SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1. ออกแบบ และสร้างรางรถไฟเหาะเพื่อป้องกันไม่ให้ลูกแก้วตกราง
2. อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเคลื่อนที่ของรถไฟเหาะ
จุดประสงค์ของกิจกรรม
1. ท่อหุ้มแอร์ ยาว 6 เมตร
2. เทปกาว
3. ลูกแก้ว
4. นาฬิกาจับเวลา
5. ไม้ (ตะเกียบ / ไม่เสียบลูกชิ้น)
6. กล่องถ่ายรูป (สมาร์ทโฟน)
7. ดินน้ามัน
วัสดุ / อุปกรณ์
กิจกรรม ออกแบบและสร้างรางรถไฟเหาะ
1. สมาชิกภายในกลุ่มร่วมกันออกแบบ และสร้างรางรถไฟเหาะ โดย
- มีส่วนโค้ง (เนิน) 2 จุด
- วงตีลังกา (Loop) 1 จุด
- ต้องไม่มีช่องว่างระหว่างราง
- ลูกแก้วต้องวิ่งภายในราง
2. ต่อท่อโดยใช้เทปแปะด้านล่างของราง
3. ทดสอบความสูงของส่วนโค้ง 3 แบบ (แบบ A, B, C)
- โดยมีจุดเริ่มต้นที่ความสูงต่างกัน จะอยู่เหนือจุดต่าสุดของส่วนโค้ง ดังนี้
 ระดับที่ 1 สูงที่ 1 m.
 ระดับที่ 2 สูงที่ 0.8 m.
 ระดับที่ 3 สูงที่ 0.6 m.
4. จดบันทึกความสูงกึ่งกลางของส่วนโค้งทั้ง 3 แบบ จานวน 3 ครั้ง
5. วาดรูปแผนภาพรางรถไฟเหาะลงในกระดาษกราฟ (โดยมีมาตราส่วน 1 ช่องเท่ากับ 20
เซนติเมตร และเริ่มวาดจุดเริ่มต้นด้านขวามือ)
6. จดบันทึกการเคลื่อนที่ของลูกแก้ว จากจุดเริ่มต้นไปถึงจุดสิ้นสุด จานวน 5 ครั้ง ลงในตาราง
บันทึกกิจกรรม
7. นาค่าที่บันทึกในตารางบันทึกกิจกรรมมาคานวณค่าความเร็วเฉลี่ยของลูกแก้ว
วิธีดาเนินการ
ระดับที่ 1
ระดับที่ 2
ระดับที่ 3
ระดับที่ 1
ระดับที่ 2
ระดับที่ 3
ระดับที่ 1
ระดับที่ 2
ระดับที่ 3
1. ใช้ท่อหุ้มแอร์ ยาว 6 เมตร
2. เลือกลูกแก้วขนาดใดก็ได้ แต่ใช้เพียง 1 ลูกเท่านั้น
3. ห้ามแปะเทปกาวบนพื้นผิวของรางสาหรับปล่อยลูกแก้ว / ห้ามใช้ไม้เสียบราง
4. รางสาหรับปล่อยลูกแก้วต้องไม่มีช่องว่าง
5. ใช้ท่อหุ้มท่อแอร์ต่อกัน
6. ลูกแก้วต้องไปกระเด็นหลุดออกจากรางสาหรับวิ่ง
7. สามารถใช้ท่อขนาดใดก็ได้แต่ต้องใช้ท่อขนาดเดียวกันเหมือนกันทุกส่วน
เงื่อนไข
ใบงานกิจกรรม
การวิเคราะห์
1. ให้วาดแผนภาพรางรถไฟเหาะที่ออกแบบไว้ (กระดาษกราฟ) มาตราส่วน 1 ช่องเท่ากับ 20
เซนติเมตร และเริ่มวาดจุดเริ่มต้นด้านขวามือ (แกน X , แกน Y)
2. สังเกตและบันทึกลงบนตาราง โดยมีข้อพิจารณาดังนี้
ส่วนโค้งที่สนุกที่สุด
- อยู่ในช่วงเวลาของการตกแนวดิ่งนานที่สุด แต่ต้องไหลคล้อยไปตามก้น (จุดต่าสุด) ของราง
อย่างนิ่มนวล
- ต้องเป็นการกลิ้งที่เร็วที่สุด ในขณะที่ลูกแก้วไม่หลุดออกจากรางเลย
ส่วนโค้งที่ปลอดภัยที่สุด
- ลูกแก้วจะต้องไม่หลุดจากราง แต่อาจจะไม่กลิ้งเร็วที่สุด หรือ ไม่ได้อยู่ในช่วงเวบาของการตก
แนวดิ่งนานที่สุดเท่าอันอื่น
ส่วนโค้งที่ไม่ปลอดภัย
- ลูกแก้วตกราง หรืออาจจะกระเด็น/ลอยข้ามรางไปกระแทกส่วนอื่นของราง
- ลูกแก้วไม่แรงพอที่จะกลิ้งพ้นเนิน หรือวนจนครบรอบ
จุดเริ่มต้นของความสูง รูปแบบ A รูปแบบ B รูปแบบ C
1
2
3
สรุป
3. จากแผนภาพ นักเรียนระบุแรงที่เกิดขึ้นระหว่างการเคลื่อนที่ของรถไฟเหาะ
4. ตารางบันทึกกิจกรรม
การทดลอง ระยะทาง (m) เวลา (s) ความเร็ว (m/s)
ครั้งที่ 1 6
ครั้งที่ 2 6
ครั้งที่ 3 6
ครั้งที่ 4 6
ครั้งที่ 5 6
ค่าเฉลี่ย 6
5. นักเรียนคิดว่าปัจจัยที่มีผลต่อการเคลื่อนที่ของรถไฟเหาะ (Roller Coaster) มีอะไรบ้าง

More Related Content

More from Silpakorn University

More from Silpakorn University (6)

การออกแบบและสร้างอุปกรณ์นิรภัย
การออกแบบและสร้างอุปกรณ์นิรภัยการออกแบบและสร้างอุปกรณ์นิรภัย
การออกแบบและสร้างอุปกรณ์นิรภัย
 
การใช้งานเว็บไซต์ Openedsci
การใช้งานเว็บไซต์ Openedsciการใช้งานเว็บไซต์ Openedsci
การใช้งานเว็บไซต์ Openedsci
 
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์เครื่องยิง
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์เครื่องยิงกิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์เครื่องยิง
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์เครื่องยิง
 
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์เครื่องยิง
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์เครื่องยิงกิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์เครื่องยิง
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์เครื่องยิง
 
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์รางรถไฟเหาะ
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์รางรถไฟเหาะกิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์รางรถไฟเหาะ
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์รางรถไฟเหาะ
 
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์นิรภัย
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์นิรภัยกิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์นิรภัย
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์นิรภัย
 

กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์รางรถไฟเหาะ

  • 1. 1. ออกแบบ และสร้างรางรถไฟเหาะเพื่อป้องกันไม่ให้ลูกแก้วตกราง 2. อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเคลื่อนที่ของรถไฟเหาะ จุดประสงค์ของกิจกรรม 1. ท่อหุ้มแอร์ ยาว 6 เมตร 2. เทปกาว 3. ลูกแก้ว 4. นาฬิกาจับเวลา 5. ไม้ (ตะเกียบ / ไม่เสียบลูกชิ้น) 6. กล่องถ่ายรูป (สมาร์ทโฟน) 7. ดินน้ามัน วัสดุ / อุปกรณ์ กิจกรรม ออกแบบและสร้างรางรถไฟเหาะ
  • 2. 1. สมาชิกภายในกลุ่มร่วมกันออกแบบ และสร้างรางรถไฟเหาะ โดย - มีส่วนโค้ง (เนิน) 2 จุด - วงตีลังกา (Loop) 1 จุด - ต้องไม่มีช่องว่างระหว่างราง - ลูกแก้วต้องวิ่งภายในราง 2. ต่อท่อโดยใช้เทปแปะด้านล่างของราง 3. ทดสอบความสูงของส่วนโค้ง 3 แบบ (แบบ A, B, C) - โดยมีจุดเริ่มต้นที่ความสูงต่างกัน จะอยู่เหนือจุดต่าสุดของส่วนโค้ง ดังนี้  ระดับที่ 1 สูงที่ 1 m.  ระดับที่ 2 สูงที่ 0.8 m.  ระดับที่ 3 สูงที่ 0.6 m. 4. จดบันทึกความสูงกึ่งกลางของส่วนโค้งทั้ง 3 แบบ จานวน 3 ครั้ง 5. วาดรูปแผนภาพรางรถไฟเหาะลงในกระดาษกราฟ (โดยมีมาตราส่วน 1 ช่องเท่ากับ 20 เซนติเมตร และเริ่มวาดจุดเริ่มต้นด้านขวามือ) 6. จดบันทึกการเคลื่อนที่ของลูกแก้ว จากจุดเริ่มต้นไปถึงจุดสิ้นสุด จานวน 5 ครั้ง ลงในตาราง บันทึกกิจกรรม 7. นาค่าที่บันทึกในตารางบันทึกกิจกรรมมาคานวณค่าความเร็วเฉลี่ยของลูกแก้ว วิธีดาเนินการ ระดับที่ 1 ระดับที่ 2 ระดับที่ 3 ระดับที่ 1 ระดับที่ 2 ระดับที่ 3 ระดับที่ 1 ระดับที่ 2 ระดับที่ 3
  • 3. 1. ใช้ท่อหุ้มแอร์ ยาว 6 เมตร 2. เลือกลูกแก้วขนาดใดก็ได้ แต่ใช้เพียง 1 ลูกเท่านั้น 3. ห้ามแปะเทปกาวบนพื้นผิวของรางสาหรับปล่อยลูกแก้ว / ห้ามใช้ไม้เสียบราง 4. รางสาหรับปล่อยลูกแก้วต้องไม่มีช่องว่าง 5. ใช้ท่อหุ้มท่อแอร์ต่อกัน 6. ลูกแก้วต้องไปกระเด็นหลุดออกจากรางสาหรับวิ่ง 7. สามารถใช้ท่อขนาดใดก็ได้แต่ต้องใช้ท่อขนาดเดียวกันเหมือนกันทุกส่วน เงื่อนไข
  • 4. ใบงานกิจกรรม การวิเคราะห์ 1. ให้วาดแผนภาพรางรถไฟเหาะที่ออกแบบไว้ (กระดาษกราฟ) มาตราส่วน 1 ช่องเท่ากับ 20 เซนติเมตร และเริ่มวาดจุดเริ่มต้นด้านขวามือ (แกน X , แกน Y) 2. สังเกตและบันทึกลงบนตาราง โดยมีข้อพิจารณาดังนี้ ส่วนโค้งที่สนุกที่สุด - อยู่ในช่วงเวลาของการตกแนวดิ่งนานที่สุด แต่ต้องไหลคล้อยไปตามก้น (จุดต่าสุด) ของราง อย่างนิ่มนวล - ต้องเป็นการกลิ้งที่เร็วที่สุด ในขณะที่ลูกแก้วไม่หลุดออกจากรางเลย ส่วนโค้งที่ปลอดภัยที่สุด - ลูกแก้วจะต้องไม่หลุดจากราง แต่อาจจะไม่กลิ้งเร็วที่สุด หรือ ไม่ได้อยู่ในช่วงเวบาของการตก แนวดิ่งนานที่สุดเท่าอันอื่น ส่วนโค้งที่ไม่ปลอดภัย - ลูกแก้วตกราง หรืออาจจะกระเด็น/ลอยข้ามรางไปกระแทกส่วนอื่นของราง - ลูกแก้วไม่แรงพอที่จะกลิ้งพ้นเนิน หรือวนจนครบรอบ จุดเริ่มต้นของความสูง รูปแบบ A รูปแบบ B รูปแบบ C 1 2 3 สรุป
  • 5. 3. จากแผนภาพ นักเรียนระบุแรงที่เกิดขึ้นระหว่างการเคลื่อนที่ของรถไฟเหาะ 4. ตารางบันทึกกิจกรรม การทดลอง ระยะทาง (m) เวลา (s) ความเร็ว (m/s) ครั้งที่ 1 6 ครั้งที่ 2 6 ครั้งที่ 3 6 ครั้งที่ 4 6 ครั้งที่ 5 6 ค่าเฉลี่ย 6 5. นักเรียนคิดว่าปัจจัยที่มีผลต่อการเคลื่อนที่ของรถไฟเหาะ (Roller Coaster) มีอะไรบ้าง