SlideShare a Scribd company logo
The  Spiral  Model
จัดทำโดย นายพินิจ    สุขศรีพนา 521121042
Spiral  Model  คือ  Software  Development  Process  ที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยเอาจุดแข็งของ  Development  Model  อื่นที่ดีอยู่แล้วมาประยุกต์  (waterfall  model)  และเพิ่มเติมส่วนของการวิเคราะห์  และตีค่าความเสี่ยงที่เกิดเพื่อจะได้ทราบว่าจุดใดมีความเสี่ยงมากน้อยขนาดไหน  จะได้หาวิธีลดความเสี่ยง  ซึ่งความเสี่ยงเป็นสาเหตุ  ที่ทำให้การพัฒนาไม่ประสบความสำเร็จ  การวิเคราะห์หรือต้นเหตุของความเสี่ยง  ก็เพื่อที่จะหาวิธีการที่จะทำให้เกิดความเสี่ยงน้อยที่สุด  รวมถึงวิธีการแก้ไขเมื่อเกิดเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้น  ถ้าความเสี่ยงน้อยลง  ก็ทำให้  Cost  หรือ ต้นทุนที่ใช้ก็จะลดลงตามไปด้วย
Development Process ของ SpiralModel พัฒนาโดย Boehmในค.ศ 1988 แบบจำลองบันไดเวียนเป็นแบบจำลองที่รวมกระบวนการทำซ้ำของการสร้างต้นแบบ เข้ากับ Linearsequentialmodel โดยมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ถูกพัฒนามาจากโครงสร้างพื้นฐานของ  Waterfall  Model  ที่มีการแบ่งแยกขั้นตอนเช่น  Concept  Of  Operation  phase,  Software  Requirements  phase,  Design  phase,  Coding  phase,  Integration  phase,  Implement  phase  เป็นต้น  เนื่องจากใน  Waterfall  model  สามารถ  ส่งผลลัพธ์ที่ได้ป้อมกลับไปยังขั้นตอนก่อนหน้านั้นโดยที่ไม่ต้องมีการแก้ไขทุกขั้นตอนใหม่หมด  แต่  Waterfall  Model  ยังไม่มีส่วนไปจะมีความสำเร็จที่เป็นไปได้มาน้อยขนาดไหน  ฉะนั้น  การใช้  Waterfall  Model  ในแต่ละขั้นตอนจะเกิดการ  Feedback  บ่อยครั้ง  Spiral  Model  จึงถูกพันกับความเสี่ยงและความเป็นไปได้ที่เกิดขึ้น  ตลอดจนหาแนวทางแก้ไขเมื่อเกิดข้อผิดพลาด
    เนื่องจากใน  Waterfall  model  สามารถ  ส่งผลลัพธ์ที่ได้ป้อนกลับไปยังขั้นตอนก่อนหน้านั้นโดยที่ไม่ต้องมีการแก้ไขทุกขั้นตอนใหม่หมด  แต่  Waterfall  Model  ยังไม่มีส่วนไปจะมีความสำเร็จที่เป็นไปได้มาน้อยขนาดไหน  ฉะนั้น  การใช้  Waterfall  Model  ในแต่ละขั้นตอนจะเกิดการ  Feedback  บ่อยครั้ง  Spiral  Model  จึงถูกพันกับความเสี่ยงและความเป็นไปได้ที่เกิดขึ้น  ตลอดจนหาแนวทางแก้ไขเมื่อเกิดข้อผิดพลาด
TheSpiralModel แบบจำลองบันไดเวียน แบ่งออกได้เป็นส่วนย่อยๆ โดยปกติจะแบ่งเป็น 3 ส่วน หรือ 6 ส่วนงานเช่น 1.การติดต่อสื่อสารกันระหว่างผู้ใช้ และผู้พัฒนาระบบ(Customer   Communication) 2.การวางแผน(Planning) 3.การวิเคราะห์ความเสี่ยง (Risk   Analysis) 4.วิศวกรรม (Engineering) 5.การสร้างและนำไปใช้ (Construction   and   Release) 6.การประเมินผลจากผู้ใช้ (Customer   Evaluation)
Evolutionary  or  Spiral Model
TheSpiralModel (cont.) แต่ละรอบของการทำซ้ำ วิเคราะห์ความเสี่ยง -พัฒนาต้นแบบสำหรับตรวจสอบความเป็นไปได้และความต้องการ -เมื่อพบความเสี่ยงผู้จัดการโครงการจะต้องตัดสินใจทีจะกำจัดหรือลดความเสี่ยง           - ปัญหาของการใช้แบบจำลองบันไดเวียน ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ คือการโน้มน้าวให้ผู้ใช้ระบบเห็นชอบกับวิธีการที่เป็นกระบวนทำซ้ำแบบมีวิวัฒนาการ    -ความสำเร็จของการใช้ แบบจำลองบันไดเวียน  ผู้พัฒนาจะต้องมีความ    เชี่ยวชาญในด้านการประเมินผลความเสี่ยง   
Evolutionary  or  Spiral  Model เป็น model ที่ใช้ความเสี่ยงเป็นเครื่องตัดสินใจว่าจะกระทำอะไรต่อไป (risk-driven)ขั้นตอนในแต่ละรอบ -วิเคราะห์เป้าหมาย  แนวทางเลือกต่างๆ  เงื่อนไขต่างๆ -วิเคราะห์ความเสี่ยง -พยายามลดความเสี่ยงนั้น เช่น ทำ ต้นแบบ(Prototype )เพื่อทดสอบ -พัฒนา product นำ product ให้ลูกค้าทดสอบ
ข้อดีเปรียบเทียบกับ  Software  Development  Process  Model  อื่น ๆ  -  ถ้าใน  Project  มีความเสี่ยงต่ำในด้านของส่วนติดต่อผู้ใช้(User  Interface ) หรือ  ประสิทธิภาพ(performance ) และมีความเสี่ยงสูงในแง่ของงบประมาน (Budget)และระยะเวลามันจะเหมือนกับเป็น  Waterfall  Modelหรือเรียกว่า รูปแบบน้ำตก           -  ถ้าความต้องการ  Software  มีค่าค่อนข้างคงที่  คือไม่มีการเปลี่ยนแปลงบ่อย  จะเหมือนกับเป็น  Two – leg  Model           -  ถ้าใน  Project  มีความเสี่ยงต่ำในแง่ของ  Budget  แต่มีความเสี่ยงสูงในแง่ของ  User  Interface  ว่าจะไม่ตรงกับความต้องการจะเหมือนกับเป็น  Evaluation  Model หรือรุ่นประเมินผล ถ้าสามารถเปลี่ยนจาก  โปรแกรมประยุกต์(Application ) ไปเป็น  Software  หรือ  Code  ได้  จะเหมือนกับเป็น  Transform  Model
ถ้าสามารถเปลี่ยนจาก  โปรแกรมประยุกต์(Application ) ไปเป็น  Software  หรือ  Code  ได้  จะเหมือนกับเป็น  Transform  Model-ถ้ามีความเสี่ยงในหลายปัจจัยข้างต้น  Spiral  Model  จะช่วยให้เสี่ยงน้อย  คือมีความเหมาะสมที่สุดในแต่ละปัจจัย
สรุปข้อดีของ  Spiral  Model  ได้ดังนี้          -  สนับสนุน  กานนำ  Software  กลับมาใช้อย่างเต็มตัว  -  ในแต่ละ  Cycle  มีขั้นตอนประมวลผลที่สิ้นสุดภายใน  Cycle  เดียว  -  การวางแผนเพื่อกำหนดทางเดินของ  Software  Process  ในรอบต่อไป  -  เนื่องจากการพัฒนาอยู่บนพื้นฐานของวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ทำให้   ผลลัพธ์ของ  Software  Product  ตรงกับความ  -  แก้ไขข้อผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นตั้งแต่เนิ่น ๆ  -  มีความเป็นอิสระต่อกันทางด้านการพัฒนาและการแก้ไข
ข้อเสีย เนื่องจาก  Spiral  Model  ทุก  Cycle  ของการพัฒนามีการวิเคราะห์และตีค่า  ถ้าการวิเคราะห์เกิดผิดพลาด  จะทำให้  Software  Produce  ที่ออกมาผิดพลาดทำให้เกิดค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น
จบแล้วจ้า

More Related Content

Similar to The spiral model

กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรมกิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรมdraught
 
วงจรการพัฒนาโปรแกรม
วงจรการพัฒนาโปรแกรมวงจรการพัฒนาโปรแกรม
วงจรการพัฒนาโปรแกรมdraught
 
Agile Process
Agile ProcessAgile Process
Agile Process
Clipping Path Asia
 
Chapter 6 system development
Chapter 6 system developmentChapter 6 system development
Chapter 6 system developmentPa'rig Prig
 
Software Engineering Process
Software Engineering ProcessSoftware Engineering Process
Software Engineering Process
Worawut Ramchan
 
การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์
Watinee Poksup
 
AutoTesting.pdf
AutoTesting.pdfAutoTesting.pdf
AutoTesting.pdf
psaku1
 

Similar to The spiral model (20)

Software
SoftwareSoftware
Software
 
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรมกิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
 
วงจรการพัฒนาโปรแกรม
วงจรการพัฒนาโปรแกรมวงจรการพัฒนาโปรแกรม
วงจรการพัฒนาโปรแกรม
 
Sa33
Sa33Sa33
Sa33
 
Agile Process
Agile ProcessAgile Process
Agile Process
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
การพัฒนา Software
การพัฒนา Softwareการพัฒนา Software
การพัฒนา Software
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
การพัฒนา Software
การพัฒนา Softwareการพัฒนา Software
การพัฒนา Software
 
Chapter 6 system development
Chapter 6 system developmentChapter 6 system development
Chapter 6 system development
 
Software Engineering Process
Software Engineering ProcessSoftware Engineering Process
Software Engineering Process
 
Act
ActAct
Act
 
Task004
Task004Task004
Task004
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
Soft were
Soft wereSoft were
Soft were
 
การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์
 
Identifying isd addie 2 wiki
Identifying  isd addie 2 wikiIdentifying  isd addie 2 wiki
Identifying isd addie 2 wiki
 
AutoTesting.pdf
AutoTesting.pdfAutoTesting.pdf
AutoTesting.pdf
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
Activity4_naka
Activity4_nakaActivity4_naka
Activity4_naka
 

The spiral model

  • 1. The Spiral Model
  • 2. จัดทำโดย นายพินิจ สุขศรีพนา 521121042
  • 3. Spiral Model คือ Software Development Process ที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยเอาจุดแข็งของ Development Model อื่นที่ดีอยู่แล้วมาประยุกต์ (waterfall model) และเพิ่มเติมส่วนของการวิเคราะห์ และตีค่าความเสี่ยงที่เกิดเพื่อจะได้ทราบว่าจุดใดมีความเสี่ยงมากน้อยขนาดไหน จะได้หาวิธีลดความเสี่ยง ซึ่งความเสี่ยงเป็นสาเหตุ ที่ทำให้การพัฒนาไม่ประสบความสำเร็จ การวิเคราะห์หรือต้นเหตุของความเสี่ยง ก็เพื่อที่จะหาวิธีการที่จะทำให้เกิดความเสี่ยงน้อยที่สุด รวมถึงวิธีการแก้ไขเมื่อเกิดเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้น ถ้าความเสี่ยงน้อยลง ก็ทำให้ Cost หรือ ต้นทุนที่ใช้ก็จะลดลงตามไปด้วย
  • 4. Development Process ของ SpiralModel พัฒนาโดย Boehmในค.ศ 1988 แบบจำลองบันไดเวียนเป็นแบบจำลองที่รวมกระบวนการทำซ้ำของการสร้างต้นแบบ เข้ากับ Linearsequentialmodel โดยมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ถูกพัฒนามาจากโครงสร้างพื้นฐานของ Waterfall Model ที่มีการแบ่งแยกขั้นตอนเช่น Concept Of Operation phase, Software Requirements phase, Design phase, Coding phase, Integration phase, Implement phase เป็นต้น เนื่องจากใน Waterfall model สามารถ ส่งผลลัพธ์ที่ได้ป้อมกลับไปยังขั้นตอนก่อนหน้านั้นโดยที่ไม่ต้องมีการแก้ไขทุกขั้นตอนใหม่หมด แต่ Waterfall Model ยังไม่มีส่วนไปจะมีความสำเร็จที่เป็นไปได้มาน้อยขนาดไหน ฉะนั้น การใช้ Waterfall Model ในแต่ละขั้นตอนจะเกิดการ Feedback บ่อยครั้ง Spiral Model จึงถูกพันกับความเสี่ยงและความเป็นไปได้ที่เกิดขึ้น ตลอดจนหาแนวทางแก้ไขเมื่อเกิดข้อผิดพลาด
  • 5. เนื่องจากใน Waterfall model สามารถ ส่งผลลัพธ์ที่ได้ป้อนกลับไปยังขั้นตอนก่อนหน้านั้นโดยที่ไม่ต้องมีการแก้ไขทุกขั้นตอนใหม่หมด แต่ Waterfall Model ยังไม่มีส่วนไปจะมีความสำเร็จที่เป็นไปได้มาน้อยขนาดไหน ฉะนั้น การใช้ Waterfall Model ในแต่ละขั้นตอนจะเกิดการ Feedback บ่อยครั้ง Spiral Model จึงถูกพันกับความเสี่ยงและความเป็นไปได้ที่เกิดขึ้น ตลอดจนหาแนวทางแก้ไขเมื่อเกิดข้อผิดพลาด
  • 6. TheSpiralModel แบบจำลองบันไดเวียน แบ่งออกได้เป็นส่วนย่อยๆ โดยปกติจะแบ่งเป็น 3 ส่วน หรือ 6 ส่วนงานเช่น 1.การติดต่อสื่อสารกันระหว่างผู้ใช้ และผู้พัฒนาระบบ(Customer Communication) 2.การวางแผน(Planning) 3.การวิเคราะห์ความเสี่ยง (Risk Analysis) 4.วิศวกรรม (Engineering) 5.การสร้างและนำไปใช้ (Construction and Release) 6.การประเมินผลจากผู้ใช้ (Customer Evaluation)
  • 7. Evolutionary or Spiral Model
  • 8. TheSpiralModel (cont.) แต่ละรอบของการทำซ้ำ วิเคราะห์ความเสี่ยง -พัฒนาต้นแบบสำหรับตรวจสอบความเป็นไปได้และความต้องการ -เมื่อพบความเสี่ยงผู้จัดการโครงการจะต้องตัดสินใจทีจะกำจัดหรือลดความเสี่ยง - ปัญหาของการใช้แบบจำลองบันไดเวียน ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ คือการโน้มน้าวให้ผู้ใช้ระบบเห็นชอบกับวิธีการที่เป็นกระบวนทำซ้ำแบบมีวิวัฒนาการ -ความสำเร็จของการใช้ แบบจำลองบันไดเวียน ผู้พัฒนาจะต้องมีความ เชี่ยวชาญในด้านการประเมินผลความเสี่ยง  
  • 9. Evolutionary or Spiral Model เป็น model ที่ใช้ความเสี่ยงเป็นเครื่องตัดสินใจว่าจะกระทำอะไรต่อไป (risk-driven)ขั้นตอนในแต่ละรอบ -วิเคราะห์เป้าหมาย แนวทางเลือกต่างๆ เงื่อนไขต่างๆ -วิเคราะห์ความเสี่ยง -พยายามลดความเสี่ยงนั้น เช่น ทำ ต้นแบบ(Prototype )เพื่อทดสอบ -พัฒนา product นำ product ให้ลูกค้าทดสอบ
  • 10. ข้อดีเปรียบเทียบกับ Software Development Process Model อื่น ๆ - ถ้าใน Project มีความเสี่ยงต่ำในด้านของส่วนติดต่อผู้ใช้(User Interface ) หรือ ประสิทธิภาพ(performance ) และมีความเสี่ยงสูงในแง่ของงบประมาน (Budget)และระยะเวลามันจะเหมือนกับเป็น Waterfall Modelหรือเรียกว่า รูปแบบน้ำตก - ถ้าความต้องการ Software มีค่าค่อนข้างคงที่ คือไม่มีการเปลี่ยนแปลงบ่อย จะเหมือนกับเป็น Two – leg Model - ถ้าใน Project มีความเสี่ยงต่ำในแง่ของ Budget แต่มีความเสี่ยงสูงในแง่ของ User Interface ว่าจะไม่ตรงกับความต้องการจะเหมือนกับเป็น Evaluation Model หรือรุ่นประเมินผล ถ้าสามารถเปลี่ยนจาก โปรแกรมประยุกต์(Application ) ไปเป็น Software หรือ Code ได้ จะเหมือนกับเป็น Transform Model
  • 11. ถ้าสามารถเปลี่ยนจาก โปรแกรมประยุกต์(Application ) ไปเป็น Software หรือ Code ได้ จะเหมือนกับเป็น Transform Model-ถ้ามีความเสี่ยงในหลายปัจจัยข้างต้น Spiral Model จะช่วยให้เสี่ยงน้อย คือมีความเหมาะสมที่สุดในแต่ละปัจจัย
  • 12. สรุปข้อดีของ Spiral Model ได้ดังนี้ - สนับสนุน กานนำ Software กลับมาใช้อย่างเต็มตัว - ในแต่ละ Cycle มีขั้นตอนประมวลผลที่สิ้นสุดภายใน Cycle เดียว - การวางแผนเพื่อกำหนดทางเดินของ Software Process ในรอบต่อไป - เนื่องจากการพัฒนาอยู่บนพื้นฐานของวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ทำให้ ผลลัพธ์ของ Software Product ตรงกับความ - แก้ไขข้อผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นตั้งแต่เนิ่น ๆ - มีความเป็นอิสระต่อกันทางด้านการพัฒนาและการแก้ไข
  • 13. ข้อเสีย เนื่องจาก Spiral Model ทุก Cycle ของการพัฒนามีการวิเคราะห์และตีค่า ถ้าการวิเคราะห์เกิดผิดพลาด จะทำให้ Software Produce ที่ออกมาผิดพลาดทำให้เกิดค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น