SlideShare a Scribd company logo
ASPHALT ยางมะตอย
ยางมะตอย (Asphalt)          ยางมะตอย (Bitumen/Asphalt) มีลักษณะเป็นของเหลวข้นหนืด มีอำนาจการยืดสูงหรือเป็นกึ่งของแข็งสีดำหรือสีน้ำตาลแก่แกมดำ เป็นของผสมระหว่างสารประกอบไฮโดรคาร์บอน และสารอินทรียอ์อื่นๆ       • ยางมะตอย ได้มาจากขบวนการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม โดยยางมะตอยจะเป็นส่วนของน้ำมันดิบที่หนักที่สุด และจะถูกนำไปผ่านขบวนการผลิตยางมะตอยต่อ ไป เพื่อให้ได้ยาง มะตอยที่มีคุณสมบัติต่างๆ ตามต้องการ
         การที่ยางมะตอยได้รับความนิยมในการใช้งานอย่างกว้างขวางนั้น เนื่องจากคุณสมบัติที่สำคัญ 3 ประการ คือ 1. มีคุณสมบัติในการยึดและประสาน(Connection) : ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมวัสดุต่างๆ ให้ติดกัน เช่น การผสมยางมะตอยกับหินย่อย เพื่อใช้ทำผิวจราจรต่างๆเป็นต้น
2. มีคุณสมบัติในการป้องกันน้ำซึมผ่าน (Waterproofing) : เมื่อวัสดุเคลือบด้วยยางมะตอยแล้ว โอกาสที่น้ำจะซึมผ่านจะเป็นไปได้ยาก
3. คุณสมบัติที่เป็นของเหลวหรือออ่อนตัวเมื่อถูกความร้อน และแข็งตัวเมื่อเย็น ลง คุณสมบัตินี้จะทำให้สามารถนำยางมะตอยมาใช้ประโยชน์ได้ง่ายขึ้น เช่น การทำถนน เมื่อทำให้ยางมะตอยเหลวก็สามารถผสมยางมะตอยกับวัสดุต่างๆ ได้ดีและเมื่อลาดยางแล้วจะเย็นลงจนเกิดการแข็งตัว
ประเภทของ Asphalt 	1. Asphalt Cement เรียกย่อว่า AC ได้มาจากการกลั่นน้ำมันดิบ จะเป็นส่วนที่ข้นและหนักที่สุด ซึ่งก็จะมีหลายเกรดตามความอ่อน แข็ง ราคาถูก ยางแอสฟัลท์AC นั้นเป็นยางแข็งต้องให้ความร้อนถึงจะละลายเป็น ของเหลว ใช้ทำงานถนนเท่านั้น เช่น AC 60/70
	2. Asphalt Emulsion หรือยางมะตอยน้ำ คือยางแอสฟัลท์ที่ผลิตจากการนำยางแอสฟัลท์ มาตีให้กระจายเป็นอนุภาคเม็ดเล็กๆ และนำไปใส่ในน้ำ ซึ่งสามารถทำให้เป็นเนื้เดียวกัน โดยผสมสารเคมีประเภทอิมัลซิไฟเออร์ (Emulsifier)ในการใช้งาน น้ำในแอสฟัลท์อิมัลชั่น จะระเหยไป คงเหลือไว้แต่แอสฟัลท์ ให้เกาะตัวกันเป็นฟิล์ต่อเนื่อง เคลือบหุ้มวัสดุมวลรวมหรือพื้นผิว ทาง ใชในการซ่อมถนน เช่น CSS-1  (20 – 70 oC)
	3. Cut-back Asphalt ได้จากการผสมแอสฟัลท์ซีเมนต์ (Asphalt Cement) กับ สารละลาย (Solvent) ให้เป็นเนื้อเดียวกัน เมื่อแข็งตัว สารละลายจะ ระเหยไป เหลือแต่แอสฟลัลทซ์ซีเมนต์ เช่น MC-30 (30 – 90 oC), MC-70 (50 – 110 oC)ยางคัตแบกปกติใช้ในงานรองพื้น (Prime Coat) ก่อนที่จะลาด ยาง เพื่อป้องกันการไหลซึมของน้ำลงไปที่พื้นดินที่อัดไว้ก่อนหน้านี้
	4. Polymer Modified Asphalt โพลิเมอร์โมดิฟายส์แอสฟัลท์ คือ ยางแอสฟัลท์เกรดพิเศษ ที่ได้จากการผสมระหว่างโพลีเมอร์ (POLYMER) กับ แอสฟัลต์ซีเมนต์ (ASPHALT CEMENT)ภายใต้กระบวนการผสมที่ดำเนินการในโรงงานผลิต โดยใช้เครื่องผสมที่ออกแบบโดยเฉพาะสารโพลีเมอร์ ที่ใช้ผสม ซึ่งใชในการทำผิวทาง
คุณสมบัติ  1. มีความต้านทานต่อการล้า (Fatigue resistance) ที่ดี 2. มีความต้านทานสูงต่อการเปลี่ยนแปลงรูปร่างอย่างถาวร(Pavement Deformation) 3. มีความยืดหยุ่นสูง 4. มีความต้านทานต่อการบิดตัว ระหว่างวัสดุมวลรวม กับวัสดุเชื่อมประสาน 5. มีความต้านทานต่อการหลุดลอก (Stripping resistance) ที่ดี 6. ไม่มีการไหลเยิ้ม (Bleeding resistance) ของวัสดุเชื่อมประสาน
 การใช้สีและการตกแต่งงานผิวทางยางมะตอย การสร้างถนนโดยใช้วัสดุยางมะตอยเป็นที่แพร่หลายมากขึ้นในปัจจุบัน การเปลี่นรูปแบบของการสร้างถนนใหม่และการฉาบผิวเดิม จากที่มีการใช้ยางมะตอยล้วนๆ เพียงอย่างเดียว มาเป็นการปรับปรุงคุณสมบัติของยางด้วยโพลิเมอร์ยางธรรมชาติ ตลอดจนการใส่สารเติมแต่งอื่นๆ เพื่อเพิ่มคุณสมบัติให้ดีขึ้น นอกจากนี้ การใช้สีในการตกแต่งผิวทางก็ยังเป็นทางเลือกหนึ่งที่ได้รับความสนใจมากขึ้น เพื่อเพิ่มทัศนียภาพ เพิ่มความดึงดูดใจให้กับสถานที่ และมีแรงเสียดทานเพื่อทำให้ถนนไม่ลื่น สร้างความปลอดภัย ในการขับขี่ของผู้ใช้รถใช้ถนน
การสร้างผิวทางสีนี้สามารถนำไปใช้ได้กับหลายๆ งานได้แก่ ทางเท้า ทางจักรยาน ทางเดินในสวนสาธารณะ สนามกีฬา ถนนส่วนตัว ทางเดินรถ ขสมก. อุโมงค์ใต้ดิน และทางเดินในสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน เป็นต้น โดยหลักในการเลือกใช้สีใดนั้นควรคำนึงถึงสภาพแวดล้อมโดยรอบเป็นสำคัญ สีที่ใช้จะต้องไม่ขัดกับสีของสิ่งปลูกสร้าง และ ต้นไม้ใบหญ้าบริเวณนั้นๆ ซึ่งมองโดยภาพรวมแล้วต้องสบายตา ปลอดภัย และสวยงามอีกด้วย
วิธีการนี้สามารถนำไปดัดแปลงได้อีกด้วยการใส่ลวดลายลงไปบนผิวถนนเพื่อเพิ่มสุนทรียภาพในพื้นที่ที่ต้องการความสวยงามและโดดเด่น หรือใช้ทำ logo ตามทางเดิน เรียกวิธีการนี้ว่า Street print วิธีการคือปูผิวทางสีตามต้องการลงไปก่อน จากนั้นวางเหล็กดัดตามลวดลายที่ต้องการวางทับลงไป ซึ่งขั้นตอนการวางเหล็กดัดนี้สามารถทำได้ ด้วยมือ และใช้เครื่องกดแบบมือถือ
	ถนนในเมืองไทยปัจจุบันเป็นถนนราดยางมะตอยเป็นส่วนมาก  การจะสร้างเป็นถนนคอนกรีตนั้นต้องคำนึงถึงว่าเป็นย่านการจราจรที่มีรถวิ่งมากกว่า ๑๐,๐๐๐  คันต่อวัน  ซึ่งเป็นถนนในเขตเมืองใหญ่นั่นเองทั้งนี้เพราะถนนคอนกรีตแม้จะทนทานแต่ค่าใช้จ่ายก็สูงกว่าถนนราดยางมะตอย
จัดทำโดย  น.ส.ดาราพร   ปัญญาแสง รหัส 5219101307 น.ส.สิริจันทร์   องค์การ รหัส 5219101330 สาขา เทคโนโลยีภูมิทัศน์

More Related Content

Viewers also liked

Transactions introduction
Transactions introductionTransactions introduction
คู่มือการนิเทศ
คู่มือการนิเทศคู่มือการนิเทศ
คู่มือการนิเทศKrueed Huaybong
 
Making a moodboard
Making a moodboardMaking a moodboard
Making a moodboard
chowders
 
Wellness at Dartmouth_asessment and recommendations
Wellness at Dartmouth_asessment and recommendationsWellness at Dartmouth_asessment and recommendations
Wellness at Dartmouth_asessment and recommendations
Boyd Lever
 
5 jobs where bots will replace humans
5 jobs where bots will replace humans5 jobs where bots will replace humans
5 jobs where bots will replace humans
Softweb Solutions
 
Keynote "Kommunikation im Gesundheitssektor" vom 25. April 2013, Wien
Keynote "Kommunikation im Gesundheitssektor" vom 25. April 2013, WienKeynote "Kommunikation im Gesundheitssektor" vom 25. April 2013, Wien
Keynote "Kommunikation im Gesundheitssektor" vom 25. April 2013, Wien
beeq
 
5 estruturas de controle
5 estruturas de controle5 estruturas de controle
5 estruturas de controle
PAULO Moreira
 
How Amazon Echo can be helpful for the healthcare industry
How Amazon Echo can be helpful for the healthcare industryHow Amazon Echo can be helpful for the healthcare industry
How Amazon Echo can be helpful for the healthcare industry
Softweb Solutions
 
Workshop 1 susy wootton
Workshop 1 susy woottonWorkshop 1 susy wootton
Workshop 1 susy wootton
Policy Lab
 
filosofias de la calidad
filosofias de la calidadfilosofias de la calidad
filosofias de la calidad
Roberto' Mtz Torre
 
Ch15
Ch15Ch15
18 al 24 de enero
18 al 24 de enero18 al 24 de enero
18 al 24 de enero
San José Ares
 
Resume of Lenin Babu
Resume of Lenin BabuResume of Lenin Babu
Resume of Lenin Babu
LENIN BABU PATURI
 
Tech coach flyer
Tech coach flyerTech coach flyer
Tech coach flyer
Charlotte Hardacre
 
Javascript Apps at Build Artifacts
Javascript Apps at Build ArtifactsJavascript Apps at Build Artifacts
Javascript Apps at Build Artifacts
Clay Smith
 
Function oveloading
Function oveloadingFunction oveloading
Function oveloading
Ritika Sharma
 

Viewers also liked (17)

Transactions introduction
Transactions introductionTransactions introduction
Transactions introduction
 
คู่มือการนิเทศ
คู่มือการนิเทศคู่มือการนิเทศ
คู่มือการนิเทศ
 
Making a moodboard
Making a moodboardMaking a moodboard
Making a moodboard
 
Wellness at Dartmouth_asessment and recommendations
Wellness at Dartmouth_asessment and recommendationsWellness at Dartmouth_asessment and recommendations
Wellness at Dartmouth_asessment and recommendations
 
5 jobs where bots will replace humans
5 jobs where bots will replace humans5 jobs where bots will replace humans
5 jobs where bots will replace humans
 
Keynote "Kommunikation im Gesundheitssektor" vom 25. April 2013, Wien
Keynote "Kommunikation im Gesundheitssektor" vom 25. April 2013, WienKeynote "Kommunikation im Gesundheitssektor" vom 25. April 2013, Wien
Keynote "Kommunikation im Gesundheitssektor" vom 25. April 2013, Wien
 
5 estruturas de controle
5 estruturas de controle5 estruturas de controle
5 estruturas de controle
 
How Amazon Echo can be helpful for the healthcare industry
How Amazon Echo can be helpful for the healthcare industryHow Amazon Echo can be helpful for the healthcare industry
How Amazon Echo can be helpful for the healthcare industry
 
Sfondo
SfondoSfondo
Sfondo
 
Workshop 1 susy wootton
Workshop 1 susy woottonWorkshop 1 susy wootton
Workshop 1 susy wootton
 
filosofias de la calidad
filosofias de la calidadfilosofias de la calidad
filosofias de la calidad
 
Ch15
Ch15Ch15
Ch15
 
18 al 24 de enero
18 al 24 de enero18 al 24 de enero
18 al 24 de enero
 
Resume of Lenin Babu
Resume of Lenin BabuResume of Lenin Babu
Resume of Lenin Babu
 
Tech coach flyer
Tech coach flyerTech coach flyer
Tech coach flyer
 
Javascript Apps at Build Artifacts
Javascript Apps at Build ArtifactsJavascript Apps at Build Artifacts
Javascript Apps at Build Artifacts
 
Function oveloading
Function oveloadingFunction oveloading
Function oveloading
 

งานยางมะตอย

  • 2. ยางมะตอย (Asphalt) ยางมะตอย (Bitumen/Asphalt) มีลักษณะเป็นของเหลวข้นหนืด มีอำนาจการยืดสูงหรือเป็นกึ่งของแข็งสีดำหรือสีน้ำตาลแก่แกมดำ เป็นของผสมระหว่างสารประกอบไฮโดรคาร์บอน และสารอินทรียอ์อื่นๆ • ยางมะตอย ได้มาจากขบวนการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม โดยยางมะตอยจะเป็นส่วนของน้ำมันดิบที่หนักที่สุด และจะถูกนำไปผ่านขบวนการผลิตยางมะตอยต่อ ไป เพื่อให้ได้ยาง มะตอยที่มีคุณสมบัติต่างๆ ตามต้องการ
  • 3. การที่ยางมะตอยได้รับความนิยมในการใช้งานอย่างกว้างขวางนั้น เนื่องจากคุณสมบัติที่สำคัญ 3 ประการ คือ 1. มีคุณสมบัติในการยึดและประสาน(Connection) : ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมวัสดุต่างๆ ให้ติดกัน เช่น การผสมยางมะตอยกับหินย่อย เพื่อใช้ทำผิวจราจรต่างๆเป็นต้น
  • 4. 2. มีคุณสมบัติในการป้องกันน้ำซึมผ่าน (Waterproofing) : เมื่อวัสดุเคลือบด้วยยางมะตอยแล้ว โอกาสที่น้ำจะซึมผ่านจะเป็นไปได้ยาก
  • 5. 3. คุณสมบัติที่เป็นของเหลวหรือออ่อนตัวเมื่อถูกความร้อน และแข็งตัวเมื่อเย็น ลง คุณสมบัตินี้จะทำให้สามารถนำยางมะตอยมาใช้ประโยชน์ได้ง่ายขึ้น เช่น การทำถนน เมื่อทำให้ยางมะตอยเหลวก็สามารถผสมยางมะตอยกับวัสดุต่างๆ ได้ดีและเมื่อลาดยางแล้วจะเย็นลงจนเกิดการแข็งตัว
  • 6. ประเภทของ Asphalt 1. Asphalt Cement เรียกย่อว่า AC ได้มาจากการกลั่นน้ำมันดิบ จะเป็นส่วนที่ข้นและหนักที่สุด ซึ่งก็จะมีหลายเกรดตามความอ่อน แข็ง ราคาถูก ยางแอสฟัลท์AC นั้นเป็นยางแข็งต้องให้ความร้อนถึงจะละลายเป็น ของเหลว ใช้ทำงานถนนเท่านั้น เช่น AC 60/70
  • 7. 2. Asphalt Emulsion หรือยางมะตอยน้ำ คือยางแอสฟัลท์ที่ผลิตจากการนำยางแอสฟัลท์ มาตีให้กระจายเป็นอนุภาคเม็ดเล็กๆ และนำไปใส่ในน้ำ ซึ่งสามารถทำให้เป็นเนื้เดียวกัน โดยผสมสารเคมีประเภทอิมัลซิไฟเออร์ (Emulsifier)ในการใช้งาน น้ำในแอสฟัลท์อิมัลชั่น จะระเหยไป คงเหลือไว้แต่แอสฟัลท์ ให้เกาะตัวกันเป็นฟิล์ต่อเนื่อง เคลือบหุ้มวัสดุมวลรวมหรือพื้นผิว ทาง ใชในการซ่อมถนน เช่น CSS-1 (20 – 70 oC)
  • 8. 3. Cut-back Asphalt ได้จากการผสมแอสฟัลท์ซีเมนต์ (Asphalt Cement) กับ สารละลาย (Solvent) ให้เป็นเนื้อเดียวกัน เมื่อแข็งตัว สารละลายจะ ระเหยไป เหลือแต่แอสฟลัลทซ์ซีเมนต์ เช่น MC-30 (30 – 90 oC), MC-70 (50 – 110 oC)ยางคัตแบกปกติใช้ในงานรองพื้น (Prime Coat) ก่อนที่จะลาด ยาง เพื่อป้องกันการไหลซึมของน้ำลงไปที่พื้นดินที่อัดไว้ก่อนหน้านี้
  • 9. 4. Polymer Modified Asphalt โพลิเมอร์โมดิฟายส์แอสฟัลท์ คือ ยางแอสฟัลท์เกรดพิเศษ ที่ได้จากการผสมระหว่างโพลีเมอร์ (POLYMER) กับ แอสฟัลต์ซีเมนต์ (ASPHALT CEMENT)ภายใต้กระบวนการผสมที่ดำเนินการในโรงงานผลิต โดยใช้เครื่องผสมที่ออกแบบโดยเฉพาะสารโพลีเมอร์ ที่ใช้ผสม ซึ่งใชในการทำผิวทาง
  • 10. คุณสมบัติ 1. มีความต้านทานต่อการล้า (Fatigue resistance) ที่ดี 2. มีความต้านทานสูงต่อการเปลี่ยนแปลงรูปร่างอย่างถาวร(Pavement Deformation) 3. มีความยืดหยุ่นสูง 4. มีความต้านทานต่อการบิดตัว ระหว่างวัสดุมวลรวม กับวัสดุเชื่อมประสาน 5. มีความต้านทานต่อการหลุดลอก (Stripping resistance) ที่ดี 6. ไม่มีการไหลเยิ้ม (Bleeding resistance) ของวัสดุเชื่อมประสาน
  • 11. การใช้สีและการตกแต่งงานผิวทางยางมะตอย การสร้างถนนโดยใช้วัสดุยางมะตอยเป็นที่แพร่หลายมากขึ้นในปัจจุบัน การเปลี่นรูปแบบของการสร้างถนนใหม่และการฉาบผิวเดิม จากที่มีการใช้ยางมะตอยล้วนๆ เพียงอย่างเดียว มาเป็นการปรับปรุงคุณสมบัติของยางด้วยโพลิเมอร์ยางธรรมชาติ ตลอดจนการใส่สารเติมแต่งอื่นๆ เพื่อเพิ่มคุณสมบัติให้ดีขึ้น นอกจากนี้ การใช้สีในการตกแต่งผิวทางก็ยังเป็นทางเลือกหนึ่งที่ได้รับความสนใจมากขึ้น เพื่อเพิ่มทัศนียภาพ เพิ่มความดึงดูดใจให้กับสถานที่ และมีแรงเสียดทานเพื่อทำให้ถนนไม่ลื่น สร้างความปลอดภัย ในการขับขี่ของผู้ใช้รถใช้ถนน
  • 12. การสร้างผิวทางสีนี้สามารถนำไปใช้ได้กับหลายๆ งานได้แก่ ทางเท้า ทางจักรยาน ทางเดินในสวนสาธารณะ สนามกีฬา ถนนส่วนตัว ทางเดินรถ ขสมก. อุโมงค์ใต้ดิน และทางเดินในสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน เป็นต้น โดยหลักในการเลือกใช้สีใดนั้นควรคำนึงถึงสภาพแวดล้อมโดยรอบเป็นสำคัญ สีที่ใช้จะต้องไม่ขัดกับสีของสิ่งปลูกสร้าง และ ต้นไม้ใบหญ้าบริเวณนั้นๆ ซึ่งมองโดยภาพรวมแล้วต้องสบายตา ปลอดภัย และสวยงามอีกด้วย
  • 13. วิธีการนี้สามารถนำไปดัดแปลงได้อีกด้วยการใส่ลวดลายลงไปบนผิวถนนเพื่อเพิ่มสุนทรียภาพในพื้นที่ที่ต้องการความสวยงามและโดดเด่น หรือใช้ทำ logo ตามทางเดิน เรียกวิธีการนี้ว่า Street print วิธีการคือปูผิวทางสีตามต้องการลงไปก่อน จากนั้นวางเหล็กดัดตามลวดลายที่ต้องการวางทับลงไป ซึ่งขั้นตอนการวางเหล็กดัดนี้สามารถทำได้ ด้วยมือ และใช้เครื่องกดแบบมือถือ
  • 15. จัดทำโดย น.ส.ดาราพร ปัญญาแสง รหัส 5219101307 น.ส.สิริจันทร์ องค์การ รหัส 5219101330 สาขา เทคโนโลยีภูมิทัศน์