กรวยซึ่งอยู่ภายในตู้ดูดควันซึ่งตั้งอยู่บริเวณสถานที่เก็บของเสีย (รูปที่ 4) และทำการเปิดตู้ดูดควันและเลื่อนกระจกลงมาให้
เหมาะสม จากนั้นทำการปิดภาชนะบรรจุของเสียให้แน่นสนิทและนำไปวางไว้ ณ จุดพักเพื่อป้องกันกลิ่นของสารเคมีฟุ้ง
กระจายภายในห้องปฏิบัติงาน หากของเสียหกเลอะบริเวณภายในตู้สามารถเช็ดทำความสะอาดได้โดยใช้กระดาษทิชชูซับให้
แห้งก่อนจากนั้นเช็ดออกด้วย 70% ethanol จนสะอาด (ทิชชูจากการเช็ดทำความสะอาด ให้ทิ้งลงในขยะอันตรายถุงสีเทา)
กรณีที่ไม่มีบรรจุภัณฑ์เตรียมไว้ กรุณาติดต่อผู้ประสานงานเพื่อให้ผู้ประสานงานจัดหาบรรจุภัณฑ์ให้ ห้ามผู้ใช้งานเปิดใช้
งานบรรจุภัณฑ์เองโดยเด็ดขาด
รูปที่ 3 แบบบันทึกข้อมูลการทิ้งของเสีย รูปที่ 4 ตู้ดูดควันสำหรับถ่ายของเสียเคมี
อิเล็กทรอนิกส์ (e-logbook)
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
F
a
c
u
l
t
y
o
f
M
e
d
i
c
i
n
e

More Related Content

More from Tassanee Lerksuthirat

มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdfมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
Tassanee Lerksuthirat
 
คู่มือจริยธรรมสำหรับผู้ประเมินโครงการวิจัยผลงานวิชาการและผลงานวิจัย.pdf
คู่มือจริยธรรมสำหรับผู้ประเมินโครงการวิจัยผลงานวิชาการและผลงานวิจัย.pdfคู่มือจริยธรรมสำหรับผู้ประเมินโครงการวิจัยผลงานวิชาการและผลงานวิจัย.pdf
คู่มือจริยธรรมสำหรับผู้ประเมินโครงการวิจัยผลงานวิชาการและผลงานวิจัย.pdf
Tassanee Lerksuthirat
 

More from Tassanee Lerksuthirat (20)

Note in RIAC2023 (day 2)
Note in RIAC2023 (day 2)Note in RIAC2023 (day 2)
Note in RIAC2023 (day 2)
 
Note in RIAC2023 (day 1)
Note in RIAC2023 (day 1)Note in RIAC2023 (day 1)
Note in RIAC2023 (day 1)
 
คู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย
คู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัยคู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย
คู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย
 
Sentiment Analysis for Public Opinions in Healthcare_Redacted.pdf
Sentiment Analysis for Public Opinions in Healthcare_Redacted.pdfSentiment Analysis for Public Opinions in Healthcare_Redacted.pdf
Sentiment Analysis for Public Opinions in Healthcare_Redacted.pdf
 
Upright microscope location
Upright microscope locationUpright microscope location
Upright microscope location
 
Upright Lens
Upright LensUpright Lens
Upright Lens
 
Computer specification
Computer specificationComputer specification
Computer specification
 
MU saving seminar note
MU saving seminar noteMU saving seminar note
MU saving seminar note
 
Nikon Ti-U Manual (Eng)
Nikon Ti-U Manual (Eng)Nikon Ti-U Manual (Eng)
Nikon Ti-U Manual (Eng)
 
Ci-S-Ci-L (Eng-Manual).pdf
Ci-S-Ci-L (Eng-Manual).pdfCi-S-Ci-L (Eng-Manual).pdf
Ci-S-Ci-L (Eng-Manual).pdf
 
Fluorescence microscope (Ci-L) - SOP
Fluorescence microscope (Ci-L) - SOPFluorescence microscope (Ci-L) - SOP
Fluorescence microscope (Ci-L) - SOP
 
Fluorescence microscope (Ti Series) - SOP
Fluorescence microscope (Ti Series) - SOPFluorescence microscope (Ti Series) - SOP
Fluorescence microscope (Ti Series) - SOP
 
Legal Guidelines on Practices in Case of Damages to the Workplace
Legal Guidelines on Practices in Case of Damages to the WorkplaceLegal Guidelines on Practices in Case of Damages to the Workplace
Legal Guidelines on Practices in Case of Damages to the Workplace
 
Research Ethics Discussion Mahidol U
Research Ethics Discussion Mahidol UResearch Ethics Discussion Mahidol U
Research Ethics Discussion Mahidol U
 
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdfมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
 
คู่มือจริยธรรมสำหรับผู้ประเมินโครงการวิจัยผลงานวิชาการและผลงานวิจัย.pdf
คู่มือจริยธรรมสำหรับผู้ประเมินโครงการวิจัยผลงานวิชาการและผลงานวิจัย.pdfคู่มือจริยธรรมสำหรับผู้ประเมินโครงการวิจัยผลงานวิชาการและผลงานวิจัย.pdf
คู่มือจริยธรรมสำหรับผู้ประเมินโครงการวิจัยผลงานวิชาการและผลงานวิจัย.pdf
 
Laboratory Policy Announcement 2023-2027.pdf
Laboratory Policy Announcement 2023-2027.pdfLaboratory Policy Announcement 2023-2027.pdf
Laboratory Policy Announcement 2023-2027.pdf
 
Appointing a team to oversee a microbiology research laboratory
Appointing a team to oversee a microbiology research laboratoryAppointing a team to oversee a microbiology research laboratory
Appointing a team to oversee a microbiology research laboratory
 
Services from Occupationa Health and Safety
Services from Occupationa Health and SafetyServices from Occupationa Health and Safety
Services from Occupationa Health and Safety
 
Healthcare policy for working personnel
Healthcare policy for working personnelHealthcare policy for working personnel
Healthcare policy for working personnel
 

Waste Management at RC

  • 1. 1 การทิ้งของเสียสารเคมี สำหรับของเสียประเภทสารเคมีจากงานห้องปฏิบัติการวิจัย สามารถนำมาทิ้งที่คลังเก็บของเสียกลางได้ โดยสถานที่เก็บ ของเสียกลางจะตั้งอยู่ภายในส่วนของห้องปฏิบัติการไอโซโทปเก่า (ห้อง 314) ซึ่งตั้งอยู่ด้านในสุดของหน่วยปฏิบัติการวิจัยติด กับหน่วยวิจัยชีวเคมีและเคมีวิเคราะห์ (รูปที่ 1) รูปที่ 1 แสดงสถานที่ตั้งของจุดเก็บของเสียเคมีกลาง โดยมีการจัดดจำแนกประเภทของของเสียเคมีดังนี้ 1. ของเสียเคมีไวไฟ (flammable waste) 1.1 ของเสียประเภทสารผสมแอลกอฮอล์ (FL01) เป็นของเสียไวไฟประเภทแอลกอฮอล์ผสม ที่มีแอลกอฮอล์เป็น องค์ประกอบหลัก ตัวอย่างเช่น methanol, ethanol, isopropanol โดยอาจมีส่วนผสมของสารในกลุ่มอื่นอีก เล็กน้อย เช่น acetone, acetonitrile, acetic acid เป็นต้น 1.2 ของเสียประเภทแอลกอฮอล์ที่มีการปอเปื้อนโลหะ (FL02) เป็นของเสียในกลุ่ม FL01 ที่มีการปนเปื้อนของโลหะ เช่น silver nitrate, niggle chloride หรืออาจเป็นสารประกอบใด ๆ ที่มีโลหะอันตรายเป็นองค์ประกอบ เช่น มี การปนเปื้อนสารหนู (arsenic) เป็นต้น 1.3 ของเสียประเภทสีย้อม (FL03) เป็นของเสียที่มีการปนเปื้อนของสีย้อม (straining dye) เช่น crystal violet หรือ Coomassie brilliant blue เป็นต้น (*สีย้อม DAB ไม่จัดอยู่ในของเสียประเภทนี้) 1.4 สารเคมีอินทรีย์ที่มีไนโตเจน ฟอสฟอรัส หรือ ซัลเฟอร์ในองค์ประกอบ (FL04) โดยของเสียในกลุ่มนี้จะเป็นของเสีย อินทรีย์ที่มี NPS เป็นส่วนหนึ่งในโครงสร้าง เช่น acetonitrile, formamide, dimethyl sulfoxide เป็นต้น 1.5 สารประกอบไฮโดรคาร์บอนทั่วไป (FL05) เป็นของเสียประเภทสารไฮโดรคาร์บอนทั่วไป (มีแค่ C และ H เป็น องค์ประกอบในโมเลกุล) เช่น xylene, isopentane เป็นต้น 2. ของเสียมีพิษ (toxic waste) 2.1 Diaminobenzidine (TX01) เป็นของเสียที่มีการปนเปื้อนของสาร 3,3’-diaminobenzidine (DAB) ซึ่งใช้ในการ ทำ Immunohistochemistry R e s e a r c h C e n t e r R a m a t h i b o d i H o s p i t a l F a c u l t y o f M e d i c i n e
  • 2. 2 2.2 Ethidium bromide (TX02) เป็นของเสียจากการย้อมกรดนิวคลีอิก ซึ่งในปัจจุบันทางสำนักงานวิจัยฯ ได้ประกาศ ยกเลิกการใช้ ethidium bromide ในห้องปฏิบัติการแล้ว (เมื่อวันที่ 15 ก.พ. 2565) โดยหันไปใช้สารเคมีตัวอื่นที่ เป็นอันตรายน้อยกว่าในการย้อมกรดนิวคลีอิกแทน (แต่อาจจะยังมีการใช้อยู่บ้างเล็กน้อย) 2.3 ของเสียเคมีอินทรีย์ที่มีฮาโลเจน (TX03) เป็นของเสียอินทรีย์ที่มีฮาโลเจนเป็นองค์ประกอบในโมเลกุล เช่น chloroform เป็นต้น 3. ของเสียที่มีฤทธิ์กัดกร่อน (corrosive waste) 3.1 ของเสียประเภทกรด (CR01) เป็นของเสียที่มีค่า pH ต่ำกว่า 7 ซึ่งโดยทั่วไป ของเสียประเภทนี้สามารถสะเทินได้ ด้วยการเติม 1M NaOH จนมีฤทธิ์เป็นกลาง (pH ใกล้เคียง 7) ซึ่งสามารถเช็คได้โดยใช้กระดาษขมิ้น (ไม่เปลี่ยนสี กระดาษขมิ้น) กระดาษลิตมัส (ไม่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสทั้งสีน้ำเงินและแดง) หรือ กระดาษยูนิเวอร์ซัล แล้วทำการ ทิ้งลงระบบน้ำเสียได้เลย โดยเปิดน้ำตามมาก ๆ แต่หากของเสียมีปริมาณมากยากต่อการกำจัดด้วยวิธีดังกล่าว ก็ สามารถนำมาส่งทิ้ง ณ จุดเก็บของเสียกลางได้ 3.2 ของเสียประเภทเบส (CR02) เป็นของเสียที่มีค่า pH สูงกว่า 7 ซึ่งสามารถสะเทินได้ด้วยการเติม 1M HCl จนมีฤทธิ์ เป็นกลาง (pH ใกล้เคียง 7) เล่นทำการทิ้งลงท่อน้ำทิ้ง หรือส่งได้ของเสียส่วนกลางได้เช่นเดียวกับของเสียประเภท กรด 4. ของเสียที่มีคุณสมบัติไม่ตรงกับประเภทที่กำหนด (uncategorized waste, UC) เป็นของเสียที่ไม่เข้าข่ายในเกณฑ์จัดจำแนกขั้นต้น โดยหากต้องการทิ้งของเสียประเภทนี้ หรือไม่แน่ใจว่าของเสียของท่าน เข้าเกณฑ์ของเสียประเภทใด กรุณาติดต่อผู้ประสานงาน ดังต่อไปนี้ 1. คุณวัชระ วิมลทรง เบอร์โทรภายใน 1590 2. คุณอรุณ เล้าเฮง เบอร์โทรภายใน 1838 เพื่อให้ผู้ประสานงานทำการจำแนกและจัดหาบรรจุภัณฑ์สำหรับบรรจุของเสียเคมีให้ ห้ามผู้ใช้งานเปิดใช้งานบรรจุภัณฑ์เอง R e s e a r c h C e n t e r R a m a t h i b o d i H o s p i t a l F a c u l t y o f M e d i c i n e
  • 3. 3 สำหรับเกณ์ในการจำแนกประเภทของของเสียสามารถศึกษาได้ดังแผนผังด้านล่าง รูปที่ 2 แผนผังการจำแนกประเภทของของเสียเคมี โดยหากมีของเสียในลำดับการพิจารณาที่สำคัญกว่า (พิจารณาก่อน) ปนเปื้อนไม่เกิน 5% (w/w, v/v, w/v) สามารถทิ้งรวมกับ ของเสียในลำดับพิจารณาที่ต่ำกว่าได้ เช่น สารละลายไฮโดรคาร์บอนที่มีแอลกอฮอล์ปนอยู่ 3% สามารถทิ้งใน hydrocarbon waste ได้เลย ยกเว้น สารที่อยู่ในกลุ่มด้านซ้ายของแผนผัง ให้แยกที่ตามลำดับการพิจารณาที่สูงที่สุดเสมอ เช่น แอลกอฮอล์ที่มี โลหะปนเปื้อนอยู่ 1% ให้ทิ้งใน metal-contaminated waste หากท่านไม่แน่ใจในการจำแนกโปรดติดต่อเจ้าหน้าที่ ผู้รับผิดชอบ (คุณวัชระ โทร 1590) R e s e a r c h C e n t e r R a m a t h i b o d i H o s p i t a l F a c u l t y o f M e d i c i n e
  • 4. 4 ผู้ที่ประสงค์จะส่งเก็บของเสียกับทางคลังเก็บของเสียกลางของสำนักงานวิจัย จำเป็นต้องลงรายละเอียดต่าง ๆ ผ่าน QR code ณ จุดทิ้ง (รูปที่ 3) ทุกครั้ง โดยทำการนำของเสียเทลงในขวดบรรจุของเสียที่เตรียมไว้ให้ โดยให้ทำการถ่ายของเสียโดย ใช้กรวยซึ่งอยู่ภายในตู้ดูดควันซึ่งตั้งอยู่บริเวณสถานที่เก็บของเสีย (รูปที่ 4) และทำการเปิดตู้ดูดควันและเลื่อนกระจกลงมาให้ เหมาะสม จากนั้นทำการปิดภาชนะบรรจุของเสียให้แน่นสนิทและนำไปวางไว้ ณ จุดพักเพื่อป้องกันกลิ่นของสารเคมีฟุ้ง กระจายภายในห้องปฏิบัติงาน หากของเสียหกเลอะบริเวณภายในตู้สามารถเช็ดทำความสะอาดได้โดยใช้กระดาษทิชชูซับให้ แห้งก่อนจากนั้นเช็ดออกด้วย 70% ethanol จนสะอาด (ทิชชูจากการเช็ดทำความสะอาด ให้ทิ้งลงในขยะอันตรายถุงสีเทา) กรณีที่ไม่มีบรรจุภัณฑ์เตรียมไว้ กรุณาติดต่อผู้ประสานงานเพื่อให้ผู้ประสานงานจัดหาบรรจุภัณฑ์ให้ ห้ามผู้ใช้งานเปิดใช้ งานบรรจุภัณฑ์เองโดยเด็ดขาด รูปที่ 3 แบบบันทึกข้อมูลการทิ้งของเสีย รูปที่ 4 ตู้ดูดควันสำหรับถ่ายของเสียเคมี อิเล็กทรอนิกส์ (e-logbook) R e s e a r c h C e n t e r R a m a t h i b o d i H o s p i t a l F a c u l t y o f M e d i c i n e